ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: เจต, -เจต- |
เจต | (n) mind, See also: thought, Syn. ใจ, Thai Definition: สิ่งที่คิด, Notes: (บาลี) | เจตนา | (v) intend, See also: aim, mean, propose, object to, Syn. ตั้งใจ, มุ่งหมาย, จงใจ, Example: ในชีวิตนี้ข้าพเจ้าไม่เคยมีเจตนาจะทำให้ผู้อื่นเดือดร้อนหรือขุ่นเคืองใจเลย, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | เจตคติ | (n) attitude, See also: impression, opinion, point of view, Syn. ทัศนคติ, ทรรศนะ, Example: จริยศึกษาเป็นกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มุ่งปลูกฝังเจตคติหรือคุณธรรมลง ในจิตใจของผู้เรียน, Thai Definition: ท่าทีหรือความรู้สึกของบุคคลต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง | เจตภูต | (n) spirit, See also: soul, ghost, phantom, Example: เขาทำให้ผมนึกถึงเรื่องราวของเจตภูตและวิญญาณที่ล่องลอยอยู่ในที่ต่างๆ ว่ามีจริงหรือไม่, Thai Definition: วิญญาณที่สิงอยู่ในตัวคน กล่าวกันว่าออกจากร่างได้ในเวลานอนหลับ | เจตจำนง | (n) intention, See also: intent, purpose, aim, Syn. ความตั้งใจ, ความมุ่งหมาย, ความจงใจ, เจตนารมณ์, Example: ผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ร่วมลงนามในหนังสือแสดงเจตจำนงขอความช่วยเหลือทางการเงินจาก IMF | โดยเจตนา | (adv) intentionally, See also: deliberately, Syn. โดยตั้งใจ, โดยจงใจ, Ant. โดยบังเอิญ, Example: จำเลยทำผิดโดยเจตนา | กุศลเจตนา | (n) virtuous intention, See also: good intention, goodwill, Example: ราษฎรผู้มีกุศลเจตนา ได้พร้อมใจกันจัดงานเลี้ยงฉลอง 100 ปี พระยาอนุมานราชธน, Thai Definition: ความหวังดี | ตั้งเจตนา | (v) intend, See also: have in mind, plan, aim, mean, purpose, Syn. ตั้งใจ, ตั้งเป้าหมาย, Example: เขาตั้งเจตนาไว้อย่างมุ่งมั่นว่าจะจับคนร้ายกลุ่มนี้ให้ได้, Thai Definition: ตั้งใจหรือมุ่งหมายไว้อย่างแน่วแน่ว่าจะทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง | เจตนารมณ์ | (n) intention, See also: aim, purpose, Syn. ความมุ่งหมาย, เจตนา, ความตั้งใจ, จุดหมาย, เป้าหมาย, Example: การปกครองในระบอบประชาธิปไตยการทำงานของรัฐจะต้องสอดคล้องกับเจตนารมณ์ของ ประชาชน | แสดงเจตนา | (v) intent to, See also: aim at, stretch out for, Syn. บอกเจตนา, แสดงเจตจำนง | แสดงเจตนา | (v) disclose one's intention, See also: show one's hand / cards, tip one's hand, declare one's intention, Syn. แสดงความประสงค์, แสดงเจตจำนง, Example: เขามิได้แสดงเจตนาร้ายต่อข้าพเจ้า, Thai Definition: แสดงให้ทราบถึงความต้องการ หรือความประสงค์ | อกุศลเจตนา | (n) malice, See also: sinful intention, evil intention, ill intent, vicious intent, Example: เพราะเขามีอกุศลเจตนาตลอดเวลา เขาจึงไม่มีความสุข, Count Unit: กุศลเจตนา, Thai Definition: ความตั้งใจเป็นบาป, ความคิดชั่ว, เจตนาชั่ว, เจตนาไม่ดี, Notes: (สันสกฤต) | โดยมีเจตนา | (adv) intentionally, See also: deliberately, on purpose, willfully, Example: เขานำความลับของผู้อื่นมาเปิดเผยโดยมีเจตนา เพราะอยากกลั่นแกล้งไม่ให้ได้ดีไปกว่าตน | แสดงเจตจำนง | (v) aim at, See also: purpose, intent, Syn. บอกเจตนา, แสดงเจตนา | โดยไม่เจตนา | (adv) unintentionally, See also: inadvertently, accidentally, Syn. โดยไม่ได้เจตนา, Example: เรยถูกส่งตัวเข้าคุกด้วยข้อหาขับรถชนคนตายโดยไม่เจตนา | การแสดงเจตนา | (n) declaration of intention, See also: disclosing one's intention, intention representation, Syn. การแสดงความตั้งใจ, การแสดงความจงใจ, การแสดงความมุ่งหมาย, Example: การแสดงเจตนาของผู้เขียนเรื่องนี้ แสดงด้วยถ้อยคำพูดที่ไม่ปรุงแต่งให้สวยงามนัก เพื่อแสดงให้เห็นภาพชัดเจน | เจตนาบริสุทธิ์ | (n) honest intention, Syn. เจตนาดี, Ant. เจตนาร้าย, Example: การสร้างพระด้วยวัตถุประสงค์ดี เจตนาบริสุทธิ์เป็นส่วนหนึ่งของอานิสงส์ทำให้เกิดผลอัศจรรย์แก่ผู้ที่มีไว้ครอบครอง | เจตนาไม่บริสุทธิ์ | (n) bad faith, Syn. เจตนาร้าย, Ant. เจตนาบริสุทธิ์ |
| กระทำโดยเจตนา | ก. กระทำโดยรู้สำนึกในการที่กระทำและในขณะเดียวกันผู้กระทำประสงค์ต่อผล หรือย่อมเล็งเห็นผลของการกระทำนั้น. | เจต, เจต- | (เจด, เจตะ-, เจดตะ-) น. สิ่งที่คิด, ใจ. | เจตคติ | (เจตะ-) น. ท่าทีหรือความรู้สึกของบุคคลต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง. | เจตจำนง | (เจด-) น. ความตั้งใจมุ่งหมาย, ความจงใจ. | เจตภูต | (เจดตะพูด) น. สภาพเป็นผู้คิดอ่าน คือ มนัส, ที่เรียกในภาษาสันสกฤตว่า “อาตมัน” เรียกในภาษาบาลีว่า “อัตตา” ก็มี “ชีโว” ก็มี, มีอยู่ในลัทธิว่า “ในโลกนี้ไม่มีอะไรสูญ แม้คนและสัตว์ตายแล้ว ร่างกายเท่านั้นทรุดโทรมไป ส่วนเจตภูตเป็นธรรมชาติไม่สูญ ย่อมถือปฏิสนธิในกำเนิดอื่นสืบไป”, ลัทธินี้ทางพระพุทธศาสนาจัดเป็นสัสตทิฐิ แปลว่า ความเห็นว่าเที่ยง, ตามสามัญที่เข้าใจกัน เจตภูต คือวิญญาณที่สิงอยู่ในตัวคน กล่าวกันว่าออกจากร่างได้ในเวลานอนหลับ. | เจตนา | (เจดตะนา) ก. ตั้งใจ, จงใจ, มุ่งหมาย. | เจตนา | (เจดตะนา) น. ความตั้งใจ, ความจงใจ, ความมุ่งหมาย. | เจตนารมณ์ | น. ความมุ่งหมาย. | เจตพังคี | (เจดตะ-) น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Cladogynos orientalis Zipp. et Span. ในวงศ์ Euphorbiaceae ท้องใบขาว รากใช้ทำยาได้. | เจตมูลเพลิง | (เจดตะ-) น. ชื่อไม้พุ่มขนาดเล็กหลายชนิดในสกุล Plumbago วงศ์ Plumbaginaceae เช่น เจตมูลเพลิงแดง ( P. indica L.) ดอกสีแดง และ เจตมูลเพลิงขาว ( P. zeylanica L.) ดอกสีขาว, รากของทั้ง ๒ ชนิด มีรสเผ็ดร้อน ใช้ทำยาได้. | เจตมูลเพลิงฝรั่ง | ดู พยับหมอก ๒. | เจตสิก | (เจตะ-, เจดตะ-) น. อารมณ์ที่เกิดกับใจ. | เจตสิก | (เจตะ-, เจดตะ-) ว. เป็นไปในจิต เช่น สุขหรือทุกข์ที่เกิดในจิต. | เจติย- | (-ติยะ-) น. เจดีย์. | โดยเจตนา | ดู กระทำโดยเจตนา. | ไถยเจตนา | น. เจตนาในทางเป็นขโมย, ความตั้งใจจะขโมย. | สัญเจตนา | (-เจดตะนา) น. ความตั้งใจ, ความจงใจ. | อกุศล-เจตนา | (อะกุสนละเจดตะนา) น. ความตั้งใจเป็นบาป, ความคิดชั่ว. | กระทำโดยประมาท | ก. กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวังซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่. | กลบไต๋ | ก. ปกปิดไพ่ตัวสำคัญไว้ไม่ให้คู่แข่งรู้, ปกปิดกลเม็ด ทีเด็ด ความลับ หรือเจตนาไว้, อุบไต๋ ก็ว่า. | การเมือง | ว. มีเงื่อนงำ, มีการกระทำอันมีเจตนาอื่นแอบแฝงอยู่, เช่น ป่วยการเมือง. | ของขบเคี้ยว | น. ของกินเล่นที่ไม่เจตนากินให้อิ่ม. | ครอบครอง | ยึดถือทรัพย์สินไว้โดยเจตนาจะยึดถือเพื่อตน อันทำให้บุคคลได้มาซึ่งสิทธิครอบครอง ทั้งนี้จะยึดถือไว้เองหรือบุคคลอื่นยึดถือไว้ให้ก็ได้. | ครอบครองปรปักษ์ | ก. ครอบครองทรัพย์สินของผู้อื่นไว้โดยความสงบและโดยเปิดเผยด้วยเจตนาเป็นเจ้าของ ถ้าเป็นอสังหาริมทรัพย์ได้ครอบครองติดต่อกันเป็นเวลา ๑๐ ปี ถ้าเป็นสังหาริมทรัพย์ได้ครอบครองติดต่อกันเป็นเวลา ๕ ปี บุคคลนั้นได้กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินนั้น. | ความมุ่งหมาย | น. ความตั้งใจ, เจตนา, เช่น ถนนสายนี้สร้างขึ้นด้วยความมุ่งหมายเพื่อย่นระยะทาง. | คำบอกกล่าว | น. ข้อความที่บุคคลฝ่ายหนึ่งแจ้งเป็นหนังสือ หรือแจ้งด้วยวาจา ไปยังบุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง แสดงเจตนาที่จะใช้สิทธิ สงวนสิทธิ หรือกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น คำบอกกล่าวสนองในการทำสัญญา คำบอกกล่าวเลิกสัญญา คำบอกกล่าวว่าจะบังคับจำนอง. | คำมั่น | น. การแสดงเจตนาที่บุคคลหนึ่งให้ไว้กับอีกบุคคลหนึ่งเป็นการเฉพาะเจาะจงหรือให้ไว้กับบุคคลอื่นเป็นการทั่วไปว่าจะกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น คำมั่นจะซื้อหรือขาย คำมั่นว่าจะให้รางวัล. | คำร้องทุกข์ | น. การที่ผู้เสียหายได้กล่าวหาต่อเจ้าหน้าที่ ว่ามีผู้กระทำความผิดขึ้น จะรู้ตัวผู้กระทำความผิดหรือไม่ก็ตามซึ่งกระทำให้เกิดความเสียหายแก่ผู้เสียหาย และการกล่าวหาเช่นนั้นได้กล่าวโดยมีเจตนาจะให้ผู้กระทำความผิดได้รับโทษ. | คำสนอง | น. การแสดงเจตนาของบุคคลฝ่ายหนึ่งตกลงรับคำเสนอของบุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง อันเป็นผลให้เกิดมีความผูกพันเป็นสัญญาขึ้นตามกฎหมาย. (ดู คำเสนอ ประกอบ). | คำเสนอ | น. การแสดงเจตนาว่าจะกระทำการหรืองดเว้นกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่บุคคลฝ่ายหนึ่งแจ้งต่อบุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง. (ดู คำสนอง ประกอบ). | จงใจ | ก. ตั้งใจ, หมายใจ, เจตนา. | จตุกาลธาตุ | (-กาละทาด) น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาแก้ธาตุตามเวลาไว้ ๔ อย่าง คือ เหง้าว่านน้ำ รากเจตมูลเพลิง รากแคแตร รากพนมสวรรค์. | จัก ๒ | คำช่วยกริยาบอกกาลภายหน้า แสดงเจตจำนง เช่น จักกิน จักนอน. | เจ็ดตะคลี | (-คฺลี) น. ผ้าลายอย่างดีชนิดหนึ่ง, เขียนเป็น เจตตะคลี หรือ เจ็ตคลี ก็มี. | โฉบ | เจตนาไปที่ใดที่หนึ่ง เช่น โฉบไปหน้าโรงเรียน. | ตบเท้า | ก. อาการเดินแถวเป็นจังหวะพร้อม ๆ กัน โดยกระแทกตีนกับพื้นแรง ๆ ของทหารหรือตำรวจเป็นต้น เรียกว่า เดินตบเท้า, (ปาก) อาการที่ทหารหรือตำรวจรวมกลุ่มกันไปแสดงเจตนารมณ์อย่างเดียวกัน. | ตรีปิตตผล | (-ปิดตะผน) น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาอันมีสรรพคุณแก้ดี ๓ อย่าง คือ รากเจตมูลเพลิงเทศ รากผักแพวแดง รากกะเพราแดง. | ตีความ | ใช้หรือปรับให้เข้าใจเจตนาและความมุ่งหมายเพื่อความถูกต้องเป็นต้น | ไต๋ | น. กลเม็ด, ทีเด็ด, ความลับ, เจตนาแท้จริงซึ่งซ่อนเร้นไว้ | ถากถาง | ก. ค่อนว่า, มีเจตนาว่าให้เจ็บใจ. | ถีบทาง | ก. เดินตรวจตรา เช่น นั่นแหละมึงจึ่งจะรู้จักฝีมือกูผู้ชื่อเจตบุตรพราน อันได้ถีบทางตระเวนด่านนี้แล (ม. ร่ายยาว ชูชก). | ทำแท้ง | ก. รีดลูก, มีเจตนาทำให้ทารกออกจากครรภ์มารดาก่อนกำหนดและตาย. | นิติกรรมอำพราง | น. นิติกรรมอันหนึ่งที่ทำขึ้นด้วยเจตนาลวง เพื่อปิดบังนิติกรรมอีกอันหนึ่งที่ทำขึ้นด้วยเจตนาอันแท้จริง ซึ่งกฎหมายให้บังคับตามกฎหมายเกี่ยวกับนิติกรรมที่ถูกอำพรางนั้น. | บริสุทธิ์ใจ | ว. มีความจริงใจ, มีใจใสสะอาด, ไม่มีเจตนาอื่นเคลือบแฝง, เช่น ทำด้วยความบริสุทธิ์ใจ. | บังหน้า | ก. นำชื่อบุคคลเป็นต้นมาอ้างเพื่อประโยชน์ตนโดยเจตนาให้ผู้อื่นหลงผิด | เบญจกูล | น. เครื่องยา ๕ อย่าง คือ ขิง ดีปลี ช้าพลู สะค้าน เจตมูลเพลิง. | ปริยาย | เจตนากระทำที่มิได้แสดงออกอย่างชัดแจ้งแต่อนุมานได้จากพฤติกรรมที่แสดงออก. | เป้าหมาย | ความมุ่งหมายเจาะจงให้ได้ตามเจตนา เช่น การขายข้าวในปีนี้มีเป้าหมายให้ได้เกินหกแสนตัน. | โป๊ | ว. เปลือยหรือค่อนข้างเปลือย เช่น รูปโป๊, มีเจตนาเปิดเผยอวัยวะบางส่วนที่ควรปกปิด เช่น แต่งตัวโป๊. | ผัสสาหาร | น. อาหารคือผัสสะ หมายเอาการประจวบกันแห่งอายตนะภายใน อายตนะภายนอก และวิญญาณ เป็นปัจจัยแห่งเจตสิกอันจะพึงเกิดโดยวิถีมีเวทนาเป็นต้น เป็นประการหนึ่งในอาหารทั้ง ๔ (อีก ๓ อย่าง คือ กวลิงการาหาร อาหารคือคำข้าว มโนสัญเจตนาหาร อาหารคือมโนสัญเจตนา และวิญญาณาหาร อาหารคือวิญญาณ). |
|
| possession, corporeal | การครอบครองทรัพย์ด้วยเจตนาเป็นเจ้าของ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | premeditated design | เจตนาฆ่าคนโดยไตร่ตรองไว้ก่อน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | law, spirit of | เจตนารมณ์ของกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | letter of intent | หนังสือแสดงเจตนารมณ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legislative intent | ความมุ่งหมายของกฎหมาย, เจตนารมณ์ของกฎหมาย [ ดู intendment of law และ spirit of law ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | ratio legis est anima legis (L.) | เหตุผลในการตรากฎหมาย คือเจตนารมณ์ของกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | reformation | การแก้ไขให้ตรงกับเจตนา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | real intention | เจตนาอันแท้จริง [ ดู true intention ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | spirit of law | เจตนารมณ์ของกฎหมาย [ ดู intendment of law และ legislative intent ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | spiritualism | เจตนิยม [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | survey of knowledge, attitude and practice (KAP survey) | การสำรวจความรู้ เจตคติหรือทัศนคติ และการปฏิบัติ (การสำรวจ เคเอพี) [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | spirit | เจตนารมณ์, ความมุ่งหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | animus (L.) | เจตนา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | animus et factum (L.) | เจตนาประกอบกับการกระทำ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | aesthetic attitude | สุนทรียเจตคติ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | attitude | ๑. ท่าทรงตัว๒. เจตคติ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | attitude | เจตคติ, ทัศนคติ, ท่าที [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | attitude, aesthetic | สุนทรียเจตคติ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | bad motive | เจตนาร้าย, เจตนาทุจริต [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | badges of fraud | สิ่งที่ส่อเจตนาฉ้อฉล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | manifesto | คำแถลงอุดมการณ์, คำประกาศเจตนา [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | manifest intention | เจตนาโดยชัดแจ้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | manifestation of intention | การแสดงเจตนา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | manifesto | คำประกาศเจตนา [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | mens rea (L.) | เจตนาร้าย [ ดู criminal intent ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | malice | เจตนาร้าย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | malice | เจตนาร้าย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | malice aforethought | เจตนาร้ายโดยไตร่ตรองมาก่อน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | malice in fact | เจตนาร้ายที่ชัดแจ้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | malice in law | เจตนาร้ายตามกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | manslaughter | การทำให้คนตายโดยไม่เจตนา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | manslaughter | การทำให้คนตายโดยไม่เจตนา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | manslaughter | การทำให้คนตายโดยไม่เจตนาฆ่า [ ดู homicide และ murder ประกอบ ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | malicious accusation | การกล่าวหาโดยเจตนาร้าย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | malicious injury | การทำร้ายร่างกายโดยเจตนา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | malicious killing | การฆ่าคนโดยเจตนา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | criminal intent | เจตนาทางอาญา [ ดู mens rea ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | cy-prés (Fr.) | ที่ใกล้เคียงอย่างยิ่ง (ในเจตนา) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | corporeal possession | การครอบครองทรัพย์ด้วยเจตนาเป็นเจ้าของ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | construction | การตีความตามเจตนารมณ์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | construction | การตีความตามเจตนารมณ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | declaration of association | การแสดงเจตนาก่อตั้งบริษัท [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | declaration of disinheritance | การแสดงเจตนาตัดมิให้รับมรดก [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | declaration of intention | การแสดงเจตนา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | donative intent | เจตนาให้ (โดยเสน่หา) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | general will | เจตจำนงร่วม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | guilty mind | เจตนาร้าย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | free will | เจตจำนงเสรี [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | furandi animus (L.) | การมีเจตนาลักทรัพย์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | express malice | เจตนาร้ายที่ชัดแจ้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Attitude | เจตคติ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Attitude | เจตคติ [เศรษฐศาสตร์] | Contamination | การเปื้อนสารกัมมันตรังสี, สารกัมมันตรังสีทั้งในรูปของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ที่ปนเปื้อนในอาหาร น้ำ อากาศ หรือเปรอะเปื้อนที่พื้นผิววัสดุ อุปกรณ์ ร่างกาย และหรือบริเวณที่ต้องการใช้งาน ซึ่งเกิดขึ้นโดยไม่เจตนา เพราะอาจก่อให้เกิดอันตรายได้ [นิวเคลียร์] | Safety culture | วัฒนธรรมความปลอดภัย, พฤติกรรมขององค์กรและบุคคลในองค์กร ที่สะท้อนการได้รับการปลูกจิตสำนึกด้านความปลอดภัย ทั้งจากการอบรม การเรียนรู้และการถ่ายทอด จนเกิดเป็นนิสัยและเจตคติที่ให้ความสำคัญต่อการระวังป้องกันเพื่อให้เกิดความปลอดภัย ตัวอย่างเช่น ผู้ปฏิบัติงานทางนิวเคลียร์และรังสี ย่อมรู้ดีว่าจะต้องใช้อุปกรณ์ใดบ้างเพื่อให้เกิดความปลอดภัย เช่น ต้องติดมาตรปริมาณรับรังสี ต้องใช้เครื่องมือหยิบจับสารกัมมันตรังสี มีวัสดุและอุปกรณ์กำบังรังสีที่พอเพียง รวมทั้งการสวมแว่นตาและหน้ากากกันไอระเหย ให้เหมาะสมตามลักษณะของงาน [นิวเคลียร์] | Radioactive contamination | การเปื้อนสารกัมมันตรังสี, สารกัมมันตรังสีทั้งในรูปของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ที่ปนเปื้อนในอาหาร น้ำ อากาศ หรือเปรอะเปื้อนที่พื้นผิววัสดุ อุปกรณ์ ร่างกาย และหรือบริเวณที่ต้องการใช้งาน ซึ่งเกิดขึ้นโดยไม่เจตนา เพราะอาจก่อให้เกิดอันตรายได้, Example: [นิวเคลียร์] | Nuclear incident | อุบัติการณ์นิวเคลียร์, เหตุการณ์ที่เกิดขัดข้องในโรงงานนิวเคลียร์ ทั้งโดยเจตนาและไม่เจตนา ซึ่งอาจก่อให้เกิดความเสียหาย แต่ไม่รุนแรงเท่าอุบัติเหตุนิวเคลียร์ (ดู INES ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Nuclear accident | อุบัติเหตุนิวเคลียร์, เหตุการณ์ใดๆ ที่เกิดขึ้นในโรงงานนิวเคลียร์โดยไม่เจตนา รวมถึงความผิดพลาดที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินกิจกรรมทางนิวเคลียร์ หรือของอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับระบบความปลอดภัย ทำให้มีการปลดปล่อย หรือ เกือบมีการปลดปล่อยสารกัมมันตรังสี ออกสู่สิ่งแวดล้อม (ดู INES ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Criminal intent | เจตนาทางอาญา [TU Subject Heading] | Declaration of intention | เจตนา (กฎหมาย) [TU Subject Heading] | Intention | เจตนา [TU Subject Heading] | Letters of intent | หนังสือแสดงเจตจำนง [TU Subject Heading] | Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy | ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี ? เจ้าพระยา ? แม่โขง ACMECS หรือชื่อเดิม ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกัมพูชา ลาว พม่า และไทย (ECS : Economic Cooperation Strategy among Cambodia, Lao PDR, Myanmar and Thailand) คือ กรอบความร่วมมือระหว่าง 5 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม ACMECS เป็นแนวคิดที่ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้หยิบยกขึ้นหารือกับผู้นำกัมพูชา ลาว และพม่า ในช่วงการประชุมผู้นำอาเซียนสมัยพิเศษว่าด้วยโรค SARS เมื่อ 29 เมษายน 2546 ที่กรุงเทพฯ และได้มีพัฒนาการอย่างรวดเร็วต่อเนื่องจนถึงการประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 1 ที่เมืองพุกาม สหภาพพม่า เมื่อ 12 พฤศจิกายน 2546 โดยผู้นำทั้ง 4 ประเทศร่วมกันออกปฏิญญาพุกาม (Bagan Declaration) รวมทั้งแผนปฏิบัติการ (Plan of Action) ครอบคลุมความร่วมมือ 5 สาขา ได้แก่ การอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการ ลงทุน ความร่วมมือทางด้านเกษตรและอุตสาหกรรม การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม การท่องเที่ยว และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ บนหลักการที่เน้นการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนและยกระดับความ เป็นอยู่ของประชาชน รวมทั้งเปิดกว้างให้นานาประเทศและองค์การระหว่างประเทศได้มีส่วนร่วมเป็น หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา (Development Partner) ในโครงการต่างๆ ของ ACMECS ด้วย * เวียดนามร่วมเป็นสมาชิก ACMECS เมื่อ 10 พฤษภาคม 2547 สถานะล่าสุด ระหว่างวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2547 ที่จังหวัดกระบี่ ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสสมัยพิเศษและการประชุม รัฐมนตรี ACMECS อย่างไม่เป็นทางการ รวมทั้งการประชุมร่วมกับ Development Partners (ผู้แทนจากออสเตรเลีย ฝรั่งเศส เยอรมนี ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ และธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย) ซึ่งการประชุมประสบผลสำเร็จอย่างดียิ่ง สมาชิก ACMECS ทั้ง 5 ประเทศได้ร่วมกันแสดงความเป็น เอกภาพ โดยยืนยันเจตนารมณ์ที่จะดำเนินการตามกรอบความร่วมมือ ACMECS อย่าง เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันต่อผู้แทนของ Development Partners รวมทั้งมีการหารือถึงความคืบหน้าของการดำเนินโครงการระหว่างกันอย่างเป็น รูปธรรม นอกจากนี้ ยังสามารถมีข้อสรุปที่สำคัญๆ เกี่ยวกับกลไกการประสานงานระหว่างกันซึ่งจะช่วยให้การดำเนินกิจกรรมความร่วม มือของ ACMECS มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป * ไทยมีกำหนดเป็นเจ้าภาพจัดประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 2 ในเดือนธันวาคม 2548 ที่กรุงเทพฯ [การทูต] | Bangkok Declaration : Global Dialogue and Dynamic Engagement | ปฏิญญากรุงเทพ : การหารือและการมีส่วนร่วมอย่างมีพลวัตของประชาคมโลก " หนึ่งในสองของเอกสารผลการประชุมอังค์ถัด ครั้งที่ 10 ที่แสดงฉันทามติของประเทศสมาชิกอังค์ถัด 190 ประเทศ เกี่ยวกับผลกระทบของกระแสโลกาภิวัตน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งแสดงเจตนารมณ์ร่วมทางการเมืองของประเทศสมาชิกอังค์ถัดที่จะร่วมมือ กันดำเนินนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศเพื่อทำให้สมาชิกทั้งหมด โดยเฉพาะประเทศกำลังพัฒนา ได้รับประโยชน์จากกระบวนการโลกาภิวัตน์ในด้านการค้า การเงิน การลงทุน และการถ่ายทอดเทคโนโลยี ได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม อีกทั้งเพื่อให้ประเทศกำลังพัฒนาสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในระบบเศรษฐกิจโลก ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถหลีกเลี่ยงผลกระทบด้านลบของกระบวนการโลกาภิวัตน์ได้ แม้ปฏิญญากรุงเทพจะไม่มีผลผูกพันทางกฎหมาย แต่ก็เป็นเอกสารที่มีผลผูกพันทางการเมือง เป็นสัญญาประชาคมที่ทุกประเทศสมาชิกอังค์ถัดมีพันธะที่จะต้องปฏิบัติตามแนว นโยบายที่ได้ร่วมกันแถลงไว้ในเอกสารดังกล่าว และเอกสารนี้สามารถใช้เป็นเอกสารอ้างอิงในการเจรจาหารือระหว่างประเทศ เกี่ยวกับการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศในเรื่องของการเงิน การค้า การลงทุน และการพัฒนาได้ " [การทูต] | declaration | ปฏิญญา มีความหมาย 3 อย่าง คือ (1) ความตกลงระหว่างประเทศ ซึ่งมีลักษณะผูกพัน (2) ปฏิญญาฝ่ายเดียว ซึ่งก่อสิทธิและหน้าที่ให้แก่ประเทศอื่น และ (3) ปฏิญญาซึ่งรัฐหนึ่งแถลงให้รัฐอื่นทราบความเห็นและเจตนาของตนในเรื่องบาง เรื่อง [การทูต] | Declaration | คำประกาศ หรือ ปฏิญญา ตามความเห็นของผู้ทรงคุณความรู้ทางกฎหมายระหว่างประเทศ ส่วนมากได้ให้ความเห็นว่า คำนี้มีความหมายต่างกันอยู่สามประการ คือประการแรก ใช้เป็นชื่อเรียกข้อกำหนดต่าง ๆ ของสนธิสัญญา กล่าวคือ ตามสนธิสัญญานี้ ภาคีคู่สัญญารับที่จะปฏิบัติตามแนวทางบางประการในอนาคตประการที่สอง เป็นคำประกาศถ่ายเดียว (Unilateral Declaration) ซึ่งก่อให้เกิดสิทธิและหน้าที่แก่รัฐอื่นๆ เช่น คำประกาศสงครามประการสุดท้าย หมายถึง การกระทำซึ่งรัฐหนึ่งหรือหลายรัฐได้ติดต่อแจ้งไปยังรัฐอื่น ๆ ซึ่งเป็นการอธิบายหรือให้เหตุผลสนับสนุนพฤติกรรมของฝ่ายตนในอดีต หรืออธิบายทรรศนะและเจตจำนงเกี่ยวกับเรื่องบางเรื่อง คำประกาศสำหรับความหมายสองประการหลังไม่ถือว่ามีลักษณะเป็นสนธิสัญญาอนึ่ง ในกรณีคำประกาศถ่ายเดียว (Unilateral Declaration) นั้น บางทีรัฐหนึ่งต้องการเสนอนโยบายหรือหนทางปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งของตน โดยประกาศนโยบายหรือหนทางปฏิบัตินั้นไปให้รัฐอื่นๆ ทราบกันไว้ อาทิเช่น ลัทธิมอนโร (Monroe Doctrine) ซึ่งสหรัฐอเมริกาได้ประกาศออกไปในรูปคำประกาศถ่ายเดียว เป็นต้น [การทูต] | Diplomatic Expressions | ถ้อยคำสำนวนที่ใช้ในวงการทูต กล่าวคือ ในวงการทูตจะมีการนิยมใช้ถ้อยคำสำนวนการทูต ถือกันว่าเป็นภาษาที่สุภาพ ซึ่งจะมีความหมายลึกซื้งเพียงใดนั้น บรรดาเจ้าหน้าที่ทางการทูตจะทราบกันดี อาทิเช่น?My Government views with concern หรือ with grave concern? จะแสดงถึงท่าทีที่ไม่เห็นด้วย หรือแสดงการประท้วง?My Government cannot remain indifferent to the matter? จะส่อถึงเจตนาที่จะดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปส่วนถ้อยคำสำนวนที่ว่า ?In such event my Government would feel bound to reconsider its position หรือ to consider its own interest??My Government will have to claim a free hand? หรือ ?feel obliged to formulate express reservations regarding?เหล่านี้เป็นถ้อยคำสำนวนที่เตือนให้ทราบว่า อาจเกิดการแตกร้าว หรือตัดขาดในพันธไมตรีที่มีต่อกันได้เมื่อรัฐบาลหนึ่งประกาศถือว่าการกระทำ ของอีกรัฐบาลหนึ่งเป็น ?an unfriendly act? หรือการกระทำที่ไม่เป็นมิตรเช่นนี้ ย่อมหมายถึงการเตือนให้ทราบว่า การกระทำเช่นนั้นอาจนำไปสู่สงครามได้ถ้าหากในตอนเสร็จสิ้นการประชุมกันมีการ แถลงการณ์หรือโฆษกของที่ประชุมแจ้งให้ทราบว่า ที่ประชุมได้ทำความตกลงกันโดยสมบูรณ์ (Full agreement) แต่ไม่มีการเปิดเผยให้ทราบว่ามีการตกลงอะไรกันบ้าง จะทำให้เป็นที่สงสัยกันว่าได้มีการตกลงกันโดยสมบูรณ์จริงละหรือ ถ้าหากคำประกาศนั้นใช้ถ้อยคำว่า มี ?substantial agreement? ก็พอจะอนุมานได้ว่าแท้ที่จริงยังมีเรื่องสำคัญ ๆ ที่ยังตกลงกันไม่ได้อีกบางเรื่อง อนึ่ง หากว่ามีการแถลงว่า ?there was a full exchange of views? ก็เท่ากับพูดว่า มิได้มีการตกลงกันแต่อย่างใดทั้งสิ้น [การทูต] | Diplomatic Pouch | ถุงเมล์ทางการทูตที่บรรจุหนังสือโต้ตอบทางราชการ ระหว่างกระทรวงการต่างประเทศของรัฐบาล กับสถานเอกอัครราชทูตต่าง ๆ ใน ต่างประเทศ ถุงเมล์ทูตจะถูกปิดประทับตราของทางราชการ และผู้ใดจะล่วงละเมิดมิได้ แม้แต่เจ้าหน้าที่ศุลกากรก็ขอตรวจไม่ได้ คือได้รับการละเว้นจากการแทรกแซงใด ๆ ทั้งสิ้นเรื่องถุงเมล์ทางการทูตนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ว่า?1. ในรัฐผู้รับจะอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ทั้งมวลในการติดต่อกับคณะรัฐบาลและกับคณะผู้แทน และสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่งไม่ว่าตั้งอยู่ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางเหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้สื่อสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการทูตของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการทูตหมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงเมล์ทางการทูตจะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูตจะต้องมีเครื่องหมายติดไว้ภายนอกที่เห็น ชัดเจน แสดงลักษณะของถุงทางการทูตและอาจบรรจุเอกสารหรือสิ่งของทางการทูต ซึ่งได้เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่านั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการ แสดงสถานภาพของตนและจำนวนหีบห่อ ซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ และจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ในกรณีที่ ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการ แสดงจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุง แต่ไม่ให้ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางการทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรงและโดย เสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน?คำว่าถุงทางการทูตนี้ กระทรวงการต่างประเทศอังกฤษเรียกว่า ?Diplomatic bag? ส่วนในภาษาฝรั่งเศสใช้คำว่า ?Valise Diplomatique? [การทูต] | Eisenhower Doctrine | ลัทธิไอเซนฮาวร์ เมื่อวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 1957 ประธานาธิบดีไอเซนฮาวร์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีความวิตกห่วงใยในสถานการณ์ที่ล่อแหลมต่ออันตรายในภูมิภาคตะวันออกกลาง ได้อ่านสารพิเศษต่อที่ประชุมร่วมระหว่างสภาผู้แทนกับวุฒิสภาขอร้องให้รัฐสภา สหรัฐฯ ลงมติรับรองโครงการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและทางทหาร เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติของบรรดาประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลาง ให้มีความมั่นคงยิ่งขึ้น ดังนั้น ในการสนองตอบสารพิเศษดังกล่าว รัฐสภาสหรัฐฯ ได้ผ่านข้อมติร่วมกันเมื่อวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 1957 มอบให้ประธานาธิบดีมีอำนาจให้ความร่วมมือและอำนวยความช่วยเหลือแก่ชาติหรือ กลุ่มชาติต่างๆ ในภูมิภาคตะวันออกกลาง ซึ่งต้องการความช่วยเหลือเช่นนั้น ในการที่จะพัฒนาพลังทางเศรษฐกิจเพื่อรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติตน และให้จัดโครงการช่วยเหลือทางทหารแก่ชาติต่างๆ ในภาคนั้นซึ่งต้องการความช่วยเหลือดังกล่าว ทั้งได้มอบอำนาจให้ประธานาธิบดีสามารถใช้กองทัพสหรัฐฯ เข้าช่วยเหลือชาติเหล่านั้นที่แสดงเจตนาขอความช่วยเหลือ เพื่อต่อต้านการรุกรานจากประเทศใด ๆ ที่อยู่ใต้อำนาจควบคุมของคอมมิวนิสต์ระหว่างประเทศ [การทูต] | Enhanced Interaction | การส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ " การส่งเสริมปฏิสัมพันธ์เป็นคำที่เสนอโดย นายอาลี อาลาตัส รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศอินโดนีเซีย ในที่ประชุม AMM ครั้งที่ 31 ณ กรุงมะนิลา ซึ่งในด้านสารัตถะมีความหมายเช่นเดียวกับนโยบาย Flexible Engagement แต่เป็นคำที่อาเซียนส่วนใหญ่เห็นว่า มีความ เหมาะสมที่จะใช้สื่อเจตนารมณ์ของอาเซียนในการยกระดับความร่วมมือที่เพิ่มพูน และเปิดกว้างระหว่างกัน " [การทูต] | Exemption from Customs Duties and Inspection of Diplomatic Mission?s Articles | การยกเว้นจากอากรศุลกากร และการตรวจสิ่งของเครื่องใช้ของคณะผู้แทนทางการทูต การยกเว้นดังกล่าวนี้ไม่ถือว่าเป็นสิทธิ แต่เป็นเรื่องของการแสดงอัธยาศัยไมตรีระหว่งประเทศที่ให้ต่อกันมากกว่า กฎหมายระหว่างประเทศก็มิได้กำหนดพันธะที่จะต้องให้การยกเว้นจากอากรศุลกากร อย่างไรก็ดี รัฐส่วนมากได้แสดงอัธยาศัยไมตรีโดยให้ผู้แทนทางการทูตได้รับการยกเว้นอากร ศุลกากรแก่สินค้าและเครื่องใช้ที่นำเข้ามาใช้ในส่วนตัวเองอนุสัญญากรุง เวียนนาได้ระบุไว้ในมาตรที่ 36 ว่า1. รัฐผู้รับจะอนุญาตให้นำเข้าและอำนวยให้มีการยกเว้นจากอากรศุลกากร ภาษี ตลอดจนค่าภาระที่เกี่ยวข้องทั้งมวล นอกจากค่าภาระในการเก็บรักษา การขนส่งและบริการ ให้ทำนองเดียวกันตามกฎหมายหรือข้อบังคับ ซึ่งรัฐผู้รับอาจกำหนดไว้แก่ก. สิ่งของสำหรับใช้ในทางการของคณะผู้แทนข. สิ่งของสำหรับใช้ส่วนบุคคลของตัวแทนทางการทูต หรือคนในครอบครัวของตัวแทนทางการทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนครัวเรือนของตัวแทนทางการทูต รวมทั้งสิ่งของที่แสดงเจตนาสำหรับการตั้งถิ่นฐานของตัวแทนทางการทูตด้วย2. หีบห่อส่วนบุคคลของตัวแทนทางการทูต ให้ได้รับยกเว้นจากการตรวจตรา นอกจากมีมูลเหตุอันร้ายแรงที่ทำให้สันนิษฐานได้ว่า หีบห่อส่วนตัวนั้นบรรจุสิ่งของซึ่งไม่อยู่ในข่ายแห่งการยกเว้นที่ได้ระบุไว้ ในวรรค 1 ของข้อนี้ หรือสิ่งของซึ่งการนำเข้าหรือส่งออกนั้นต้องห้ามทางกฎหมาย หรือถูกควบคุมตามข้อบังคับว่าด้วยการกักตรวจโรคของรัฐผู้รับ การตรวจตราเช่นว่านี้ให้กระทำต่อหน้าตัวแทนทางการทูต หรือต่อหน้าผู้แทนที่ได้รับมอบอำนาจของตัวแทนทางการทูตเท่านั้น [การทูต] | Freedom of Communication | เสรีภาพในการติดต่อและสื่อสาร ถือเป็นสิทธิทางกฎหมาย (ไม่ใช่เพียงเอกสิทธิ์เท่านั้น) ที่สำคัญอันหนึ่งของนักการทูตย่อมจะเห็นได้ชัดว่า คณะทูต จะไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างพึงพอใจ นอกจากจะมีอิสระอย่างสมบูรณ์ในการที่จะมีหนังสือหรือวิถีทางอื่นๆ เพื่อติดต่อกับรัฐบาลของตน หรือจะส่งและรับจดหมาย หรือหนังสือต่างๆ โดยเจ้าหน้าที่ถือสารพิเศษ หรือโดยถุงทางการทูต (Diplomatic pouch) สำหรับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ดังนี้?1. ให้รัฐผู้รับอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ในทางการทั้งมวลเพื่อการติดต่อกับรัฐบาล และกับคณะผู้แทนและสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่ง ไม่ว่าตั้งอยู่ ณ ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางที่เหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้ถือสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการ หมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงทางการทูต (Diplomatic Pouch) จะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูต จะต้องมีเครื่องหมายภายนอกที่เห็นได้ชัดเจน สามารถแสดงลักษณะของถุงทางการทูต ซึ่งอาจบรรจุเพียงเอกสารหรือสิ่งของทางการทูตที่เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่า นั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการแสดงสถานภาพของตน และจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับ ในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ ส่วนบุคคลจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักขังในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ ในกรณีที่ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการแสดงจำนวนหีบห่อซึ่ง รวมเป็นถุง แต่ไม่ใช่ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรง และโดยเสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน? [การทูต] | Genocide | การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ หรือฆ่ามนุษย์เป็นกลุ่มก้อน เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ. 1946 สมัชชาสหประชาชาติได้ยืนยันเป็นเอกฉันท์ว่า การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์หรือการฆ่ามนุษย์เป็นกลุ่มก้อนนั้นให้ถือเป็นอาชญากรรม ตามกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งโลกที่บรรลุความเจริญแล้วประณามอย่างรุนแรงอนุสัญญาว่าด้วยการป้องกัน และการลงโทษอาชญากรรมเกี่ยวกับการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์นี้ สมัชชาสหประชาชาติได้ลงมติรับรองเป็นเอกฉันท์เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม ค.ศ. 1948 อนุสัญญานี้ได้นิยามคำว่าการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) หมายถึงการประกอบอาชญากรรมบางอย่าง โดยมีเจตนาที่จะทำลายล้างกลุ่มชนชาติ กลุ่มเผ่าพันธุ์ กลุ่มเชื้อชาติ หรือกลุ่มศาสนา ในบางส่วนหรือทั้งหมดก็ตาม การประกอบกรรมซึ่งถือเป็นการฆ่าล้างชาตินั้นได้แก่ การฆ่า การทำให้เกิดความเสียหายอย่างสาหัส ทั้งต่อร่างกายหรือจิตใจ และการบังคับให้มีสภาวะการครองชีพที่เจตนาจะให้ชีวิตร่ายกายถูกทำลาย ไม่ว่าจะเพียงส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดก็ตาม ตลอดจนออกมาตรการกีดกันมิให้มีลูกและโยกย้ายเด็ก ๆ ไม่เพียงแต่การฆ่าล้างชาติอย่างเดียว หากแต่การคบคิดหรือการยุยงให้มีการฆ่าล้างชาติ รวมทั้งความพยายามที่จะฆ่าล้างชาติและสมรู้ร่วมคิดในอาชญากรรมดังกล่าว ย่อมถูกลงโทษได้ตามนัยแห่งอนุสัญญานี้ บรรดาผู้ที่มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติจะต้องถูกลงโทษไม่ว่าผู้นั้นจะเป็นผู้ ปกครอง เจ้าหน้าที่ฝ่ายบ้านเมือง หรือเอกชนส่วนบุคคลที่มีหน้าที่รับผิดของตามกฎหมายก็ตามบรรดาประเทศที่ภาคี อนุสัญญานี้จำเป็นต้องออกกฎหมายของตนเพื่อรองรับ และจะต้องตกลงเรื่องส่งผู้ร้ายข้ามแดนในกรณีที่บุคคลนั้นๆ มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติ และบุคคลที่มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติจะต้องถูกพิจารณาลงโทษในประเทศที่มีการ ประกอบอาชญากรรมดังกล่าวขึ้น หรือโดยศาลระหว่างประเทศที่มีอำนาจครอบคลุมถึงเจตนารมณ์ของสนธิสัญญานี้ เพื่อต้องการป้องกัน และลงโทษอาชญากรรมฆ่าล้างชาติ ไม่ว่าจะประกอบขึ้นในยามสงครามหรือในยามสงบก็ตามอนุสัญญาดังกล่าวได้เริ่มมี ผลบังคับเมื่อวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1951 เป็นเวลา 90 วันหลังจากที่ 20 ประเทศได้ให้สัตยาบัน หรือให้ภาคยานุวัติตามที่ระบุอยู่ในอนุสัญญา อนุสัญญานี้จะมีผลบังคับเป็นเวลา 10 ปี และมีการต่ออายุสัญญาทุก 5 ปี สำหรับประเทศที่มิได้บอกเลิกสัญญา หากประเทศที่ยังเป็นภาคีอนุสัญญามีจำนวนเหลือไม่ถึง 16 ประเทศ อนุสัญญานี้จะเลิกมีผลบังคับทันที [การทูต] | North Atlanitc Treaty Organization | องค์การนาโต้ หรือองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ ซึ่งได้ลงนามกันเมื่อวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 1949 ประเทศสมาชิกขณะเริ่มตั้งองค์การครั้งแรก ได้แก่ ประเทศเบลเยี่ยม แคนาดา เดนมาร์ก ฝรั่งเศส ไอซ์แลนด์ อิตาลี ลักแซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ ปอร์ตุเกส อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา ต่อมาประเทศกรีซและตรุกีได้เข้าร่วมเป็นภาคีของสนธิสัญญาเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1952 และเยอรมนีตะวันตก ( ในขณะนั้น) เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1955 สนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือเริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม ค.ศ. 1949ในภาคอารัมภบทของสนธิสัญญา ประเทศภาคีได้ยืนยันเจตนาและความปรารถนาของตน ที่จะอยู่ร่วมกันโดยสันติกับประเทศและรัฐบาลทั้งหลาย ที่จะปกป้องคุ้มครองเสรีภาพมรดกร่วม และอารยธรรมของประเทศสมาชิกทั้งมวล ซึ่งต่างยึดมั่นในหลักการของระบอบประชาธิปไตย เสรีภาพส่วนบุคคลหลักนิติธรรม ตลอดจนจะใช้ความพยายามร่วมกันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพื่อป้องกันประเทศ และเพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงในสนธิสัญญาดังกล่าว บทบัญญัติที่สำคัญที่สุดคือข้อ 5 ซึ่งระบุว่า ประเทศภาคีสนธิสัญญาทั้งหลายต่างเห็นพ้องต้องกันว่า หากประเทศภาคีหนึ่งใดหรือมากกว่านั้น ในทวีปยุโรปหรือในอเมริกาเหนือ ถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธ จักถือว่าเป็นการโจมตีต่อประเทศภาคีทั้งหมด ฉะนั้น ประเทศภาคีจึงตกลงกันว่า หากมีการโจมตีด้วยกำลังอาวุธเช่นนั้นเกิดขึ้นจริง ประเทศภาคีแต่ละแห่งซึ่งจะใช้สิทธิในการป้องกันตนโดยลำพังหรือร่วมกัน อันเป็นที่รับรองตามข้อ 51 ของกฎบัตรสหประชาชาติ จะเข้าช่วยเหลือประเทศภาคีแห่งนั้นหรือหลายประเทศซึ่งถูกโจมตีด้วยกำลัง อาวุธในทันทีองค์กรสำคัญที่สุดในองค์การนาโต้เรียกว่า คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศภาคีสนธิสัญญานาโต้ คณะมนตรีนี้จะจัดตั้งองค์กรย่อยอื่น ๆ หลายแห่ง รวมทั้งกองบัญชาการทหารสูงสุดฝ่ายสัมพันธมิตรภาคพื้นยุโรปและภาคพื้น แอตแลนติก สำนักงานใหญ่ขององค์การนาโต้ตั้งอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส [การทูต] | New World Order | ระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง [การทูต] | Pacific Settlement of International Disputes | หมายถึง การระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี คงจะจำกันได้ว่า ในตอนเสร็จสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศในโลกฝ่ายเสรีซึ่งเป็นผู้ชนะ ต่างมีเจตนาอันแน่วแน่ที่จะหาทางมิให้เกิดสงครามขึ้นอีกในโลก จึงตกลงร่วมกันก่อตั้งองค์การสหประชาชาติ (Charter of the United Nations)ดังนั้น ข้อ 2 ของกฎบัตรสหประชาชาติจึงได้กำหนดให้ประเทศสมาชิกมีพันธกรณีที่จะต้องหาทางระ งังกรณีพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี และข้อ 33 ของกฎบัตรก็ได้บัญญัติไว้ว่า ?1. ผู้เป็นคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งในกรณีพิพาทใด ๆ ซึ่งหากดำเนินอยู่ต่อไป น่าจะเป็นอันตรายแก่การธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ ก่อนอื่นจักต้องแสวงหาการแก้ไขโดยการเจรจา ไต่สวน ไกล่เกลี่ย ประนีประนอม อนุญาโตตุลาการ การระงับโดยทางศาล การหันเข้าอาศัยทบวงการตัวแทน การตกลงส่วนภูมิภาค หรือสันติวิธีประการอื่นใดที่คู่กรณีจะพึงเลือก 2. เมื่อเห็นว่าจำเป็น คณะมนตรีความมั่นคงจักเรียกร้องให้คู่พิพาทระงับกรณีพิพาทของตนโดยวิธีเช่น ว่านั้น? [การทูต] | Regional Code of Conduct in The South China Sea | แนวทางปฏิบัติระดับภูมิภาคในทะเลจีนใต้ เพื่อเป็นการแสดงเจตนารมณ์ร่วมกันของประเทศในบริเวณทะเลจีนใต้ที่จะรักษา สันติภาพและเสถียรภาพของภูมิภาค [การทูต] | Work of the United Nations for the Independence of Colonial Peoples | งานขององค์การสหประชาชาติ ในการช่วยให้ชาติอาณานิคมทั้งหลายได้รับความเป็นเอกราช นับตั้งแต่เริ่มตั้งองค์การสหประชาชาติเมื่อปี ค.ศ.1945 เป็นต้นมา มีชนชาติของดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเอง รวมทั้งดินแดนในภาวะทรัสตีตามส่วนต่าง ๆ ของโลก ได้รับความเป็นเอกราชไปแล้วไม่น้อยกว่า 170 ล้านคน ดินแดนที่แต่ก่อนยังไม่มีฐานะปกครองตนเองราว 50 แห่งได้กลายฐานะเป็นรัฐเอกราช มีอธิปไตยไปแล้ว ขณะนี้ยังเหลือดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเองอีกไม่มาก กำลังจะได้รับฐานะเป็นประเทศเอกราชต่อไปแม้ว่าปัจจัยสำคัญที่สุดซึ่งทำให้ เกิดวิวัฒนาการอันมีความสำคคัญทางประวัติศาสตร์ จะได้แก่ความปรารถนาอย่างแรงกล้าของประชาชนในดินแดนเมืองขึ้นทั้งหลาย แต่องค์การสหประชาชาติก็ได้แสดงบทบาทสำคัญในการส่งเสริมและสนับสนุนชนชาติ ที่ยังมิได้เป็นเอกราช และชาติที่ยังปกครองดินแดนเหล่านั้นอยู่ ให้รีบเร่งที่จะให้ชาชาติในดินแดนเหล่านั้นได้รับฐานะเป็นเอกราชโดยเร็วที่ สุดเท่าที่จะเป็นไปได้การที่องค์การสหประชาชาติมีบทบาทหน้าที่ดังกล่าวเพราะ ถือตามหลักแห่งความเชื่อศรัทธาที่ว่า มนุษย์ไม่ว่าชายหรือหญิง และชาติทั้งหลายไม่ว่าใหญ่หรือเล็ก ย่อมมีสิทธิเท่าเทียมกัน และได้ยืนยันความตั้งใจอันแน่วแน่ของประเทศสมาชิกที่จะใช้กลไกระหว่างประเทศ ส่งเสริมให้ชนชาติทั้งหลายในโลกได้ประสบความก้าวหน้าทั้งในทางเศรษฐกิจและ สังคมนอกจากนั้น เพื่อเร่งรัดให้ชนชาติที่ยังอยูใต้การปกครองแบบอาณานิคมได้ก้าวหน้าไปสู่ เอกราช สมัชชาของสหประชาชาติ (General Assembly of the United Nations) ก็ได้ออกปฏิญญา (Declaration) เกี่ยวกับการให้ความเป็นเอกราชแก่ประเทศและชนชาติอาณานิคม เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1960 ซึ่งในปฏิญญานั้น ได้ประกาศยืนยันความจำเป็นที่จะให้ลัทธิอาณานิคมไม่ว่าในรูปใด สิ้นสุดลงโดยเร็วและปราศจากเงื่อนไขใด ๆ สมัชชายังได้ประกาศด้วยว่า การที่บังคับชนชาติอื่นให้ตกอยู่ใต้อำนาจการปกครอง แล้วเรียกร้องประโยชน์จากชนชาติเหล่านั้น ถือว่าเป็นการปฏิเสธไม่ยอมรับสิทธิมนุษยชนขั้นมูลฐาน เป็นการขัดกับกฎบัตรของสหประชาชาติ เป็นอุปสรรคต่อการส่งเสริมสันติภาพและความร่วมมือของโลกสมัชชาสหประชาชาติ ยังได้ประกาศต่อไปว่า จะต้องมีการดำเนินการโดยด่วนที่สุด โดยไม่มีเงื่อนไขหรือข้อสงวนใด ๆ ตามเจตนารมณ์ ซึ่งแสดงออกอย่างเสรี โดยไม่จำกัดความแตกต่างในเรื่องเชื้อชาติ หลักความเชื่อถือ หรือผิว เพื่อให้ดินแดนทั้งหลายที่ยังไม่ได้มีการปกครองของตนเองเหล่านั้นได้รับความ เป็นเอกราชและอิสรภาพโดยสมบูรณ์ในปี ค.ศ. 1961 สมัชชาสหประชาชาติก็ได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อตรวจดูและให้มีการปฏิบัติให้เป็นตามคำปฏิญญาของสหประชาชาติ และถึงสิ้นปี ค.ศ. 1962 คณะกรรมการดังกล่าวได้ประชุมกันหลายต่อหลายครั้งทั้งในและนอกสำนักงานใหญ่ ขององค์การสหประชาชาติ แล้วรวบรวมเรื่องราวหลักฐานจากบรรดาตัวแทนของพรรคการเมืองทั้งหลาย จากดินแดนที่ยังไม่ได้รับการปกครองตนเอง แล้วคณะกรรมการได้ตั้งข้อเสนอแนะต่าง ๆ โดยมุ่งจะเร่งรัดให้การปกครองอาณานิคมสิ้นสุดลงโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ [การทูต] | Work of the United Nations on Human Rights | งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก [การทูต] | World Food Summit | การประชุมสุดยอดอาหารโลก " จัดโดย FAO ที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี ระหว่างวันที่ 13-17 พฤศจิกายน 2539 เป็นการประชุมระดับผู้นำรัฐบาล เพื่อสร้างเจตนารมณ์ด้าน การเมือง และข้อผูกพันระหว่างประเทศให้เกิดความมั่นคงด้านอาหาร และการขจัดปัญหาความหิวโหยสำหรับประชากรโลก " [การทูต] | Abortion, Induced | การทำให้แท้ง, การทำแท้ง, การทำแท้งโดยเจตนา, การแท้งที่เกิดจากการกระทำ, แท้งจากการกระทำ [การแพทย์] | Affective | ท่าทีความรู้สึกนึกคิดและเจตคติ, เจตคติ, ด้านความรู้สึก [การแพทย์] | Affective Domain | เจตคติพิสัย, พฤติกรรมด้านทัศนคติ [การแพทย์] | Attitude | ท่าที, ท่าทรงตัว, ทัศนคติ, เจตนคติ, ท่าทาง, เจตคติ, อากัปกริยา [การแพทย์] | Attitude to Death | ทัศนคติต่อการตาย, เจตคติต่อความตาย [การแพทย์] | Attitude to Health | เจตคติต่อสุขภาพ [การแพทย์] | Characterization | การแสดงออกของเจตคติ [การแพทย์] | Defusion | เจตคติต่อตนเอง [การแพทย์] | scientific attitude | เจตคติทางวิทยาศาสตร์, ลักษณะของการคิดและปฏิบัติแบบนักวิทยาศาสตร์ ได้แก่ ความสนใจที่จะคิดและค้นคว้าทำความเข้าใจในปัญหาต่าง ๆ อยู่เสมอ ความละเอียดถี่ถ้วน มานะบากบั่นในการทำงาน ซื่อสัตย์ในการคิดและปฏิบัติ ไม่เชื่อสิ่งใดอย่างง่าย ๆ โดยไม่มีเหตุผล ใจกว้างยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Melanoma, Superficial Spreading | ไฝมะเร็งชนิดพาเจตอยด์ [การแพทย์] |
| อกุศลเจตนา | [akusonlajēttanā] (n) EN: malice ; sinful intention ; evil intention ; ill intent ; vicious intent | อัลฟาเจต | [Alfā Jēt] (tm) EN: Alpha Jet FR: Alpha Jet [ m ] | โดยเจตนา | [dōi jēttanā] (adv) EN: intentionally ; deliberately FR: exprès ; intentionnellement ; délibérément ; avec préméditation | โดยไม่เจตนา | [dōi mai jēttanā] (adv) EN: unintentionally | โดยไม่มีเจตนา | [dōi mai mī jēttanā] (adv) EN: unintentionally FR: involontairement ; sans intention | เจตจำนง | [jētjamnong] (n) EN: intention ; intent ; purpose ; aim ; object ; will ; wish ; aspiration FR: détermination [ f ] ; volonté [ f ] ; aspiration [ f ] ; intention [ f ] ; volition [ f ] | เจตจำนงเสรี | [jētjamnong sērī] (n, exp) EN: free will FR: libre arbitre [ m ] | เจตนา | [jēttanā] (n) EN: intention ; intent ; purpose ; aim ; object ; motive ; will ; volition ; spirit ; ideal ; objective FR: intention [ f ] ; volonté [ f ] ; détermination [ f ] ; volition [ f ] ; dessein [ m ] ; objet [ m ] ; but [ m ] | เจตนา | [jēttanā] (v) EN: intend ; manifest intention ; mean to | เจตนาดี | [jēttanā dī] (n, exp) EN: good intentions ; goodwill ; honest intention FR: bonnes intentions [ fpl ] | เจตนาร้าย | [jēttanā rāi] (n, exp) EN: evil intentions ; ill-will FR: mauvaises intentions [ fpl ] ; intention malveillante [ f ] | เจตนาร้าย | [jēttanā rāi] (x) EN: with malice ; with evil intent ; malicious | เจตนารมณ์ | [jēttanārom] (n) EN: intention ; intent ; purpose ; aim ; object ; spirit FR: intention [ f ] ; volonté [ f ] ; esprit [ m ] ; idée [ f ] ; objet [ m ] ; but [ m ] ; dessein [ m ] ; projet [ m ] | เจตนารมณ์ | [jēttanārom] (v) EN: intend ; manifest intention | เจตนารมณ์ของกฎหมาย | [jēttanārom khøng kotmāi] (n, exp) EN: spirit of the law FR: esprit de la loi [ m ] | เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญ | [jēttanārom ratthathammanūn] (n, exp) EN: spirit of the constitution FR: esprit de la constitution [ m ] | เจตนาทางอาญา | [jēttanā thāng āyā] (n, exp) EN: criminal intent | เจตนาทุจริต | [jēttanā thutjarit] (n, exp) EN: bad faith | การฆ่าคนโดยเจตนา | [kān khā khon dōi jēttanā] (n, exp) EN: malicious killing | การประกาศเจตจำนง | [kān prakāt jētjamnong] (n, exp) EN: declaration of intent FR: déclaration d'intention [ f ] | การแสดงเจตนา | [kān sadaēng jettanā] (n, exp) EN: declaration of intention ; disclosing one's intention ; intention representation FR: déclaration d'intention [ f ] | ฆ่าคนตายโดยเจตนา | [khā khon tāi dōi jēttanā] (v, exp) FR: assassiner ; tuer avec préméditation | มีเจตนาร้าย | [mī jēttanā rāi] (adj) EN: hateful | แปลเจตนา | [plaē jēttanā] (v, exp) EN: read s.o.'s intentions FR: deviner les intentions de qqn | แสดงเจตนา | [sadaēng jettanā] (v, exp) EN: intent to ; aim at ; stretch out for | แสดงเจตนา | [sadaēng jettanā] (v, exp) EN: disclose one's intention ; show one's hand / cards ; tip one's hand ; declare one's intention FR: déclarer ses intentions ; manifester son intention ; jouer cartes sur table | โทษฐานฆ่าคนตายโดยเจตนา | [thōt thān khā khon tāi dōi jēttanā] (n, exp) EN: conviction for homicid |
| unsharp mask | (name) คือกระบวนการทำภาพถ่ายให้คมชัดขึ้น โดยการนำฟิล์มของภาพ ไปถ่ายสำเนาใส่ฟิล์มอีกแผ่นหนึ่งโดยเจตนาให้ได้ภาพที่เบลอ (unsharp) กว่าเดิม ภาพบนฟิล์มที่ทำสำเนาขึ้นมาใหม่นี้ จะแตกต่างจากภาพบนฟิล์มเดิม ณ บริเวณภาพที่มีรายละเอียด (เนื่องจากถูกทำให้เบลอ) แต่จะเหมือนเดิม ณ บริเวณภาพที่เป็นสีพื้น (ไม่มีรายละเอียด การทำเบลอไม่มีผลต่อภาพ) จากนั้นจึงเอาฟิล์มทั้งสองมาทาบเข้าด้วยกัน ภาพที่ได้เมื่อมองผ่านฟิล์มทั้งสอง บริเวณที่มีรายละเอียดจะถูกเน้นให้เห็นรายละเอียดชัดเจนมากขึ้น คือ ทำให้ภาพดูคมชัดขึ้น |
| accidental | (adj) โดยบังเอิญ, See also: เป็นการบังเอิญ, โดยไม่ได้ตั้งใจ, เป็นเหตุบังเอิญ, โดยไม่ได้คาดคิด, ซึ่งไม่ได้เจตนา, Syn. chance, fortuitous, unintentional | aim | (vi) ตั้งใจ, See also: เจตนา, วางแผน, Syn. propose, strive, endeavor | by choice | (idm) โดยจงใจ, See also: อย่างเจตนา | catty | (adj) ที่มีเจตนาร้าย (คำไม่เป็นทางการ), Syn. malicious, spiteful | carve up | (phrv) เจตนาทำร้าย (คำสแลง), See also: ตั้งใจทำให้บาดเจ็บ, Syn. cut up, slit up | designedly | (adv) โดยตั้งใจ, See also: โดยจงใจ, อย่างเจตนา, Syn. advisedly, voluntarily | fortuitous | (adj) โดยบังเอิญ, See also: ซึ่งไม่เจตนา, Syn. accidental, coincidental, unintentional, Ant. expected, intentional, planned | give away | (phrv) เผย, See also: เล่าความลับ โดยเจตนาและไม่เจตนา | hateful | (adj) ซึ่งมีเจตนาร้าย, See also: ซึ่งมุ่งร้าย, Syn. malevolent, spiteful | method in one's madness | (idm) มีจุดประสงค์ในสิ่งที่ทำ, See also: มีเจตนาในสิ่งที่ทำ | show good faith | (idm) แสดงเจตนาดี | show one's hand | (idm) เปิดเผยเจตนา, See also: แสดงเจตนา | ill feeling | (n) ความไม่เป็นมิตร, See also: การมีเจตนาไม่ดี, ความเป็นปฏิปักษ์, Syn. animosity, resentment | ill-disposed | (adj) ซึ่งไม่เป็นมิตร, See also: ซึ่งมีเจตนาไม่ดี, Syn. hostile, unfriendly, unkind, Ant. friendly, kind | intended | (adj) ี่ซึ่งมีเจตนา, See also: ซึ่งมีจุดมุ่งหมายเพื่อ | intent | (n) เจตนา (คำทางการ), See also: ความตั้งใจ, จุดประสงค์, Syn. aim, intention, purpose | intention | (n) ความตั้งใจ, See also: ความมุ่งหมาย, เจตนา, จุดมุ่งหมาย, เจตจำนง, Syn. aim, objective, purpose | intentionally | (adv) โดยตั้งใจ, See also: อย่างตั้งใจ, อย่างจงใจ, โดยเจตนา, Syn. deliberately, intendedly, voluntarily, Ant. unintentionally | mean by | (phrv) เจตนา, See also: มุ่งหมาย, ตั้งใจด้วย, ทำให้เกิดด้วย | mean well | (phrv) เจตนาดี (แต่มักไม่เป็นไปตามนั้น) | malignancy | (n) การปองร้าย, See also: เจตนาร้าย, การประสงค์ร้าย, ความมุ่งร้าย | mean well | (idm) มีเจตนาดี | mean | (vt) มีเจตนา, See also: ตั้งใจ, มุ่งหมาย, Syn. intend | outguess | (vt) เดาท่าทีหรือเจตนา, Syn. anticipate, predict | overtly | (adv) อย่างไม่ปกปิด, See also: อย่างเปิดเผย, โดยเจตนา, Syn. apparently, clearly | poisonous | (adj) ซึ่งส่อเจตนาร้าย, See also: ซึ่งมุ่งร้าย, ซึ่งคิดปองร้าย, Syn. vicious | poison-pen | (adj) มีเจตนาร้าย, See also: ต้องการทำลายชื่อเสียง มักเป็นข้อเขียนที่ไม่ปรากฏนาม | prepense | (adj) ที่ไตร่ตรองไว้ล่วงหน้า, See also: ที่วางแผนไว้ล่วงหน้า, มีเจตนา, Syn. premeditated | saboteur | (n) ผู้ก่อวินาศกรรม, See also: ผู้บ่อนทำลาย, ผู้ทำลายทรัพย์สินโดยเจตนา, Syn. destroyer, terrorist | spirit | (n) เจตนา, See also: ความมุ่งมั่น, Syn. enthusiasm, will | spite | (n) เจตนาร้าย, See also: ประสงค์ร้าย, Syn. malice, malevolence | spiteful | (adj) มีเจตนาร้าย, See also: อาฆาตพยาบาท, Syn. malicious, vindictive | unwitting | (adj) ไม่ได้ตั้งใจ, See also: ไม่ได้เจตนา, Syn. inadvertent, unintentional, accidental, Ant. intentional | voluntary | (adj) ด้วยความตั้งใจ, See also: โดยเจตนา, Syn. volunteer, willing, Ant. involuntary | volunteer | (n) อาสาสมัคร, See also: ผู้สมัคร, ผู้กระทำโดยใจสมัคร, ทหารอาสาสมัคร, ผู้กระทำโดยเจตนา, พืชตามธรรมชาติ, Ant. conscript | well-intentioned | (adj) ซึ่งเจตนาดี (แต่มักจะก่อให้เกิดผลที่ไม่ค่อยดีตามมา), Syn. well-meaning | well-meaning | (adj) ซึ่งมีเจตนาดี (แต่ผลที่ได้กลับตรงกันข้าม), See also: ซึ่งหวังดี, Syn. well-intentioned | wilful | (adj) ซึ่งจงใจ (ด้วยเจตนาไม่ดีหรือต้องการทำร้ายผู้อื่น), See also: ซึ่งเจตนา, Syn. deliberate, intentional, voluntary, Ant. unintentional, involuntary | willed | (adj) ซึ่งมีความตั้งใจ, See also: ซึ่งมีเจตนา | witting | (adj) ซึ่งมีเจตนา, See also: ซึ่งตั้งใจ, Syn. deliberate, intentional, Ant. unintentional | wittingly | (adv) อย่างเจตนา, Ant. unwittingly |
| animus | (แอน' นิมัส) n. ความเป็นปรปักษ์, ความเกลียด, เจตจำนง, Syn. animosity | attitude | (แอท'ทิทูด) n. ท่าทาง, กิริยาท่าทาง, การวางตัว, ทัศนคติ, ท่าในการบิน, ท่าที, เจตคติ, Syn. manner, mood, behaviour | conscious | (คอน'เชิส) adj. ซึ่งมีจิตสำนึก, มีสติ, มีเจตนา, พิชาน, Syn. sensible, aware | contemplation | (คอนเทมเพล'เชิน) n. การใคร่ครวญ, การไตร่ตรอง, การพิจารณาอย่างระมัดระวัง, เจตนา, ความมุ่งหมาย, การอธิษฐาน, การเข้าญาน, Syn. thought | cue | (คิว) { cued, cuing, cues } n. ผมเปีย, ไม้แทงบิลเลียด, แถวคน, คำแนะนำ, คำบอกบท, สิ่งกระตุ้น, บท, เจตนารมณ์ vt. ถักเป็นผมเปีย, ใช้ไม้แทงบิลเลียดตี, บอกบท, บอกเป็นนัย, สอดแทรก, นำทาง | deliberate | (ดิลิบ'บะเรท) adj. รอบคอบ, สุขุม, ใคร่ครวญ, ระมัดระวัง, โดยเจตนา, See also: deliberateness n., Syn. think | deliberation | (ดิลิบบะเร'เชิน) n. ความสุขุม, ความรอบคอบ, เจตนา, การพิจารณาหารือ, การปรึกษา, ความเชื่องช้า, Syn. thought, Ant. haste | despiteous | (ดิสพิท'เทียส) adj. มุ่งร้าย, มีเจตนาร้าย, Syn. malicious | drift | (ดริฟทฺ) vi., vt., n. (การ) ล่องลอย, เลื่อนลอย, ลอยไปทับกันเป็นกอง, พเนจร, ระเหเร่ร่อน, เบี่ยงเบนจากทิศทางเดิมการพเนจร, สิ่งที่ล่องลอย, ความโน้มน้าว, ความหมาย, เจตนา, , See also: driftingly adv. ดูdrift, Syn. float, mound, wander | enmity | (เอน'มิที) n. ความเป็นปฏิปักษ์, ความเกลียด, ความมีเจตนาเป็นอริ | hostile | (ฮอส'ไทลฺ, ฮอส'เทิล) adj. เป็นปรปักษ์, ต่อต้าน, มีเจตนาร้าย, เป็นศัตรู, ไม่เป็นมิตร, ไม่รับแขก, See also: hostility adv., Syn. contrary, antagonistic | hostility | (ฮอลทิล'ลิที) n. ความเป็นปรปักษ์, การมีเจตนาร้าย, การเป็นศัตรู, การไม่เป็นมิตร., See also: hostilities n. สงคราม, การทำสงคราม, Syn. enmity, animosity | ill will | ความมุ่งร้าย, เจตนาร้าย, ความเป็นปฏิปักษ์, Syn. animosity | ill-feeling | (อิลฟิล'ลิง) adj. มุ่งร้าย, มีเจตนาไม่ดี, มีใจเป็นปฏิปักษ์, Syn. ugly | ill-natured | (อิล'เน'เชอร์ดฺ) adj. มีอารมณ์ไม่ดี, มีเจตนาร้าย, ขุ่นหมอง., See also: ill-naturedly adv. | inimical | (อินิม'มิเคิล) adj. ไม่เป็นมิตร, เป็นปฏิปักษ์, มีเจตนาร้าย, เป็นอันตราย., See also: inimically adv. inimicalness. inimicality n., Syn. inimicable, hostile, Ant. friendly | intend | (อินเทนดฺ') vt., vi. ตั้งใจ, ปรารถนา, มีเจตนา, มุ่งหมาย, มีความหมาย., See also: intender n., Syn. propose | intended | (อินเทน'ดิด) adj. ซึ่งมีเจตนา, ตั้งใจว่า, มุ่งหมายไว้, หมั้นหมาย. n. คู่หมั้น. | intent | (อินเทนทฺ') n. เจตนา, ความตั้งใจ, ความมุ่งหมาย, จุดประสงค์, ความหมาย, ความสำคัญ. adj. ยึดมั่น, แน่วแน่, มุ่งหมายไว้, ตั้งใจไว้., See also: intently adv. intentness n., Syn. intention | intention | (อินเทน'เชิน) n. เจตนา, ความตั้งใจ, เป้าหมาย, See also: intentional adj. ซึ่งมีเจตนาเกี่ยวกับความตั้งใจ ความมุ่งหมาย, เป้าหมาย | malefic | (มะเลฟ'ฟิค) adj. ชั่วร้าย, มีเจตนาร้าย, มีผลร้าย | malign | (มะไลนฺ') vt. กล่าวร้าย, กล่าวหา, ใส่ร้าย, ทำให้เสียชื่อเสียง. adj. มีผลร้าย, ร้าย, มีเจตนาร้าย, เป็นภัย., See also: maligner n. malignly adv., Syn. defame, slander | malignant | (มะลิก'เนินทฺ) adj. ร้าย, มีภัย, มีเจตนาร้าย, อันตรายมาก, ถึงตาย, มักทำให้ตายได้., See also: malignantly adv., Syn. spiteful, vile | mean | (มีน) vt. มุ่งหมาย, มีเจตนา, ตั้งใจ, หมายถึง, ทำให้เกิดขึ้น, นำมาซึ่ง, มีความหมายต่อ, มีความสำคัญต่อ. vi. ตั้งใจ, มุ่งหมาย adj. ต่ำต้อย, ชั้นต่ำ, ไม่สำคัญ, ถ่อย, สกปรก, เลว, ใจแคบ, ขี้เหนียว, เห็นแก่ตัว, สร้างความเดือดร้อน, ร้าย, เชี่ยวชาญ, ประทับใจ, ระหว่างกลาง, โดยเฉลี่ย n. ค่าเฉลี่ย | oblige | (อะไบลจฺ) { obliged, obliging, obliges } vt. บังคับ, บีบบังคับ, เกณฑ์, ขอให้ทำ, ผูกมัด, ทำบุญคุณให้, กรุณา, ทำให้เป็นหนี้, vi. ช่วยเหลือ, กระทำเพื่อแสดงเจตนาที่ดี., See also: obligedly adv. obligedness n. obliger n., Syn. gratif | plumbago | (พลัมเบ'โก) n. ตะกั่วดำ, =graphite (ดู) , ต้นเจตมูลเพลิง | prepense | (พรีเพนซฺ') adj. ไตร่ตรองไว้ล่วงหน้า, วางแผนไว้ล่วงหน้า, มีเจตนา | providential | (พรอฟวิเดน'เชิล) adj. เกี่ยวกับหรือมาจากพระผู้เป็นเจ้า, เป็นเจตจำนงของพระผู้เป็นเจ้า, Syn. opportune | purpose | (เพอ'เพิส) n. วัตถุประสงค์, ความมุ่งประสงค์, เป้าหมาย, ความมุ่งหมาย, ผล, ผลประ-โยชน์, เจตนา, vt. มุ่งประสงค์, ประสงค์, ตั้งเป้าหมาย, มีเจตนา, ตั้งใจเด็ดเดี่ยว. vi. มุ่งประสงค์., See also: purposeful adj. purposely adj., Syn. inte | reflex | (รี'เฟลคซฺ) n., adj. ปฏิกิริยาโต้ตอบที่ไม่เจตนาต่อสิ่งกระตุ้น, การสะท้อนกลับ, ภาพสะท้อน, สิ่งที่สะท้อนกลับ vt. (รีเฟลคซฺ) ทำให้สะท้อนกลับ, หันกลับ, หมุนกลับ, พับกลับ, See also: reflexly adv., Syn. reponse | sabotage | (แซบ'บะทาจฺ) vt., n. (การ) ก่อวินาศกรรม, ทำลาย, ทำลายโดยเจตนาก่อกวน., Syn. disable | saboteur | (แซบบะเทอ') n. ผู้ก่อวินาศกรรม, ผู้ทำลายโดยเจตนาก่อกวน | spirit | (สพิ'ริท) n. จิตใจ, วิญญาณ, ใจ, ญาณ, เจตนา, หัวใจ, ความในใจ, อารมณ์, ความเด็ดเดี่ยว, ความมุ่งมั่น, ความองอาจ, ภูติผีปีศาจ, หัวน้ำหอม, ของเหลวระเหยที่ได้จากการกลั่น, สารละลายแอลกอฮอล์, แอลกอฮอล์ vt. เร้าใจ, ปลุกใจ, กระตุ้น, ให้กำลังใจ, ลักพาไปอย่างลึกลับ adj. เกี่ยวกับของเหลวระเหยที่ได้จากการกลั่น, เกี่ยวกับสารละลายแอลกอฮอลล์ | spite | (สไพทฺ) n. เจตนาร้าย, ความมุ่งร้าย, ความโกรธเคือง, ความอาฆาตแค้น vt. กระทำด้วยเจตนาร้าย กลั่นแกล้ง ทำให้โกรธ รบกวน, -Phr. (in spite of ไม่ว่าอย่างไรก็ตาม แม้ว่า ทั้ง ๆ ที่เป็น โดยไม่คำนึงถึงอะไรทั้งสิ้น) | spiteful | adj. มีเจตนาร้าย, มุ่งร้าย, อาฆาตแค้น. | view | (วิว) n. ภาพ, ทิวทัศน์, ทัศนวิสัย, ทรรศนะ, สายตา, การมอง, การสังเกต, ข้อคิดเห็น, ทัศนคติ, จุดประสงค์, เจตนา, จุดมุ่งหมาย, การสำรวจทั่วไป, -Phr. (in view ภายในแนวสายตา ภายใต้การพิจารณา) -Phr. (in view of เมื่อพิจารณาถึงในเรื่องเกี่ยวกับ) vt. ดู, มอง, สังเกต, สำรวจ, ตรวจสอบ | vindicative | (วินดิค'คะทิฟว) adj. แก้แค้น, แก้เผ็ด, แค้น, อาฆาต, พยาบาท, มีเจตนาร้าย, เป็นการทำโทษ., See also: vindicativeness n. | voluntary | (วอล'เลินทะรี) adj. สมัครใจ, ตั้งใจ, โดยเจตนา, โดยอาสาสมัคร, อิสระ, มีอิสระในการเลือก, เกิดขึ้นเอง, โดยธรรมชาติ. n. กิจกรรมอาสาสมัคร, ดนตรีโหมโรง., See also: voluntarily adv. voluntaryism n. voluntaryist n., Syn. optional, f | well-disposed | (เวล'ดิสโพซดฺ) adj. เห็นอกเห็นใจผู้อื่น, หวังดี, มีเจตนาดี, มีอารมณ์ดี, มีนิสัยดี | well-intentioned | (เวล'อินเทน'เชินดฺ) adj. มีความหมายดี, เจตนาดี, หวังดี, Syn. wellmeaning | well-meaning | (เวล'มี'นิง) adj. มีความหมายดี, มีเจตนาดี, หวังด' | white | (ไวทฺ) adj. ขาว, หงอก, ขาวบริสุทธิ์, สีเผือก, ผิวขาว, สีเงิน, ขาวหิมะ, มีหิมะ, ไร้สี, โปร่งใส, ว่างเปล่า, สวมเสื้อขาว, โชคดี, ไม่ได้เขียนอะไร, สะอาด, มีเจตนาดี, ซื่อตรง, ยุติธรรม, ไร้เดียงสา, (กาแฟ) ใส่นมหรือครีม n. สีขาว, ความขาว, ผิวขาว, สิ่งที่มีสีขาว, ไข่ขาว, แอลบิวเมน | wicked | (วิค'คิด) adj. โหดร้าย, ชั่วช้า, เลวทราม, มีเจตนาร้าย, คุกคาม, น่ารังเกียจ, ไร้เหตุผล, ชั้นหนึ่ง, ยอดเยี่ยม, See also: wickedly adv. | wilful | (วิล'ฟูล) adj. จงใจ, มีเจตนา, โดยสมัครใจ, ดื้อรั้น, หัวแข็ง, See also: willfulness n., Syn. willful. | willed | (วิลดฺ) adj. มีความตั้งใจ, มีเจตนา | willful | (วิล'ฟูล) adj. สมัครใจ, มีเจตนา, ตั้งใจ, ดื้อรั้น, หัวแข็ง, See also: willfulness n., Syn. willful. | willing | (วิล'ลิง) adj. เต็มใจ, ตั้งใจ, มีเจตนา, สมัครใจ, ยินดี, See also: willingly adv. willingness n., Syn. obliging, agreeable | willless | (วิล'ลิส) adj. ไม่มีตั้งใจ, ไม่เจตนา, ไม่ตกลงใจ., See also: willlessness n. | witting | (วิท'ทิง) adj. รู้, รู้ดี, รู้ตัว, ตระหนัก, มีเจตนา n. ความรู้, See also: wittingly adv. | wraith | (เรธ) n. เจตภูต, ภูติผีปีศาจ, ภาพลวงตา, See also: wraithlike adj., Syn. specter, ghost |
| deliberate | (adj) โดยเจตนา, โดยจงใจ, โดยตั้งใจ, รอบคอบ, สุขุม | deliberately | (adv) อย่างมีเจตนา, อย่างจงใจ, อย่างตั้งใจ | deliberation | (n) การตรึกตรอง, การปรึกษาหารือ, การใคร่ครวญ, เจตนา, ความสุขุมรอบคอบ | design | (vt) ออกแบบ, คิด, กำหนด, เตรียมแผนการ, มุ่งหมาย, เจตนา | designedly | (adv) โดยวางแผนไว้แล้ว, โดยเจตนา, โดยระบุไว้แล้ว | expressly | (adv) อย่างด่วน, โดยเจตนา, โดยแจ่มแจ้ง, เป็นพิเศษ, อย่างชัดแจ้ง | fortuitous | (adj) โดยบังเอิญ, โดยไม่เจตนา, โชคดี | ILL-ill-natured | (adj) มีอารมณ์ไม่ดี, ขุ่นข้องหมองใจ, มีเจตนาร้าย | intend | (vi, vt) ตั้งใจ, มุ่งหมาย, เจตนา, ปรารถนา | intent | (vt) ตั้งใจ, เจตนา, มุ่งมั่น, จดจ่อ, ขะมักเขม้น | intention | (n) ความตั้งใจ, เจตนา, ความมุ่งหมาย | intentional | (adj) โดยเจตนา, โดยจงใจ, ซึ่งตั้งใจ | meaning | (adj) มีความหมาย, ตั้งใจ, มุ่งหมาย, มีเจตนา | motive | (n) สาเหตุ, ใจความสำคัญ, เหตุผล, แรงดลใจ, เป้าหมาย, เจตนา | purpose | (n) จุดประสงค์, ความประสงค์, เจตนา, ผลประโยชน์, เป้าหมาย | purposely | (adv) โดยเจตนา, โดยมีจุดมุ่งหมาย, โดยมีเป้าหมาย | spiteful | (adj) มุ่งร้าย, อาฆาตแค้น, มีเจตนาร้าย | studied | (adj) รอบคอบ, โดยเจตนา, ระมัดระวัง, มีการศึกษา | unwittingly | (adv) โดยไม่รู้, โดยไม่เจตนา | view | (vt) มองดู, สังเกต, พิจารณา, ตรวจดู, เจตนา | vindictive | (adj) พยาบาท, แก้แค้น, อาฆาต, มีเจตนาร้าย | voluntary | (adj) สมัครใจ, โดยเจตนา, จงใจ, เกิดขึ้นเอง | wilful | (adj) เอาแต่ใจตนเอง, ดื้อรั้น, จงใจ, โดยเจตนา | wittingly | (adv) โดยเจตนา, ทั้งรู้ๆ, อย่างรู้ตัว | wraith | (n) ปีศาจ, ภูตผี, วิญญาณ, เจตภูต, ภาพลวงตา |
| declared | (adj) ที่แสดงเจตนารมย์ | euthanize | (vt) การุณยฆาต หรือ ปรานีฆาต การทำให้บุคคลหรือสัตว์เสียชีวิตอย่างสงบโดยเจตนา | intentionality | (n) ความตั้งใจ, เจตนา | synlynn | [ซินลินน์] ผู้ที่มีความมุ่งมั่น, ผู้มีเจตจำนงค์, ผู้ไม่ย่อท้อ |
| 志向 | [しこう, shikou] ตั้งใจ เจตนา จงใจ |
| 悪気 | [わるぎ, warugi] TH: เจตนาร้าย EN: ill-will | 本意 | [ほんい, hon'i] TH: เจตนาที่แท้จริง EN: one's real intent |
| | *nblick { m }; Ansicht { f }; Sicht { f }; Blick { m }; Aus* | n. ภาพ, ทิวทัศน์, ทัศนวิสัย, ทรรศนะ, สายตา, การมอง, การสังเกต, ข้อคิดเห็น, ทัศนคติ, จุดประสงค์, เจตนา, จุดมุ่งหมาย, การสำรวจทั่วไป, -Phr. (in view ภายในแนวสายตา ภายใต้การพิจารณา) -Phr. (in view of เมื่อพิจารณาถึงในเรื่องเกี่ยวกับ) vt. ดู, มอง, สังเกต, สำรวจ, ตรวจสอบ |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |