ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: บารมี, -บารมี- |
ฌาณ | (n) ฌาณ หรือ อธิจิต(supraconscious) เป็นจิตที่เป็นที่สุดของปัญญา คือความรู้ชัดธรรมชาติของมนุษย์ว่านี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา(คือความรู้มรรค 8 การคิดปฏิบัติเพื่อดับทุกข์) เป็นจิตที่อยู่เหนือและสามารถ ควบคุมหรือข่ม ได้ทั้งจิตสำนึก(consious) และจิตใต้สำนึก(subconsious) ซึ่งเป็นความรู้ที่สูดของวิญญาณคือความรู้แจ้งของธรรมชาติของมนุษย์ว่า นี้สุข นี้ทุกข์ นี้มิใช่ทุกข์ มิใช่สุข อธิจิตใช้สำหรับดับกิเลส ซึ่งสามารถทำให้เกิดนิมิตขึ้นมาได้ เพื่อดับกิเลสในเวลาที่เกิดกิเลสขึ้น พระผู้มีพระภาค(พระพุทธเจ้า)ได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ไว้ในพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์๑๐. วิตักกสัณฐานสูตรว่าด้วย อาการแห่งวิตก การเรียกอธิจิตของตนเอง ถ้าไม่มีพรสวรรค์หรือบารมีที่สะสมมาแต่ปางก่อน จะเรียกไม่ได้ เพราะจิตยังไม่มั่นคงพอ จะต้องเรียนรู้และทำความเพียรที่ทนได้ยาก ฝึกฝน จนเกิดความชำนาญ ซึ่งข้าพเจ้ามีความสามารถที่จะให้คนทั่วไปเรียกอธิจิตของตนเองได้ เช่นให้ผู้ป่วยเรียกอธิจิตของเขาออกมารักษาโรคภัยไข้เจ็บทั้งทางกายและใจของเขาที่เป็นอยู่ โดยสั่งให้จิตของเขาตกอยู่ในภาวะภวังค์ ด้วยการสั่งระงับจิตหยาบที่ทำให้เขาเกิดโรคทั้งทางกายและทางใจ เพื่อเขาจะได้มีจิตที่มั่นคงถึงอธิจิตแล้วสั่งยาหรือภูมิต้านทานในตัวของเขาออกมารักษาโรค ซึ่งได้ผลดีกว่าแพทย์แผนปัจจุบัน และแพทย์ทางเลือกวิธีอื่น นี่คือประโยชน์จากการเรียกหรือฝึกเรียกอธิจิตของตนเอง ซึ่งพระพุทธเจ้าสามารถเรียก Stem cell ในพระวรกายของพระองค์ออกมารักษาโรคได้นานมาแล้วหรือมากกว่า 2554 ปี ส่วนนักวิทยาศาสตร์พึ่งจะมาค้นพบวิธีใช้ Stem cell รักษาบางโรคเมื่อ 50 ปีมานี้เอง การรักษายังมีข้อบ่กพร่องและเงื่อนไขในการรักษาเพื่อจะได้ผลลัพท์จนเป็นที่น่าพอใจของแพทย์อยู่อีกมาก แต่วิธีของพระพุทธองค์ไม่มีเงื่อนไข ถ้าคนป่วยสามารถเรียกอธิจิตของตนเองได้ ข้าพเจ้าได้ใช้อธิจิตรักษา โรคปวดตามอวัยวะและโรคหวัดป่วยของข้าพเจ้าเอง และรักษาโรคปวดและอัมพาลให้กับคนป่วยแล้วหลายราย ซึ่งได้รับผลเป็นที่น่าพอใจของข้าพเจ้าและของคนป่วย |
| |
| บารมี | (n) popularity, See also: merit, virtue, Example: การได้มีโอกาสสร้างบุญกุศล สร้างบารมีนั้นเป็นสิ่งที่ประเสริฐยิ่ง, Thai Definition: คุณความดีที่ได้บำเพ็ญมา, คุณสมบัติที่ทำให้ยิ่งใหญ่ | บารมี | (n) ten virtues, Syn. ทศบารมี, Thai Definition: คุณความดีที่ควรบำเพ็ญมี 10 อย่าง คือ ทาน ศีล เนกขัมมะ (การออกจากกาม คือ บวช) ปัญญา วิริยะ ขันติ สัจจะ อธิฏาน เมตตา อุเบกขา | บารมี | (n) prestige, See also: influence, grandeur, Syn. อำนาจ, อานุภาพ, เดชฤทธิ์, อิทธิพล, Example: ทุกวันนี้แม้เขาจะลดบทบาทไปมาก แต่บารมีและความยอมรับในความเป็นสุภาพบุรุษยังมีอยู่, Thai Definition: อำนาจวาสนา, ความเป็นใหญ่ | คู่บารมี | (adj) majestic, See also: august, grand, Example: ช้างเผือกคู่บารมีของในหลวงมีหลายเชือก | ทานบารมี | (n) height of liberality, See also: height of generosity, Syn. ทาน, การให้ทาน, Example: ผู้ที่มีทานบารมีมาก ย่อมมีพวกพ้องมากเป็นธรรมดา, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | บุญบารมี | (n) charisma, Example: การสร้างความดีแบบพระภิกษุองคุลีมาน นับว่าเป็นการสั่งสมบุญบารมีเพื่อชาติภพต่อไป, Thai Definition: คุณงามความดีซึ่งได้บำเพ็ญมาทำให้ยิ่งใหญ่ | บำเพ็ญบารมี | (v) perform meritorious acts, Example: พระพุทธเจ้าได้ทรงบำเพ็ญบารมีทั้งสิ้นมาแล้วในชาติต่างๆ สิบชาติ, Thai Definition: ทำบารมีให้เต็มที่หรือให้เพิ่มพูนขึ้น |
| คู่บารมี | น. ผู้ที่เคยร่วมสร้างบุญบารมีกันมาก่อนและมาสนับสนุนเกื้อกูลกันในปัจจุบัน, สิ่งประดับบารมี. | คู่บุญบารมี | น. ผู้ที่เคยร่วมสร้างบุญกุศลกันมาในชาติก่อนและมาสนับสนุนเกื้อกูลกันในปัจจุบัน เช่น พระนางมัทรีเป็นคู่บุญบารมีของพระเวสสันดร. | ทานบารมี | (ทานนะ-) น. คุณความดีที่ควรบำเพ็ญ คือ ทาน. | บ่มบารมี | ก. บำเพ็ญบารมีให้สมบูรณ์, สั่งสมอบรมบารมีให้สมบูรณ์. | บารมี | (-ระมี) น. คุณความดีที่ควรบำเพ็ญมี ๑๐ อย่าง คือ ทาน ศีล เนกขัมมะ (การออกจากกาม คือ บวช) ปัญญา วิริยะ ขันติ สัจจะ อธิฏฐาน เมตตา อุเบกขา เรียกว่า ทศบารมี | บารมี | คุณความดีที่ได้บำเพ็ญมา, คุณสมบัติที่ทำให้ยิ่งใหญ่, เช่นว่า ชมพระบารมี พระบารมีปกเกล้าฯ พ่ายแพ้แก่บารมี. | หมดวาสนาบารมี | ก. หมดอำนาจ. | หมดอำนาจ, หมดวาสนาบารมี | ก. สิ้นอำนาจวาสนา, หมดบุญ ก็ว่า. | กฤดาธิการ | (กฺริดาทิกาน) น. บารมีอันยิ่งใหญ่ที่ทำไว้. | กฤดาธิการ | (กฺริดาทิกาน) ว. มีบารมีอันยิ่งใหญ่ที่ทำไว้. (ส.; ป. กตาธิการ), ในบทกลอนใช้เป็น กฤดา หรือ กฤดาการ ก็มี. | กฤดา, กฤดาการ | (กฺริดา, กฺริดากาน) น. บารมีอันยิ่งที่ทำไว้ (กร่อนมาจาก กฤดาธิการ) เช่น ทรงพระกฤดาเดชานุภาพยิ่งทวีขึ้น (พงศ. อยุธยา), ผู้ใดมีบุญญากฤดาการ (เสภาสุนทรภู่). | กำไร | ว. ยิ่ง, เกิน, เช่น ทรงบำเพ็ญบารมีสี่อสงไขยกำไรแสนมหากัป. | จริยาปิฎก | น. ชื่อคัมภีร์ที่ว่าด้วยการบำเพ็ญบารมีของพระพุทธเจ้าในชาติที่ล่วงแล้ว รวมอยู่ในขุทกนิกายแห่งสุตตันตปิฎก. | ทัศ ๒ | ว. ครบ, ถ้วน, เช่น บารมี ๓๐ ทัศ. | บ่ม | โดยปริยายหมายความว่า สั่งสมอบรมให้สมบูรณ์ ในคำว่า บ่มบารมี บ่มนิสัย. | บรมัตถ์ | ชื่อพระอภิธรรมปิฎก เรียกว่า บรมัตถ์, และยังใช้นำหน้าศัพท์ เช่น บรมัตถ-บารมี บรมัตถประโยชน์. | บำเพ็ญ | ก. ทำให้เต็มบริบูรณ์, เพิ่มพูน, (มักใช้ในเรื่องเกี่ยวกับศาสนา) เช่น บำเพ็ญบุญ บำเพ็ญบารมี | ใบบุญ | น. อำนาจหรือบุญบารมีของผู้อื่นที่ช่วยปกป้องคุ้มครอง เช่น พึ่งใบบุญผู้ใหญ่. | ประดับ | ก. ตกแต่งให้งามด้วยสิ่งต่าง ๆ มีสร้อย แหวน เป็นต้น เช่น ประดับเหรียญตรา ประดับอาคารสถานที่ ประดับโคมไฟ, โดยปริยายหมายความว่า ประกอบ, เพิ่ม, เช่น ประดับบารมี. | ปารมี | (ปาระ-) น. บารมี. | ปารเมศ | น. บารมี. | ไปยาล | น. เครื่องหมายละคำ รูปดังนี้ ฯ เรียกว่า ไปยาลน้อย สำหรับละคำที่ประกอบคำหน้า เช่น กรุงเทพฯ โปรดเกล้าฯ, รูปดังนี้ ฯลฯ หรือ ฯเปฯ เรียกว่า ไปยาลใหญ่ สำหรับละข้อความข้างท้าย เช่น ในป่ามีช้าง เสือ ลิง ค่าง ฯลฯ อ่านว่า “ละ”, หรือละข้อความในระหว่าง เช่น เพลงสรรเสริญพระบารมีว่า ข้าวรพุทธเจ้า ฯลฯ ดุจถวายชัย ชโย อ่านว่า “ละถึง”, เปยยาล ก็เรียก. | พึ่ง ๑ | ก. อาศัย เช่น พึ่งบารมีคนอื่น, พักพิง เช่น ไปพึ่งเขาอยู่, ขอความช่วยเหลือ เช่น หนีร้อนมาพึ่งเย็น. | เพิ่มพูน | ก. เติมให้มากยิ่งขึ้น, เสริมให้มากยิ่งขึ้น, เช่น เพิ่มพูนศรัทธา เพิ่มพูนบารมี. | โพธิสมภาร | น. บุญบารมีของพระมหากษัตริย์. | ไม้ร่มนกจับ | น. ผู้มีวาสนาย่อมมีคนมาพึ่งบารมี. | ไม้ล้มเงาหาย | น. คนที่เคยมีวาสนาเมื่อตกตํ่าลงผู้ที่มาพึ่งบารมีก็หายหน้าไป. | วาสนา | (วาดสะหฺนา) น. บุญบารมี, กุศลที่ทำให้ได้รับลาภยศ, เช่น เด็กคนนี้มีวาสนาดี เกิดในกองเงินกองทอง, มักใช้เข้าคู่กับคำ บุญ หรือ บารมี เป็น บุญวาสนา หรือ วาสนาบารมี เช่น เป็นบุญวาสนาของเขา เขาเป็นคนมีวาสนาบารมีมาก. | สั่งสม | ก. สะสม, รวบรวมให้เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ, เช่น พระโพธิสัตว์สั่งสมบารมี. | เสี่ยง ๔ | ก. ตั้งจิตอธิษฐานใช้สิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นเครื่องเสี่ยงเพื่อทราบความเป็นไปในอนาคตของตนหรือผู้อื่น, ถ้าใช้เทียนเสี่ยง เรียกว่า เสี่ยงเทียน, ถ้าใช้ดอกบัวเสี่ยง เรียกว่า เสี่ยงดอกบัว, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เสี่ยงบุญ เสี่ยงบารมี เสี่ยงโชค เสี่ยงวาสนา. | หมดบุญ | ก. สิ้นอำนาจวาสนา, หมดอำนาจ หรือ หมดวาสนาบารมี ก็ว่า | อภินิหาร | น. อำนาจแห่งบารมี, อำนาจบุญที่สร้างสมไว้, อำนาจเหนือปรกติธรรมดา. |
| | | บารมี | [bāramī] (n) EN: prestige ; influence ; high reputation ; august presence ; augustness ; grandeur ; popularity ; personal power ; merit ; virtue ; charisma FR: prestige [ m ] ; influence [ f ] | เพลงสรรเสริญพระบารมี | [Phlēng Sansoēn Phra Bāramī] (n, prop) EN: Royal anthem (of Thailand) | ประดับบารมี | [pradap bāramī] (v, exp) EN: enhance one's status ; embellish one's status | ทานบารมี | [thānnabāramī] (n) EN: height of liberality ; height of generosity |
| | anthem | (แอน' เธม) n. เพลงสดุดี, เพลงสวด, เพลงชาติ, เพลงสรรเสริญพระบารมี, เพลงสรรเสริญที่ร้องโดยคนหลายคน. -vt. สดุดีด้วยเพลงดังกล่าว, Syn. hymn, song, psalm, chant | blessing | (เบลส'ซิง) n. การให้พร, การทำให้ศักดิ์สิทธิ์, ผลประโยชน์, ความกรุณา, ของขวัญ, สิ่งทำให้โชคดีหรือมีความสุข, การสรรเสริญบารมี, การบูชา, การเห็นด้วย, Syn. grace, benediction | cathedral | (คะธี'ดรัล) n. โบสถ์ใหญ่ adj. เกี่ยวกับโบสถ์ใหญ่, เกียรติคุณ, บารมี, เป็นทางการ | halo | (เฮ'โล) n. รัศมี, ทรงกลด, บารมี, บุญวาสนา, ความรุ่งโรจน์, วงแหวนรอบหัวนม. vt. ล้อมรอบด้วยทรงกลด. vi. กลายเป็นทรงกลด, Syn. nimbus | prestige | (เพรสทิจฺ') n. ชื่อเสียง, เกียรติคุณ, เกียรติศักดิ์, เกียรติภูมิ, ศักดิ์ศรี, บารมี adj. มีชื่อเสียง, Syn. reputation, weight |
| glory | (n) ชื่อเสียง, บารมี, ความสว่างจ้า, รัศมี, ความรุ่งโรจน์, ความรุ่งเรือง | halo | (n) แสงเป็นวงกลม, รัศมี, บารมี, บุญบารมี, วาสนา | influence | (n) อิทธิพล, บารมี, อำนาจ, การโน้มน้าว | prestige | (n) ชื่อเสียง, อิทธิพล, ศักดิ์ศรี, บารมี, รัศมี, เกียรติยศ |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |