ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ลงมือ, -ลงมือ- |
ลงมือ | (v) start (to do something), See also: begin (to do something), undertake, Syn. เริ่มทำ, Example: หลังกลับมาถึงเมืองไทยสัปดาห์กว่าๆ เขาเริ่มลงมืออ่านหนังสือต่างๆ ที่ซื้อมาจากอเมริกา, Thai Definition: ตั้งต้นทำ | ลงมือทำ | (v) start to do, See also: set about, Syn. ลงมือกระทำ, Example: หากคุณไม่ลงมือทำตั้งแต่ตอนนี้ ผมว่าคงสายเกินไปแล้ว | ผู้ลงมือ | (n) doer, Syn. ผู้กระทำ, ผู้ทำ, Example: ตำรวจได้เบาะแสมาว่าเขาคือผู้ลงมือในคดีปล้นธนาคาร, Count Unit: คน |
|
| ลงมือ | ก. เริ่มทำ, ตั้งต้นทำ, เช่น ลงมือกินได้, ทำ เช่น กับข้าววันนี้ฉันลงมือเอง งานนี้เธอลงมือเองเชียวหรือ. | จดจ้อง, จด ๆ จ้อง ๆ | ก. ตั้งท่าจะทำแล้วไม่ลงมือทำเพราะไม่แน่ใจ. | ชี้นิ้ว | ก. ได้แต่สั่งการให้ผู้อื่นทำ ไม่ลงมือทำเอง. | ดีดลูกคิด | ก. คำนวณผลได้ผลเสียหรือกำไรขาดทุนอย่างละเอียดแล้วจึงตัดสินใจลงมือกระทำ | ได้ | อนุญาต เช่น ลงมือกินได้ ไปได้ | ไตร่ตรองไว้ก่อน | น. คิดหรือวางแผนไว้ก่อนลงมือกระทำความผิด. | ปฐมพยาบาล | (ปะถม-) น. การปฏิบัติขั้นต้นยามฉุกเฉินตามวิธีแพทย์ก่อนลงมือรักษาพยาบาล. | เผดิม | (ผะเดิม) ก. ประเดิม, เริ่มแรก, ตั้งต้น, ลงมือก่อน. | ภาคปฏิบัติ | น. ภาคลงมือทดลองทำจริง ๆ, คู่กับ ภาคทฤษฎี. | มือต้น | น. ผู้ที่ลงมือทำงานเพียงคร่าว ๆ เป็นคนแรก. | มือปลาย | น. ผู้ที่ลงมือตกแต่งงานเป็นคนสุดท้าย. | มือรอง | น. ผู้มีความสำคัญเป็นคนที่ ๒ รองจากมือแรก, คนที่ลงมือทำเป็นคนที่ ๒ รองจากมือต้น. | เริ่ม | ก. ตั้งต้นมี เป็น หรือลงมือกระทำ. | แรก | ว. ก่อนเพื่อน, ก่อนผู้อื่นหรือสิ่งอื่นทั้งหมด, เช่น ครั้งแรกในประวัติศาสตร์ มาถึงเป็นคนแรก ลูกคนแรก วันแรกของเดือน, เริ่ม เช่น แรกนา คือ เริ่มลงมือทำนา แรกรุ่น คือ เริ่มย่างเข้าสู่วัยรุ่น, หัวที เช่น แรกเกิด แรกพบ แรกเห็น, เดิมที เช่น แต่แรกเริ่ม, เพิ่งมีเป็นครั้งแรก เช่น มะม่วงแรกออกผล. | ลัคน-, ลัคน์, ลัคนา | เวลาหรือวันที่ถือว่าเป็นมงคลสำหรับลงมือทำการใด ๆ, ถ้าเป็นเวลาที่เป็นมงคล เรียกว่า ลัคนกาล ถ้าเป็นวันที่เป็นมงคล เรียกว่า ลัคนทิน เช่น โหรคำนวณว่าวันที่ ๑๔ พฤษภาคม เป็น ลัคนทิน เวลา ๑๗.๐๐ น. เป็น ลัคนกาล เป็นวันและเวลาที่เหมาะสำหรับทำพิธีรดนํ้าแต่งงาน. | สลักเสลา | (-สะเหฺลา) ก. สลักให้เป็นลวดลายเรียบร้อยสวยงาม เช่น เสียเวลานั่งสลักเสลาผักครึ่งวันกว่าจะได้ลงมือทำกับข้าว สลักเสลาเสาหินเป็นลายเทพนม. | หลิ่วตา | ก. หรี่ตาลงข้างหนึ่ง เพื่อเล็งดูด้วยตาอีกข้างหนึ่ง, โดยปริยายหมายถึงให้สัญญาณด้วยอาการเช่นนั้นเพื่อให้ลงมือทำการหรือไม่ทำการอย่างใดอย่างหนึ่งหรือเพื่อแสดงอาการล้อเลียนหยอกล้อ. | หะ | ว. เสียงเปล่งเพื่อให้ลงมือพร้อมกัน. | หะแรก | ว. ครั้งแรก, คราวแรก, เริ่มลงมือ. | หัวที | น. เวลาแรก, เวลาที่เริ่มทำ, เวลาลงมือ. | ให้น้ำ | ก. ให้นักมวยหรือคู่ต่อสู้เป็นต้นหยุดพักเหนื่อยชั่วระยะเวลาสั้น ๆ เพื่อให้ดื่มน้ำ เช็ดหน้า หรือเช็ดตัวเป็นต้น ก่อนจะลงมือสู้ในยกต่อไป. |
| | Action | การกระทำ, การออกฤทธิ์, พฤติการณ์, ลงมือทดลองปฏิบัติ, การเคลื่อนไหว, การทำงาน [การแพทย์] | experimentation | การทดลอง, การทดสอบหรือพิสูจน์สมมติฐานที่มีการวางแผนการทดสอบอย่างมีระบบ แล้วลงมือทำตามที่ออกแบบไว้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
| ลงมือ | [longmeū] (v) EN: start ; begin ; undertake ; commence FR: commencer ; débuter ; entreprendre ; attaquer ; se mettre à | ลงมือลงไม้ | [longmeū long māi] (v, exp) EN: use one's fists | ลงมือปราบปราม | [longmeū prāpprām] (v, exp) EN: crack down on | ลงมือทำ | [longmeū tham] (v, exp) EN: start to do ; set about ; conduct ; carry out FR: entreprendre |
| put money where mouth is | 1. สนับสนุนช่วยเหลือโดยการให้สิ่งของ โดยเฉพาะการบริจาคเงิน 2. ลงมือทำ มากกว่าสักแต่พูด เช่น You can put money where your mouth is by asking all involved to put up $1 per post in a donation to relief organizations. | preproduction | ขั้นตอนก่อนลงมือผลิตชิ้นงานจริง เช่น การหาข้อมูล การประชุม การไปดูสถานที่ (ถ้าต้องใช้สถานที่ในการจัดงานหรือผลิตงาน) การทำตัวอย่างชิ้นงาน (เช่น การสร้างโมเดลของสถาปนิกก่อนที่จะลงมือก่อสร้างจริง) |
| anticipate | (vt) ลงมือกระทำก่อนล่วงหน้า, Syn. precipitate | Actions speak louder than words. | (idm) ลงมือทำดีกว่าเอาแต่พูด | float | (vt) เริ่มโครงการ, See also: ลงมือดำเนินการ, ก่อตั้งบริษัท, Syn. launch, set up, Ant. close | let her rip | (idm) ลงมือได้ (คำไม่เป็นทางการ), See also: เริ่มเลย | let it rip | (idm) ลงมือได้ (คำไม่เป็นทางการ), See also: เริ่มเลย | move | (vi) ดำเนินการ, See also: ลงมือทำ, Syn. take action | proceed | (vi) ดำเนินการ, See also: ไป, เดินไปข้างหน้า, กระทำการ, ลงมือ, ติดตามเรื่อง, เดินเรื่อง, Syn. progress, move, continue | process | (vt) ดำเนินการ, See also: ลงมือปฏิบัติ | start | (vi) เริ่ม, See also: ลงมือ, เริ่มทำ, เริ่มต้น, ทำให้เกิด | start | (vt) เริ่ม, See also: ลงมือ, เริ่มทำ, เริ่มต้น, ทำให้เกิด | steal a march on | (idm) ชิงกระทำบางสิ่งก่อน (คนอื่น) เพื่อความได้เปรียบ, See also: ชิงลงมือก่อน |
| anticipate | (แอนทิส' ซะเพท) vt. คาด, มุ่งหวัง, ทำนาย, ลงมือกระทำการก่อน, ตัดบท, ใช้สอยล่วงหน้า, บังเกิดล่วงหน้า. -anticipator n., | attack | (อะแทค') vt., vi., n. โจมตี, เข้าตี, ทำร้าย, เล่นงาน, ลงมือทำ, (โรค) เป็น, (ไข้) จับ, ลงมือทำ, เริ่มขึ้น, เริ่มต้น, ข่มขืน, พยายามข่มขืน | begin | (บิกิน') { began, begun, beginning, begins } vi., vt. เริ่ม, เริ่มต้น, ตั้งต้น, ลงมือ, See also: beginner n., Syn. initiate -Conf. start | compile | (คัมไพล์') { compiled, compiling, compiles } vt. รวบรวม, เรียบเรียง แปลโปรแกรมหมายถึง แปลโปรแกรมที่เขียนขึ้นด้วยภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) ภาษาใดภาษาหนึ่ง เช่น ภาษาซี (C) ภาษา โคบอล (COBOL) ซึ่งเป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์ไม่เข้าใจ ให้เป็นภาษาเครื่อง (machine language) ซึ่งเป็นภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจได้ การแปลนั้น คอมพิวเตอร์จะอ่านโปรแกรมทั้งหมดเข้าไปแล้วจึงจะลงมือแปล เมื่อเข้าใจแล้ว คอมพิวเตอร์จึงจะปฏิบัติตามคำสั่งในโปรแกรมได้ | compile time | เวลาแปลโปรแกรมบางทีใช้ compilation time หมายถึงระยะเวลาที่เครื่องใช้ในการแปลโปรแกรมแต่ละโปรแกรมก่อนที่จะลงมือทำตามคำสั่งในโปรแกรมนั้นดู compile ประกอบ | compiler | (คัมไพ'เลอะ) n. ผู้รวบรวม, ผู้เรียบเรียง ตัวแปลโปรแกรมคอมไพเลอร์หมายถึง โปรแกรมที่แปลโปรแกรมภาษาต่าง ๆ เช่นภาษา FORTRAN, COBOL ฯ เป็นภาษาเครื่อง (machine language) การแปลโดยใช้โปรแกรมแปลนี้ จะใช้วิธีแปลทั้งโปรแกรม นำคำแปลเก็บไว้ในหน่วยความจำ แล้วจึงลงมือปฏิบัติการ (execute) ไปทีละคำสั่ง ถ้ามีการสั่งให้ทำบางคำสั่งซ้ำ ก็ไม่จำเป็นต้องแปลใหม่ดู translator ประกอบดู interpreter เปรียบเทียบ | cycle time | เวลาครบรอบหมายถึงเวลาที่หน่วยประมวลผลกลางใช้ในการปฏิบัติตามคำสั่ง โดยเริ่มตั้งแต่ไปดึงคำสั่งมา (fetch) และลงมือกระทำการ (execute) มีหน่วยวัดเป็น นาโนวินาที (nano second) หรือหนึ่งในพันล้านวินาที และพิโกวินาที (picosecond) หรือหนึ่งในล้านล้านวินาที | embrace | (เอมเบรส') vt. สวมกอด, อุ้ม, อ้าแขนรับ, รวบรวม, ล้อมรอบ, ยึดเอา, รวม, ประกอบด้วย, ลงมือทำ, เข้าใจ. vi. สวมกอด, โอบล้อม., See also: embossable adj. ดูembrace embossment n. ดูembrace embossr n. ดูembrace, Syn. encircle | entrance | (เอน'เทรินซฺ) n. การเข้า, ทางเข้า, ปากทางเข้า, การเข้าโรงเรียน, การเข้าสนาม, การเข้ารับตำแหน่ง, การเริ่มลงมือ, วิธีการเข้า, ลักษณะการเข้า -vt. ทำให้ปิติยินดี, ทำให้งงงวย., See also: entrancement n. ดูentrance entrancingly adv. ดูentrance | event-driven programming | การเขียนโปรแกรมเชิงเหตุการณ์หมายถึง วิธีการเขียนโปรแกรมวิธีหนึ่งที่จะนำเอาเหตุการณ์จริงเข้ามาใช้ และจะรอคอยให้ผู้ใช้ กดแป้นพิมพ์ หรือเมาส์ เสียก่อนที่จะลงมือปฏิบัติงานตามขั้นตอนใด ๆ | executable statement | ข้อความสั่งทำการหมายถึง คำสั่งในภาษาระดับสูงที่สั่งให้คอมพิวเตอร์ลงมือทำการ คำสั่งเหล่านี้ ตัวแปลโปรแกรม (compiler) จะแปลเป็นภาษาเครื่อง (machine language) แล้วเครื่องจะปฏิบัติการตามคำสั่งนั้น เช่น คำสั่งกำหนดค่า A = 2 ถ้าเครื่องเจอคำสั่งนี้ ก็จะลงมือกระทำการ (execute) ด้วยการนำค่า 2 ไปเก็บไว้ในหน่วยความจำช่องหนึ่งที่มีอยู่ (address) ชื่อ A เป็นต้นดู non executable statement เปรียบเทียบ | execute | (เอค'ซะคิวทฺ) vt. ปฎิบัติ, บริหาร, ประหารชีวิต, บังคับตามกฎหมาย., See also: executable adj. executer n. กระทำการหมายถึง การที่เครื่องคอมพิวเตอร์ลงมือกระทำการตามคำสั่งในโปรแกรม หลังจากที่มีการแปลโปรแกรมนั้น compile ออกเป็นภาษาเครื่อง machine language แล้วดู compile และ machine language ประกอบ | flowchart | ผังงานหมายถึง ผังที่ประกอบด้วยเส้นและสัญลักษณ์รูปต่าง ๆ ซึ่งนักเขียนโปรแกรมใช้ เพื่อให้มองเห็นขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม ก่อนจะลงมือเขียน แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ผังงานกว้าง ๆ (general flowchart) และผังงานละเอียด (detailed flowchart) ผังงานจะช่วยทำให้เข้าใจการทำงาน ทำให้การเขียนโปรแกรมง่ายขึ้น เนื่องจากคอมพิวเตอร์จะทำงานเป็นขั้นเป็นตอน ซึ่งผู้เขียนโปรแกรมจะต้องเป็นผู้กำหนดให้ ผังงานจะช่วยให้ผู้เขียนโปรแกรมมองเห็นขั้นตอนต่าง ๆ จากสัญลักษณ์ที่กำหนดไว้ง่ายเข้า และไม่เกิดความสับสน โดยเฉพาะปัญหาที่ซับซ้อนมาก ๆ ดู general flowchart และ detailed flowchart ประกอบ | imperative statement | หมายถึง คำสั่งในภาษาระดับสูง (high level language) ที่สั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ลงมือทำการ คำสั่งเหล่านี้ ตัวแปลโปรแกรม จะแปลเป็นภาษาเครื่อง (machine language) ก่อน แล้วเครื่องจึงจะปฏิบัติตาม เช่น ข้อความสั่งทำการกำหนดให้ A = 2 ถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์พบคำสั่งนี้ ก็จะลงมือทำหาร ด้วยการนำ 2 ไปเก็บไว้ในหน่วยความจำช่องหนึ่งที่มีอยู่ (address) แล้วกำหนดชื่อที่เก็บนั้นว่า A เป็นต้นมีความหมายเหมือน excutable statement | implementation | การทำให้เกิดผลหมายถึง การลงมือทำเพื่อให้โครงการหรืองานอย่างใดอย่างหนึ่งประสบผลสำเร็จ อาจใช้อุปกรณ์หรือเครื่องมือบางชนิดช่วยก็ได้ | incremental compiler | ตัวแปลโปรแกรมส่วนเพิ่มหมายถึง โปรแกรมพิเศษที่ทำหน้าที่เป็นตัวแปลคำสั่งในโปรแกรมให้เป็นรหัสภาษาเครื่องในทันทีที่พิมพ์ข้อความที่เป็นคำสั่งเต็มบรรทัด ตัวแปลโปรแกรมส่วนเพิ่มตัวนี้จะทำหน้าที่แปลในขณะที่เราพิมพ์คำสั่งแต่ละคำสั่ง ผิดกับตัวแปลอื่นที่จะรอจนพิมพ์โปรแกรมเสร็จหมดจึงจะลงมือแปล การแปลแบบหลังนี้ เราจะต้องรอสักนิดหนึ่ง เมื่อการแปลเสร็จสิ้นแล้ว เครื่องคอมพิวเตอร์จึงจะลงมือทำงาน ดู interpreter ประกอบ | launch | (ลอนชฺ) { launched, launching, launches } vt. ปล่อย (เรือ) ลงน้ำปล่อย (ดาวเทียม, ทุ่นระเบิด) , เหวี่ยง, ยิง, ทำให้เริ่มปฏิบัติการ, เริ่ม, ยื่น (คำคัดค้าน) , ออกคำสั่ง. vi. เริ่ม, เข้าร่วม, ลงมือ. n. การปล่อย, การเริ่มปฏิบัติการ, การเข้าร่วม, เรือบด, เรือยนต์ คำที่มีความหม | launcher | (ลอน'เชอะ) n. ผู้ปล่อย, ผู้ลงมือ, สิ่งที่ปล่อย, เครื่องปล่อยขีปนาวุธ | ok button | ปุ่มตกลงหมายถึง ช่องสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ มีตัวอักษร OK อยู่ข้างใน มักจะปรากฏให้เห็นในกรอบสนทนา (dialog box) ในระบบวินโดว์ ถ้ากดปุ่มนี้ ก็เท่ากับเป็นคำสั่งให้คอมพิวเตอร์ลงมือปฏิบัติตามคำสั่งที่กำหนดไว้ในกรอบสนทนา หลังจากที่เลือกหรือกำหนดตัวเลขบางตัวตามที่ต้องการได้แล้ว ปุ่มนี้มักจะมีคู่มากับปุ่ม Cancel เพราะถ้าไม่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติ ก็กดปุ่ม Cancel แทน OK (ใช้ในแมคอินทอชด้วย) | open | (โอ'เพิน) adj., v. เปิด, เปิดรับ, เปิดกว้าง, เริ่มต้น, เปิดอิสระ, โล่ง, ไม่ปิดบัง, โปร่ง, ยังไม่ตกลงกันได้, ใจบุญ, ลงมือ, See also: openly adv. openness n. -Phr. open up ลงมือ เริ่มต้น เริ่มยิง, เริ่มคุ้นเคย, เปิดเผย, เพิ่มความเร็ว n. ที่เปิดเผย-Phr. the | proceed | (โพรซีด') vi. ดำเนินการ, กระทำการ, กระทำต่อไป, ปฏิบัติ, ลงมือ, เริ่ม, เกิดจาก, ออกจาก., See also: proceeder n., Syn. go forward, continue | program flowchart | ผังงานโปรแกรมหมายถึง ผังที่ประกอบด้วยเส้นและสัญลักษณ์รูปต่าง ๆ ซึ่งนักเขียนโปรแกรมใช้ เพื่อให้มองเห็นขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม ก่อนจะลงมือเขียนโปรแกรมจริง ๆ | readdress | (รีอะเดรส') vt. แก้ที่อยู่ของจดหมาย, ทำให้ลงมือกันใหม่ | start | (สทาร์ท) vi.เริ่ม, เริ่มต้น, ตั้งต้น, ลงมือ, ทำการ, ตั้งตัว, ยืน, โผล่, กระตุก, กระโดด, สะดุ้งตกใจ, ปรากฎออกมาอย่างฉับพลัน, คลาย, หลวม, ร่วมแข่ง. vt. เริ่มต้น, ตั้งต้น, ก่อให้เกิด, ทำให้ตกอกตกใจ, ทำให้คลาย, ทำให้หลวม, เสนอ, ให้สัญญาณการเริ่มแข่ง. n. การเริ่ม, การเริ่มต้น | virtual machine | เครื่องเสมือนหมายถึง ระบบปฏิบัติการที่ทำให้สามารถใช้ซอฟต์แวร์จำลองการทำงานของคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นได้ มักใช้สำหรับเป็นตัวทดสอบโปรแกรมซอฟต์แวร์ต่าง ๆ เช่นวิศวกรอาจคิดสร้างคอมพิวเตอร์ขึ้นมาใหม่ แล้วใช้ซอฟต์แวร์จำลองดูการทำงานของเครื่องใหม่นี้ (กำหนดให้เครื่องเสมือนนี้ลองทำโปรแกรมดู) เพื่อดูว่ามีปัญหาอย่างไรหรือไม่ ถ้ามี ก็จะได้จัดการแก้ไขปัญหาเหล่านั้น เสียก่อนที่จะลงมือผลิตเครื่องออกมาจริง ๆ |
| begin | (vi, vt) เริ่มต้น, เริ่ม, ตั้งต้น, แต่แรก, ลงมือ | embark | (vi, vt) ลงเรือ, ขึ้นเครื่องบิน, ลงมือ, เริ่มดำเนินการ, จัดทหาร | launch | (vi) ลงมือทำ, เริ่มงาน, เริ่มดำเนินการ, เข้าร่วม | start | (vi) เริ่มต้น, ตั้งต้น, ลงมือ, กระตุก, ตั้งตัว, ยื่น, โผล่ |
| anticipatory | คาด, คาดล่วงหน้าว่าจะมี, ทำนาย, รำพึงล่วงหน้าถึง, ล่วงหน้า; ชิงไปเสียก่อน, ตัดบท, เร่ง(ความหายนะ), ลงมือทำการก่อน | constructionism | [คันสทรัค'เชินนิซึม] (n) ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอ "ความรู้ไม่ ใช่มาจากการสอนของครูหรือผู้สอนเพียงอย่างเดียว แต่ความรู้จะเกิดขึ้นและสร้างขึ้นโดยผู้เรียนเอง การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดีก็ต่อเมื่อผู้เรียนได้ลงมือกระทำด้วยตนเอง (Learning by doing) นอกจากนั้นมองลึกลงไปถึงการพัฒนาการของผู้เรียนในการเรียนรู้ซึ่งจะมี มากกว่าการได้ลงมือปฏิบัติสิ่งใดสิ่งหนึ่งเท่านั้น " | executable statement | (n) ข้อความสั่งทำการหมายถึง คำสั่งในภาษาระดับสูงที่สั่งให้คอมพิวเตอร์ลงมือทำการ | pre-emptive | (adj) ชิงโจมตีก่อน ชิงลงมือก่อน exp. pre-emptive war |
| 施工 | [せこう, sekou] (n) การลงมือก่อสร้าง, การดำเนินการก่อสร้าง | 打ち上げ | [うちあげ, uchiage] (n, vi, vt) (ลอนชฺ) { launched, launching, launches } vt. ปล่อย (เรือ) ลงน้ำปล่อย (ดาวเทียม, ทุ่นระเบิด) , เหวี่ยง, ยิง, ทำให้เริ่มปฏิบัติการ, เริ่ม, ยื่น (คำคัดค้าน) , ออกคำสั่ง. vi. เริ่ม, เข้าร่วม, ลงมือ. n. การปล่อย, การเริ่มปฏิบัติการ, การเข้าร่วม, เรือบด, เรือยนต์ คำที่มีความหม | 手を打つ | [うちあげ, te wo utsu] (n, vi) ลงมือ | 打つべき手 | [うちあげ, utsu beki te] (n) การควรลงมือทำ |
| 乗り出す | [のりだす, noridasu] TH: เริ่มลงมือ |
| Maßnahmen ergreifen | (phrase) ลงมือทำ จัดการทำ เช่น Wir müssen Maßnahmen gegen SARS-Epidemie ergreifen. เราต้องลงมือหาทางแก้โรคระบาดไวรัสซาร์ | in Angriff nehmen | เริ่มจัดการ, เริ่มลงมือ เช่น Der Arzt nimmt gleich die Operation in Angriff.; Der Ingenieur will nun den Bauplan in Angriff nehmen., See also: beginnen | betäuben | (vt) |betäubte, hat betäubt| วางยาสลบหรือฉีดยาชาก่อนทำการผ่าตัด เช่น Der Arzt betäubt ihn örtlich vor der Zahnbehandlung mit einer Spritze. = หมอฉีดยาชาให้แก่เขาก่อนจะลงมือทำฟันให้ | loslegen | (vt) |legte los, hat losgelegt| ลงมือทำ, เริ่มทำ เช่น Um möglichst viel Gewinn zu bekommen, sollen wir mit diesem Projekt endlich mal loslegen. เพื่อที่เราจะได้รับผลกำไรสูงสุดเราควรจะเริ่มต้นลงมือทำโครงการนี้สักที, See also: Related: beginnen, anfangen, starten |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |