ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ทำนอง, -ทำนอง- |
เซราะกราว | (adj, slang) บ้านนอก, ชนบท, การเป็นคนบ้านนอก (ใช้โดย โน้ตอุดม แต้พานิช ในการแสดงเดี่ยว ไมโครโฟน ในลักษณะเสียดสีทำนองเย้ยหยันว่ามาจากชนบท หรือ บ้านนอก เข้าใจว่าแผลงมาจากภาษาเขมร) |
| ทำนอง | (n) rhythm, See also: cadence, Syn. จังหวะ, เสียงเพลง, จังหวะเพลง, ลีลา, ท่วงทำนอง, ลำนำ, Example: ระยะแรกที่เขาเริ่มเรียนร้องเพลง เขาร้องไม่ถูกทำนองเลย, Count Unit: ทำนอง, Thai Definition: ระเบียบของการร้อง | ทำนอง | (n) way, See also: style, manner, Syn. แบบ, แบบอย่าง, ทาง, Example: เรื่องทำนองนี้เคยเกิดขึ้นเมื่อ 10 ปีที่แล้ว | ทำนองเพลง | (n) melody, See also: tune, Syn. ท่วงทำนอง, จังหวะดนตรี, ทำนอง, Example: เขาเป็นผู้แต่งทำนองเพลงให้กับค่ายเพลงแห่งหนึ่ง, Count Unit: ทำนอง, Thai Definition: เสียงสูงต่ำของเพลง | ท่วงทำนอง | (n) tune, See also: tone, harmony, melody, Syn. ทำนอง, จังหวะดนตรี, ทำนองเพลง, จังหวะเพลง, Example: เพลงนี้มีท่วงทำนองไพเราะจับใจ, Thai Definition: ลีลาที่เป็นไปตามจังหวะหรือทำนอง | เข้าทำนอง | (v) be like, See also: be similar to, resemble, Example: พ่อแม่มีทัศนะทางการเมืองอย่างไรลูกก็มักเป็นเช่นนั้นเข้าทำนองลูกไม้หล่นไม่ไกลต้น | ทำนองเสนาะ | (n) rhythm of prose, Example: นักเรียนของเราได้รับรางวัลชนะเลิศการแข่งขันอ่าน ทำนองเสนาะ ระดับเทศบาล ปีการศึกษา 2543, Thai Definition: วิธิการอ่านออกเสียงอย่างไพเราะตามลีลาของบทร้อยกรองประเภทโคลงฉันทน์ กาพย์ กลอน | ทำนองเสียง | (n) tune, See also: melody, tone, rhythm, Example: ทำนองเสียงของเขาขึ้นสูงจนฉันฟังไม่รู้เรื่อง, Thai Definition: ระเบียบเสียงสูงต่ำซึ่งมีจังหวะสั้นยาว | ทำนองคลองธรรม | (n) ethics, See also: moral, righteousness, path of justice, moral behavior, Syn. แบบ, แบบอย่าง, ทาง, Example: คนที่ประพฤติผิดทำนองคลองธรรม จะได้รับการติเตียน | ทำนองเดียวกับ | (conj) likewise, See also: in the same way as, in the same manner as, Syn. เช่นเดียวกับ, Example: แม่บอกว่าตัวฉันขาวขึ้นทำนองเดียวกับเพื่อนบ้านบางคนที่ทักทายฉันในทำนองนี้ | ในทำนองเดียวกับ | (adv) in the same way, See also: like, as, Syn. ในทำนองเดียวกันกับ, Example: เขาดำเนินชีวิตในทำนองเดียวกับคุณพ่อของเขาไม่มีผิดเพี้ยน |
|
| ท่วงทำนอง | น. ลีลาที่เป็นไปตามจังหวะหรือทำนอง. | ทำนอง | น. ทาง, แบบ, แบบอย่าง, เช่น ทำนองคลองธรรม ทำนองเดียวกัน | ทำนอง | กลุ่มเสียงสูงต่ำที่จัดให้ดำเนินไปอย่างเป็นระเบียบ มีจังหวะสั้นยาว เช่น ทำนองสวด ทำนองเพลง ทำนองเทศน์. | ทำนองเก็บ | ดู เก็บ ๒. | ทำนองเสนาะ | น. วิธีการอ่านออกเสียงอย่างไพเราะตามลีลาของบทร้อยกรองประเภทโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน. | กงเกวียนกำเกวียน | ใช้เป็นคำอุปมาหมายความว่า เวรสนองเวร, กรรมสนองกรรม, เช่น ทำแก่เขาอย่างไร ตนหรือลูกหลานเป็นต้นของตนก็อาจจะถูกทำในทำนองเดียวกันอย่างนั้นบ้าง เป็นกงเกวียนกำเกวียน. | กรอ ๕ | ก. บรรเลงดนตรีประเภทเครื่องตีดำเนินทำนอง ที่ทำให้เกิดเสียงต่อเนื่องกันเป็นเสียงยาวสม่ำเสมอ โดยใช้ ๒ มือตีสลับกันถี่ ๆ ด้วยน้ำหนักมือที่เท่ากัน. | กรอด ๓ | (กฺรอด) ก. บรรเลงดนตรีประเภทเครื่องตีดำเนินทำนอง โดยวิธีบังคับหรือห้ามเสียงในช่วงท้ายให้สั้นลง มักใช้ในการตีระนาด ฆ้องวง และกรับเสภา. | กรับเสภา | น. กรับชนิดหนึ่ง ทำด้วยไม้แก่นเช่นไม้ชิงชัน มี ๔ ด้าน ด้านหนึ่งโค้งสำหรับกระทบให้เกิดเสียง ยาวประมาณ ๒๐ เซนติเมตร หนาประมาณ ๕ เซนติเมตร ลบเหลี่ยมเล็กน้อยเพื่อมิให้บาดมือและให้สามารถกลิ้งตัวกระทบกันได้สะดวก ใช้ขยับประกอบในการขับเสภา โดยผู้ขับเสภาจะต้องใช้กรับ ๒ คู่ ประคองไว้ในอุ้งมือข้างละคู่ ขณะที่ขับเสภาก็ขยับกรับแต่ละคู่ให้กระทบกันให้สอดคล้องกับท่วงทำนองขับ, กรับขยับ ก็ว่า. | กราว ๓ | วิธีดำเนินไม้กลองที่มีทำนองฮึกเหิม คึกคัก เช่น เพลงกราวนอก เพลงกราวใน. | กลอก | (กฺลอก) น. ลักษณะของเสียงที่บรรเลงเลื่อนไหลไปตามท่วงทำนองอย่างนุ่มนวลกลมกลืน เหมือนลักษณะของหยดน้ำที่กลิ้งอยู่บนใบบอน, ในการขับร้องหมายถึง เสียงที่เปล่งออกจากลำคอพอสมควรสลับกับเสียงทางจมูก แล้วตวัดเสียงให้สะบัดวกวนกลับไปกลับมา ๒ หรือ ๓ ครั้ง สุดแต่ผู้ขับร้องจะเห็นเหมาะสม. | กลองชาตรี | น. ชื่อกลองชนิดหนึ่ง มี ๒ หน้า รูปร่างลักษณะคล้ายกลองทัดแต่เล็กกว่ามาก ตีด้วยไม้ ๒ อัน เช่นเดียวกับกลองทัด แต่วิธีการตี ลักษณะของไม้ตี และเสียงจะแตกต่างจากกลองทัด ใช้ร่วมในวงปี่พาทย์ในการแสดงละครชาตรีที่เรียกว่า ปี่พาทย์ชาตรี ใช้ในการบรรเลงเพลงชุดออกภาษาหรือสิบสองภาษา และใช้ประกอบการบรรเลงในเพลงทำนองตะลุง กลองชาตรีมักใช้บรรเลงคู่กับโทน เรียกว่า โทนชาตรี มีชื่อเรียกตามเสียงอีกอย่างหนึ่งว่า กลองตุ๊ก. | กลอนสวด | น. กลอนที่อ่านเป็นทำนองสวด แต่งเป็นกาพย์ยานี ๑๑ หรือ กาพย์ฉบัง ๑๖ และกาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ ข้อความที่แต่งมักเป็นเรื่องในศาสนา. | กล่อม ๓ | (กฺล่อม) ก. ร้องเป็นทำนองเพื่อเล้าโลมใจหรือให้เพลิน, โดยปริยายหมายความว่า พูดให้น้อมใจตาม หรือทำให้เพลิดเพลิน เช่น กล่อมใจ กล่อมอารมณ์. | กลาย ๆ | ว. ในทำนองนั้น เช่น พูดแบบนี้เป็นการตำหนิกลาย ๆ. | ก้อร่อก้อติก | ว. ทำตัวให้ใกล้ชิด พัวพันในทำนองชู้สาว. | กะ ๑ | น. เครื่องหมายบอกทำนองสวด เช่น กะมหาชาติคำหลวง, ทำนองสวด เช่น สวดกะ | กังหัน | น. สิ่งที่ประกอบด้วยใบพัดหมุนได้ด้วยกำลังลม, จังหัน ก็ว่า, โดยปริยายเรียกเครื่องหมุนบางชนิดมีรูปทำนองกังหัน ทำให้เกิดกำลังงาน เช่น กังหันนํ้า คือเครื่องหมุนด้วยกำลังนํ้า, กังหันลม คือเครื่องหมุนด้วยกำลังลม, กังหันไอนํ้า คือเครื่องหมุนด้วยกำลังไอนํ้า | กัน ๑ | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด เพศชาย พูดกับผู้เสมอกันหรือผู้น้อยในทำนองกันเอง, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑, เช่น กันจะไปรอที่สถานีรถไฟ. | กัลยาเยี่ยมห้อง | น. ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง. | กำพืด | น. เทือกเถา, เผ่าพันธุ์, (มักใช้เป็นทำนองหยาม) เช่น รู้กำพืด. | เก็บ ๒ | น. วิธีบรรเลงเครื่องดนตรีดำเนินทำนองทั่วไปที่เพิ่มเติมเสียงสอดแทรกให้มีพยางค์ถี่ขึ้นมากกว่าทำนองเนื้อเพลงธรรมดา, ทำนองเก็บ หรือ ลูกเก็บ ก็เรียก. | ขยาย | (ขะหฺยาย) น. การนำทำนองเพลงของเดิมมาขยายขึ้น ๑ เท่าตัวโดยยึด (เพิ่ม) ลูกตกเดิมเป็นหลัก เช่น อัตรา ๒ ชั้น ขยายขึ้นเป็นอัตรา ๓ ชั้น. | ขัดตำนาน | ก. สวดบทนำเป็นทำนองก่อนสวดมนต์. | ขับ ๒ | ก. ร้องเป็นทำนอง เช่น ขับกล่อม ขับเสภา. | ขายชื่อ | ก. เอาชื่อเข้าแลกในทำนองขาย, ไม่รักชื่อ, ทำให้เสียชื่อเสียง, ถ้าเอาชื่อผู้อื่นไปแอบอ้างหาผลประโยชน์ เรียกว่า เอาชื่อไปขาย. | ขุนนางใช่พ่อแม่ หินแง่ใช่ตายาย | ถ้าไม่ใช่ พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยายของตน ก็ไม่ควรไว้วางใจใคร, ทำนองเดียวกับภาษิตที่ว่า อย่าไว้ใจทาง อย่าวางใจคน จะจนใจเอง. | คนเสมือนไร้ความสามารถ | น. บุคคลที่ไม่สามารถจัดการงานโดยตนเองได้ หรือจัดกิจการไปในทางที่อาจจะเสื่อมเสียแก่ทรัพย์สินของตนเองหรือครอบครัว เพราะกายพิการ จิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ ประพฤติสุรุ่ยสุร่ายเสเพลเป็นอาจิณ หรือติดสุรายาเมา หรือมีเหตุอื่นใดทำนองเดียวกันนั้น และศาลได้สั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ. | ครัน | (คฺรัน) ว. ใช้ประกอบคำอื่นมีความหมายไปในทำนองว่า นัก, แท้, ยิ่ง, จริง, เช่น ครบครัน เสนาะครัน ดีครัน. | คลอ | บรรเลงดนตรีไปพร้อมกับการขับร้อง โดยพยายามดำเนินทำนองให้ใกล้เคียงกับทำนองร้องมากที่สุด. | คูเรียงคูราย | น. ทำนองคูขัน (ใช้แก่นกเขา). | เครื่องดนตรี | น. เครื่องบรรเลงซึ่งมีเสียงดัง ทำให้รู้สึกเพลิดเพลิน หรือเกิดอารมณ์รัก โศก และรื่นเริงได้ตามทำนองเพลง. | เครื่องเล่น | น. แหล่เทศน์มหาชาตินอกเรื่องเดิม มักมีทำนองตลกขบขันหรือเป็นเชิงสั่งสอนเป็นต้น โดยเฉพาะในกัณฑ์ชูชก มหาพน และมหาราช. | เคล้า | บรรเลงดนตรีไปพร้อม ๆ กับการขับร้อง ซึ่งเป็นเพลงเดียวกัน แต่ต่างก็ดำเนินทำนองไปตามทางของตน. | เคล่าคล่อง | (เคฺล่าคฺล่อง) ก. แคล่วคล่อง เช่น หลบหลีกเคล่าคล่องทำนองยุทธ (รามเกียรติ์ ร. ๒). | โคราช | น. ชื่อเพลงพื้นเมืองอย่างหนึ่งของชาวโคราชที่ว่าแก้กันเป็นทำนองตีฝีปากโต้คารมกันบ้าง เกี้ยวพาราสีกันบ้าง คล้ายเพลงฉ่อย วรรคหนึ่งใช้คำตั้งแต่ ๔ ถึง ๗ คำ ๓ คำกลอนเป็นบทหนึ่ง ความไพเราะอยู่ที่สัมผัสในการเล่นคำเล่นความให้สละสลวย บาทสุดท้ายจะเอื้อนเสียงในเวลาร้อง. | ฆ้องวง | น. ลูกฆ้องที่เรียงไว้เป็นชุด ใช้ตีดำเนินทำนอง เจาะรูที่ใบฉัตร ๔ รู สำหรับร้อยเชือกหนังตีเกลียวผูกโยงกับด้านฆ้องที่ทำด้วยต้นหวายโป่ง วงหนึ่งมีลูกฆ้อง ๑๖-๑๘ ลูก ทุกลูกเทียบเสียงตํ่าสูงเรียงกันเป็นลำดับ มีหลายชนิด เช่น ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็ก ฆ้องวงกลาง ฆ้องวงมโหรี ฆ้องวงเล็กมโหรี. | จู่ลู่ | โดยปริยายหมายความว่า วู่วาม, หุนหันพลันแล่น, เช่น อย่าจู่ลู่ดูถูกนะลูกรัก (อภัย), ดูทำนองพระมณีพี่ยา เห็นว่าจะจู่ลู่วู่วาม (มณีพิชัย), เพื่อนกันช่วยฉุดยุดไว้ ผิดไปไม่ได้อย่าจู่ลู่ ตามกรรมตามเวรนางโฉมตรู จู่ลู่จะพากันวุ่นวาย (สังข์ทอง). | เจ้าหนี้มีประกัน | น. เจ้าหนี้ผู้มีสิทธิเหนือทรัพย์สินของลูกหนี้ในทางจำนอง จำนำ หรือสิทธิยึดหน่วง หรือเจ้าหนี้ผู้มีบุริมสิทธิที่บังคับได้ทำนองเดียวกับผู้รับจำนำ. | ฉอเลาะ | ว. พูดออดอ้อนหรือแสดงกิริยาทำนองนั้นเพื่อให้เขาเอ็นดูเป็นต้น (มักใช้เฉพาะเด็กหรือผู้หญิง). | ฉันทวิลาส | (ฉันทะวิลาด) น. ชื่อเพลงมโหรีทำนองหนึ่ง. | โฉงเฉง | ว. เอะอะเอ็ดอึงเป็นทำนองเกะกะเกเร เช่น พูดจาโฉงเฉง. | ชั้นเดียว | น. ชื่ออัตราจังหวะหน้าทับและทำนองเพลงประเภทหนึ่ง มีความยาวเป็น ๒ เท่าของอัตราครึ่งชั้น. | ช้างประสานงา | ชื่อเพลงทำนองหนึ่ง. | ชำนาญเกลากลอน | ชื่อเพลงปี่พาทย์ทำนองหนึ่ง (ดึกดำบรรพ์). | ชุด ๓ | การบรรเลงเพลงไทยซึ่งมีทำนองคล้ายคลึงกัน เช่น ชุดจีน ชุดแขก | เชิด | น. ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงหน้าพาทย์ ใช้บรรเลงประกอบกิริยา เช่นการเดินทางระยะไกล ๆ รีบเร่ง สู้รบกัน มีลักษณะ ทำนอง อัตราจังหวะและชื่อเรียกต่าง ๆ ดังนี้ เชิดกลอง เชิดฉิ่ง เชิดฉาน เชิดนอก | เชื้อ ๑ | น. สิ่งที่เป็นต้นเหตุทำให้เกิดสิ่งอื่น ๆ ที่มีลักษณะทำนองเดียวกัน เช่น เชื้อไฟ เชื้อแป้งข้าวหมาก | เชื้อ ๒ | ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่งที่มักใช้เนื่องในการอธิษฐาน. | ซุ้ม ๓ | น. ทำนองเพลงไทยสำเนียงลาว อัตราชั้นเดียว เดิมประดิษฐ์ขึ้นสำหรับบรรเลงต่อท้ายเพลงเดี่ยวลาวแพน เรียกว่า ออกซุ้ม ต่อมามีผู้นำไปบรรเลงต่อท้ายเพลงสำเนียงลาวอื่น ๆ. |
| | Composer | ผู้แต่งทำนองเพลง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | music sheet | โน๊ตเพลง , แผ่นกระดาษซึ่งมีทั้งเนื้อร้องและทำนองกำกับ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Counterpoint | ลีลาสอดประสานแนวทำนอง [TU Subject Heading] | Intonation (Phonetics) | ทำนองเสียง [TU Subject Heading] | Oral interpretation of poetry | การอ่านทำนองเสนาะ [TU Subject Heading] | Commencement of the Functions of the Head of Diplomatic Mission | การเริ่มต้นรับหน้าที่ของหัวหน้าคณะผู้แทนทางการ ทูต กล่าวคือ เมื่อหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตเดินทางไปถึงนครหลวงของประเทศผู้รับแล้ว ควรรีบแจ้งให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศทราบว่า ตนได้เดินทางมาถึงแล้วและขอนัดเยี่ยมคารวะ ตามปกติกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นหน้าที่ของอธิบดีกรมพิธีการทูตจะดำเนินการตระเตรียมให้หัวหน้าคณะ ผู้แทนทางการทูตได้เข้ายื่นสารตราตั้งต่อไประหว่างนั้น หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตจะต้องไม่ไปพบเยี่ยมผู้ใดเป็นทางการ จนกว่าจะได้ยื่นสารตราตั้งเรียบร้อยแล้ว อย่างไรก็ดี หัวหน้าคณะผู้แทนอาจขอพบเป็นการภายในกับหัวหน้าของคณะทูตานุทูต (Dean หรือ Doyen of the Diplomatic Corps) ได้ เพื่อขอทราบพิธีการปฏิบัติในการเข้ายื่นสารตราตั้งต่อประมุขของประเทศผู้รับ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนา ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 13 ว่า1. พึงถือได้ว่าหัวหน้าคณะผู้แทนได้เข้ารับภารกิจหน้าที่ของตนในรัฐผู้รับ เมื่อตนได้ยื่นสารตราตั้งหรือเมื่อตนได้บอกกล่าวการมาถึงของตน พร้อมทั้งได้เสนอสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้งต่อกระทรวงการต่างประเทศของ รัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกันในแนวปฏิบัติที่มีอยู่ในรัฐผู้รับ ซึ่งจะต้องใช้ในทำนองอันเป็นเอกรูป2. ลำดับของการยื่นสารตราตั้ง หรือสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้ง จะได้พิจารณากำหนดตามวันและเวลาของการมาถึงของหัวหน้าคณะผู้แทน [การทูต] | Consul | ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งอย่างถูกต้องและได้รับ มอบหมายให้ไปประจำยังต่างประเทศ เพื่อทำหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของประเทศทั้งในด้าน พาณิชย์ การเดินเรือ คุ้มครองความเป็นอยู่อันดีของพลเมืองของประเทศตน พร้อมทั้งปฏิบัติหน้าที่บางอย่างด้านธุรการ หรือวางระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ ตลอดจนด้านการเป็นสักขีพยานการลงนามในเอกสาร เพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทางกฎหมาย (Notary) การให้การตรวจลงตรา รวมทั้งการรับรองเอกสารที่แท้จริง (มิใช่เอกสารปลอม) และจัดการการสัตย์สาบานตนหรืออีกนัยหนึ่ง ภาระหน้าที่ของกงสุลอาจแบ่งออกได้เป็น 5 ประการ ดังต่อไปนี้1 ทำหน้าที่ส่งเสริมผลประโยชน์ในทางพาณิชย์ของประเทศที่ตนเป็นผู้แทนอยู่2 ควบคุมดูแลผลประโยชน์ด้านการเดินเรือ3 คุ้มครองผลประโยชน์ของคนชาติของประเทศที่แต่งตั้งให้ตนไปประจำอยู่4 ทำหน้าที่สักขีพยานในการลงนามในเอกสารเพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทาง กฎหมาย5 ทำหน้าที่ธุรการเบ็ดเตล็ดอื่นๆ หรือระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ เช่น การออกหนังสือเดินทาง การให้การตรวจลงตรา (Visas) การจดทะเบียนคนเกิด คนตาย ฯลฯอนุสัญญากรุงเวียนนา ภาคที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลข้อที่ 5 ได้กำหนดภาระหน้าที่ของฝ่ายกงสุลไว้ดังต่อไปนี้ ก. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่ง และของคนในชาติของรัฐผู้ส่ง ทั้งเอกชนและบรรษัทในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดที่กฎหมายระหว่างประเทศอนุญาตข. เพิ่มพูนการพัฒนาความสัมพันธ์ทางด้านการพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาการ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างกันในทางอื่น ตามบทแห่งอนุสัญญานี้ค. สืบเสาะให้แน่โดยวิถีทางทั้งปวงอันชอบด้วยกฎหมายถึงภาวะและความคลี่คลายใน ทางพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและวิทยาการของรัฐผู้รับ แล้วรายงานผลของการนั้นไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่ง และให้ข้อสนเทศแก่บุคคลที่สนใจง. ออกหนังสือเดินทางและเอกสารการเดินทางให้แก่คนในชาติของรัฐผู้ส่ง ตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่งจ. ช่วยเหลือคนในชาติของรัฐผู้ส่งทั้งเอกชนและบรรษัทฉ. ทำหน้าที่นิติกรและนายทะเบียนราษฎร์ และในฐานะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ปฏิบัติการหน้าที่บางประการอันมีสภาพทางธุรการ หากว่าการหน้าที่นั้นไม่ขัดกับกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับช. พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของผู้เยาว์ และบุคคลไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง ภายในขีดจำกัดที่ได้ตั้งบังคับไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ โดยเฉพาะในกรณีที่จำเป็นต้องมีความปกครองหรือภาวะทรัสตีใดๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลเหล่านั้นฌ. แทนคนชาติของรัฐผู้ส่ง หรือจัดให้มีการแทนอย่างเหมาะสมในองค์กรตุลาการ และต่อเจ้าหน้าที่ที่อื่นของรัฐผู้รับ เพื่อความมุ่งประสงค์ที่จะให้ได้มา ซึ่งมาตรการชั่วคราวสำหรับการรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของคนในชาติเหล่านี้ ไว้ตามกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ ในกรณีที่คนในชาติเหล่านี้ไม่สามารถเข้าทำการป้องกันสิทธิและผลประโยชน์ของ ตนในเวลาอันเหมาะสมได้ เพราะเหตุของการไม่อยู่หรือเหตุอื่นใด ทั้งนี้ ให้อยู่ภายในข้อบังคับแห่งทางปฏิบัติ และวิธีดำเนินการซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับญ. ส่งเอกสารทางศาล หรือเอกสารที่มิใช่ทางศาล หรือปฏิบัติตาม หนังสือของศาลของรัฐผู้ส่งที่ขอให้สืบประเด็น หรือตามการมอบหมายให้สืบพยานให้แก่ศาลของรัฐผู้ส่งนั้น ตามความตกลงระหว่างประเทศที่ใช้บังคับอยู่ หรือเมื่อไม่มีความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่านั้น โดยทำนองอื่นใดที่ต้องด้วยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับด. ใช้สิทธิควบคุมดูแลและตรวจพินิจตามที่ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายและข้อบังคับของ รัฐผู้ส่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับเรือที่มีสัญชาติของของรัฐผู้ส่ง หรืออากาศยานที่จดทะเบียนในรัฐนั้น รวมทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับลูกเรือของเรือและอากาศยานดังกล่าวต. ให้ความช่วยเหลือแก่เรือและอากาศยานที่ระบุไว้ในอนุวรรค (ด) ของข้อนี้ รวมทั้งลูกเรือของเรือและอากาศยานนั้น บันทึกถ้อยคำเกี่ยวกับการเดินทางของเรือ ตรวจดูและประทับตรากระดาษเอกสารของเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใด ๆ ที่ได้เกิดขึ้นในระหว่างนายเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใดๆ ที่ได้เกิดขั้นในระหว่างนายเรือ เจ้าพนักงาน และกะลาสี ตราบเท่าที่การนี้อาจได้อนุมัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง ทั้งนี้ จะต้องไม่เป็นการเสื่อมเสียแก่อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับถ. ปฏิบัติการหน้าที่อื่นใดที่รัฐผู้ส่งมอบหมายแก่สถานีทำการทางกงสุล ซึ่งมิได้ต้องห้ามโดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ หรือซึ่งไม่มีการแสดงข้อคัดค้านโดยรัฐผู้รับ หรือซึ่งมีอ้างถึงไว้ในความตกลงระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับ [การทูต] | Diplomatic Privilege of Accommodation | มาตรา 21 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตบัญญัติไว้ว่า ?1. รัฐผู้ต้อนรับจะต้องอำนวยความสะดวกตามบทกฎหมายของประเทศของตน ในการจัดการให้ได้มาซึ่งดินแดนของตนให้แก่รัฐผู้ส่ง ซึ่งจำเป็นแก่การปฏิบัติภาระหน้าที่ของรัฐนั้น หรือช่วยเหลือให้รัฐผู้ส่งได้รับอาคารที่พำนักด้วยวิธีการหนึ่งใด 2. ในกรณีจำเป็น รัฐผู้รับจะต้องช่วยให้คณะเจ้าหน้าที่ทางการทูต ได้มีสถานที่อยู่อาศัยอย่างเหมาะสม?เมื่อตัวแทนทางการทูตที่เพิ่งได้รับแต่ง ตั้งได้เดินทางไปถึงประเทศที่เขาจะเข้าดำรงตำแหน่ง ซึ่ง ณ ที่นั้นมีคณะผู้แทนทางการทูตของรัฐบาลของเขาประจำทำงานอยู่แล้ว ตามปกติตัวแทนทูตดังกล่าวจะมีสำนักงานทางการทูตตั้งอยู่แล้วในสถานที่เหมาะ สม มีอุปกรณ์เครื่องใช้ไม้สอยสำหรับการปฏิบัติงานโดยครบครัน และผู้ที่ดำรงตำแหน่งก่อนหน้าเขาหรืออุปทูตชั่วคราวมักจะเตรียมการไว้ก่อน แล้วเกี่ยวกับที่พักอาศัย เรียกว่าทำเนียบ นอกจากว่าจะมีทำเนียบตั้งอยู่ภายในบริเวณตึกสถานเอกอัครราชทูตซึ่งรัฐบาลของ เขาเป็นเจ้าของเองแต่ถ้าหากตัวแทนทางการทูตที่เพิ่งได้รับแต่งตั้งใหม่ จะต้องตั้งคณะผู้แทนทางการทูตในประเทศที่เขาเข้าดำรงตำแหน่งเป็นครั้งแรก ก็จะต้องประสบกับปัญหาเรื่องหาสถานที่สำหรับใช้เป็นที่ตั้งสถานเอกอัคร ราชทูตขึ้น ในกรณีเช่นนี้จึงจำเป็นจะต้องอาศัยคำแนะนำและความช่วยเหลือจากกระทรวงการ ต่างประเทศของรัฐผู้รับ กระทรวงการต่างประเทศของบางประเทศจะมีแผนกหนึ่งทำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือ และอำนวยความสะดวกแก่คณะทูตต่างประเทศโดยเฉพาะ เป็นแผนกหนึ่งในกรมพิธีการทูต ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับเรื่องทำนองนี้อยู่แล้ว [การทูต] | Diplomatist หรือ Diplomat | ใช้กับราชการทุกคนที่ประจำทำงานในด้านทางการทูต ไม่ว่าจะประจำอยู่ในกระทรวงการต่างประเทศ หรือในราชการต่างประเทศ คือ ในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุล หรือในสำนักงานทางทูตอื่นๆในทรรศนะของ เซอร์แฮโรลด์ นิโคลสัน นักการทูตยอดเยี่ยมคนหนึ่งของอังกฤษ ได้ระบุไว้ว่า นักการทูตหรือ Diplomat จะต้องประกอบด้วยคุณสมบัติดังต่อไปนี้ คือ ยึดถือความเป็นจริง มีความแม่นยำ สงบเยือกเย็น มีความอดกลั้น อารมณ์ดี มีความสงบเสงี่ยมและมีความจงรักภักดี ทั้งยังจะต้องเป็นผู้ที่มีสติปัญญา มีความรู้ มองเห็นการณ์ไกล มีความสุขุมรอบคอบ ใจดีกับแขกและผู้แปลกหน้า มีเสน่ห์ มีความอุตสาหะวิริยะ มีความกล้า และมีปฏิภาณในทำนองเดียวกัน Francoise de Callieres (1645-1717) นักการทูตชั้นเยี่ยมของฝรั่งเศส ซึ่งเคยเป็นเอกอัครราชทูตประจำโปแลนด์ ซาวอย ฮอลแลนด์ บาวาเรีย และลอเรน ได้เขียนหนังสือไว้เล่มหนึ่งชื่อว่า De la miniere avec les souverains เป็นเรื่องเกี่ยวกับวิธีการเจรจาทางการทูต ซึ่งจนถึงปัจจุบันยังเป็นที่รับรองกันทั่วไปว่าเป็นหนังสือที่ดีเยี่ยมเล่ม หนึ่ง หรือเป็นจินตกวีนิพนธ์เรื่องการดำเนินการทูตกับเจ้าผู้ครองนคร (Princes) สมัยนั้นCallieres ได้วางมาตรฐานของนักการทูตไว้สูงมากเพราะเขาเห็นว่า ไม่มีงานราชการใด ๆ ที่จะยากยิ่งไปกว่าการเจรจา ในการเจรจานั้น ผู้เจรจาจะต้องสามารถมองเห็นเหตุการณ์ทะลุปรุโปร่ง หรือมีสติปัญญาเฉียบแหลม มีความคล่องแคล่วกระฉับกระเฉง มีความละมุนละไม มีความรอบรู้และความเข้าใจอย่างกว้างขวาง ตลอดจนข้อสำคัญที่สุด ต้องเป็นผู้มีความสุขุมคัมภีรภาพ สามารถมองเห็นการณ์ไกลชนิดเจาะลึกทีเดียว นอกจากนี้ จะต้องเป็นผู้มีอารมณ์ขันอย่างสม่ำเสมอ ไม่โกรธง่าย มีจิตใจสงบเยือกเย็น มีความอดกลั้น พร้อมเสมอที่จะรับฟังทุกคนที่เขาพบด้วยความตั้งอกตั้งใจ พูดจาอย่างเปิดเผย และมีอารมณ์ร่าเริงไม่หน้าเง้าหน้างอ มีอัธยาศัยไมตรี รวมทั้งมีกิริยาท่าทางเป็นที่ต้องตาต้องใจกับทุกคน ในฐานะนักเจรจา (Negotiator) นักการทูตจะต้องมีคุณลักษณะและคุณสมบัติตามที่กล่าวมานี้เป็นอย่างน้อย เนื่องจากมีการเจรจาเป็นหน้าที่สำคัญที่สุดของนักการทูตนั่นเอง [การทูต] | Establishment of Diplomatic Relations and Missions | การสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตและคณะผู้แทนถาวร ทางการทูต ข้อนี้มีบทบัญญัติไว้ในมาตรา 2 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตว่าการสถาปนาความ สัมพันธ์ทางการทูตระหว่างรัฐ และคณะผู้แทนถาวรทางการทูตมีขึ้นได้ด้วยความยินยอมของกันและกันในเรื่องนี้ รัฐที่มีอธิปไตยโดยสมบูรณ์ทุกรัฐ มีสิทธที่จะส่งตัวแทนทางการทูตไปทำหน้าที่พิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนยังรัฐ อื่นๆ ซึ่งถือกันว่ามี Active right of legation แต่การใช้สิทธิดังกล่าว เป็นเรื่องดุลยพินิจของแต่ละรัฐ เพราะจะบังคับให้รัฐหนึ่งส่งคณะผู้แทนทางทูตประจำ ณ ที่ใดหาได้ไม่ ถ้าหากรัฐนั้นไม่ปรารถนาจะปฏิบัติเช่นนั้น ในทำนองเดียวกันจะมีการบังคับให้รัฐผู้รับต้องรับคณะผู้แทนทางการทูตจากรัฐ ใดหาได้ไม่ ทั้งนี้เพราะเป็นเรื่องดุลยพินิจของรัฐผู้รับเช่นกัน [การทูต] | Exemption from Customs Duties and Inspection of Diplomatic Mission?s Articles | การยกเว้นจากอากรศุลกากร และการตรวจสิ่งของเครื่องใช้ของคณะผู้แทนทางการทูต การยกเว้นดังกล่าวนี้ไม่ถือว่าเป็นสิทธิ แต่เป็นเรื่องของการแสดงอัธยาศัยไมตรีระหว่งประเทศที่ให้ต่อกันมากกว่า กฎหมายระหว่างประเทศก็มิได้กำหนดพันธะที่จะต้องให้การยกเว้นจากอากรศุลกากร อย่างไรก็ดี รัฐส่วนมากได้แสดงอัธยาศัยไมตรีโดยให้ผู้แทนทางการทูตได้รับการยกเว้นอากร ศุลกากรแก่สินค้าและเครื่องใช้ที่นำเข้ามาใช้ในส่วนตัวเองอนุสัญญากรุง เวียนนาได้ระบุไว้ในมาตรที่ 36 ว่า1. รัฐผู้รับจะอนุญาตให้นำเข้าและอำนวยให้มีการยกเว้นจากอากรศุลกากร ภาษี ตลอดจนค่าภาระที่เกี่ยวข้องทั้งมวล นอกจากค่าภาระในการเก็บรักษา การขนส่งและบริการ ให้ทำนองเดียวกันตามกฎหมายหรือข้อบังคับ ซึ่งรัฐผู้รับอาจกำหนดไว้แก่ก. สิ่งของสำหรับใช้ในทางการของคณะผู้แทนข. สิ่งของสำหรับใช้ส่วนบุคคลของตัวแทนทางการทูต หรือคนในครอบครัวของตัวแทนทางการทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนครัวเรือนของตัวแทนทางการทูต รวมทั้งสิ่งของที่แสดงเจตนาสำหรับการตั้งถิ่นฐานของตัวแทนทางการทูตด้วย2. หีบห่อส่วนบุคคลของตัวแทนทางการทูต ให้ได้รับยกเว้นจากการตรวจตรา นอกจากมีมูลเหตุอันร้ายแรงที่ทำให้สันนิษฐานได้ว่า หีบห่อส่วนตัวนั้นบรรจุสิ่งของซึ่งไม่อยู่ในข่ายแห่งการยกเว้นที่ได้ระบุไว้ ในวรรค 1 ของข้อนี้ หรือสิ่งของซึ่งการนำเข้าหรือส่งออกนั้นต้องห้ามทางกฎหมาย หรือถูกควบคุมตามข้อบังคับว่าด้วยการกักตรวจโรคของรัฐผู้รับ การตรวจตราเช่นว่านี้ให้กระทำต่อหน้าตัวแทนทางการทูต หรือต่อหน้าผู้แทนที่ได้รับมอบอำนาจของตัวแทนทางการทูตเท่านั้น [การทูต] | Freedom of Movement of Diplomatic Agents | เสรีภาพในการเคลื่อนย้ายและการเดินทางของผู้แทน ทางการทูต โดยปกติ รัฐผู้รับย่อมอนุญาตโดยเสรีแก่ผู้แทนทางการทูต ที่จะเคลื่อนย้ายและเดินทางไปไหนมาไหนได้ทั่วประเทศ แต่ระหว่างสงครามเย็นที่ผ่านมา ประเทศสหรัฐอเมริกาได้ตั้งข้อจำกัดการเดินทางแก่ผู้แทนทางการทูตของกลุ่ม ประเทศคอมมิวนิสต์บางแห่ง ได้แก่ สหภาพโซเวียต บัลแกเรีย เชคโกสโลวาเกีย ฮังการี รูเมเนีย และโปแลนด์ นัยว่าสหรัฐฯ ได้กำหนดเขตแขวงในดินแดนของตน 355 แห่ง หรือประมาณร้อยละ 11 ของพื้นที่ทั้งหมด เป็นเขตห้ามเข้าสำหรับผู้แทนทางการทูตของประเทศเหล่านั้นในทำนองเดียวกัน กลุ่มประเทศคอมมิวนิสต์ดังกล่าวก็ได้ตั้งข้อจำกัดการเดินทางแก่ผู้แทนทางการ ทูตของสหรัฐฯ เช่นกัน สำหรับเสรีภาพการเคลื่อนย้ายนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติในข้อ 26 ว่า?ภายในบังคับของกฎหมาย และข้อบังคับของรัฐผู้รับเกี่ยวกับการเข้าไปในเขตหวงห้ามหรือวางระเบียบไว้ โดยเหตุผลของความมั่นคงแห่งชาติ ให้รัฐผู้รับประกันแก่สมาชิกทั้งมวลของคณะเกี่ยวกับเสรีภาพในการเคลื่อนไหว และการเดินทางในอาณาเขตของตน? [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | Immunity from Jurisdiction of Diplomatic Agents | ความคุ้มกันจากอำนาจศาลของตัวแทนทางการทูต ในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตรา 31 ว่า?1. ให้ตัวแทนทางการทูตได้อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางอาญาของรัฐผู้รับ ตัวแทนทางการทูตยังจะได้อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางแพ่ง และทางการปกครองของรัฐผู้รับด้วย เว้นแต่ในกรณีของก) การดำเนินคดีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ส่วนตัว ที่ตั้งอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับนอกจากตัวแทนทางการทูตครอบครองไว้ในนามของ รัฐผู้ส่งเพื่อความมุ่งประสงค์ของคณะผู้แทนข) การดำเนินคดีเกี่ยวกับการสืบมรดกซึ่งเกี่ยวพันถึงตัวแทนทางการทูตในฐานะผู้ จัดการมรดกโดยพินัยกรรม ผู้จัดการมรดกโดยศาลตั้งทายาท หรือผู้รับมรดกในฐานะเอกชน และมิใช่ในนามของรัฐผู้ส่งค) การดำเนินคดีเกี่ยวกับกิจกรรมใดในทางวิชาชีพ หรือพาณิชย์ ซึ่งตัวแทนทางการทูตได้กระทำในรัฐผู้รับ นอกเหนือจากการหน้าที่ทางการของตน 2. ตัวแทนทางการทูตไม่จำเป็นต้องให้การในฐานะพยาน 3. มาตรการบังคับคดี ไม่อาจดำเนินได้ในส่วนที่เกี่ยวกับตัวแทนทางการทูต เว้นแต่ในกรณีซึ่งอยู่ภายใต้อนุวรรค (ก) (ข) และ (ค) ของวรรค 1 ของข้อนี้ และโดยมีเงื่อนไขว่ามาตรการที่เกี่ยวข้องอาจดำเนินไปได้โดยปราศจากการละเมิด ความละเมิดมิได้ในตัวบุคคลของตัวผู้แทนทางการทูต หรือที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต 4. ความคุ้มกันของตัวแทนทางการทูตจากอำนาจศาลของรัฐผู้รับ ไม่ยกเว้นตัวแทนทางการทูตจากอำนาจศาลของรัฐผู้ส่ง?เกี่ยวกับความคุ้มกันตัว แทนทางการทูตจากขอบเขตของอำนาจศาลทางแพ่ง อาจกล่าวได้อย่างกว้างๆ ว่า ตัวแทนทางการทูตนั้นได้รับการยกเว้นจากอำนาจของศาลแพ่งในท้องถิ่นคือตัวแทน ทางการทูตนั้นได้รับการยกเว้นจากอำนาจของศาลแพ่งในท้องถิ่นคือตัวแทนทางการ ทูตจะถูกฟ้องมิได้ และถูกจับกุมมิได้เกี่ยวกับหนี้สิน รวมทั้งทรัพย์สินของเขา เช่น เครื่องเรือน รถยนต์ ม้า และสิ่งอื่นๆ ทำนองนั้นก็จะถูกยืดเพื่อใช้หนี้มิได้ ตัวแทนทางการทูตจะถูกกีดกันมิให้ออกไปจากรัฐผู้รับในฐานะที่ยังมิได้ชดใช้ หนี้สินของเขานั้นก็มิได้เช่นกัน อนึ่ง นักกฎมายบางกลุ่มเห็นว่า ตัวแทนทางการทูตจะถูกหมายศาลเรียกตัว (Subpoenaed) ไม่ได้ หรือแม้แต่ถูกขอร้องให้ไปปรากฎตัวเป็นพยานในศาลแพ่งหรือศาลอาญาก็ไม่ได้ อย่างไรก็ดี ถ้าหากตัวแทนทางการทูตสมัครใจที่จะไปปรากฏตัวเป็นพยานในศาล ก็ย่อมจะทำได้ แต่จะต้องขออนุมัติจากรัฐบาลในประเทศของเขาก่อน [การทูต] | Inter-Governmental Maritime Consultative Organization | องค์การที่ปรึกษาทางทะเลระหว่างรัฐบาล หมายถึงองค์การที่ปรึกษาเกี่ยวกับการเดินเรือทางทะเล ระหว่างรัฐบาล องค์การนี้มีฐานะเป็นองค์การชำนัญพิเศษแห่งหนึ่งขององค์การสหประชาชาติ ประเทศทั้งหมดรวม 35 ประเทศ ได้ประชุมร่วมกันจัดทำอนุสัญญาขององค์การนี้ขึ้นเป็นครั้งแรก ในการประชุมขององค์การที่ปรึกษาการเดินเรือทางทะเล ณ กรุงเจนีวา เมื่อวันที่ 6 มีนาคม ค.ศ. 1948 อนุสัญญามีผลบังคับใช้เมื่อ วันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 1958 เมื่อมีประเทศต่าง ๆ รวม 21 ประเทศได้ให้สัตยาบัน ซึ่งในจำนวนนี้ 7 ประเทศเป็นอย่างน้อยจะต้องมีเรือเดินทะเลของตนไม่น้อยกว่า 1 ล้านตัน (Gross tons) วัตถุประสงค์ขององค์การ IMCO คือ1. จัดวางกลไกเพื่อความร่วมมือกันระหว่างรัฐบาลประเทศสมาชิก ในด้านการวางระเบียบข้อบังคับของราชการ และการปฏิบัติซึ่งเกี่ยวข้องกับเรื่องทางวิชาการหรือเทคนิค รวมทั้งเรื่องที่เกี่ยวกับความปลอดภัยทางทะเล2. สนับสนุนให้มีการยกเลิกการกระทำที่เลือกที่รักมักที่ชัง และข้อจำกัดต่าง ๆ ที่ไม่จำเป็นของรัฐบาล3. รับพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติในทำนองตั้งข้อจำกัดอย่างไม่ยุติธรรมของบริษัท หรือองค์การเดินเรือทั้งหลาย4. รับพิจารณาเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเดินเรือ ที่องค์การหนึ่งใดหรือองค์การชำนัญพิเศษของสหประชาชาติส่งมาให้พิจารณา 5. จัดให้มีการแลกเปลี่ยนข่าวสารข้อสนเทศใด ๆ ระหว่างรัฐบาลเกี่ยวกับเรื่องที่องค์การ IMCO กำลังพิจารณาอยู่องค์การนี้ยังจัดให้มีการร่างอนุสัญญาและความตกลงต่าง ๆ รวมทั้งส่งข้อเสนอแนะเหล่านี้ไปให้รัฐบาล และองค์การระหว่างรัฐบาลทั้งหลาย รวมทั้งจัดการประชุมเท่าที่พิจารณาเห็นว่าจำเป็นองค์การนี้ประชุมกันทุกสอง ปี มีหน้าที่วางนโยบายเกี่ยวกับการเดินเรือทางทะเล ระหว่างสมัยประชุมจะมีคณะเจ้าหน้าที่ขององค์การ เรียกว่า คณะมนตรี (Council) ทำหน้าที่บริหารงานในองค์การ คณะมนตรีประกอบด้วยสมาชิก 16 คน ในจำนวนนี้ 8 คน เป็นผู้แทนจากประเทศที่สนใจให้การบริการเกี่ยวกับการเดินเรือระหว่างประเทศ และอีก 8 คนเป็นตัวแทนจากประเทศที่สนใจการค้าทางทะเลระหว่างประเทศ องค์การมีสำนักเลขาธิการ ประกอบด้วยตัวเลขาธิการ เลขานุการคณะกรรมการเกี่ยวกับความปลอดภัยทางทะเล และเจ้าหน้าที่ประจำตามจำนวนที่องค์การต้องการแล้วแต่กรณี สำนักงานใหญ่ขององค์การตั้งอยู่ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ [การทูต] | Order of Precedence | หมายถึง ลำดับอาวุโสทางการทูต โดยถือยศหรือตำแหน่งเป็นบรรทัดฐาน โดยเฉพาะในโอกาสที่ไปร่วมพิธีต่าง ๆ ตลอดจนการเลี้ยงอาหารอย่างเป็นทางการ นักการทูตทั่วโลกต่างถือลำดับอาวุโสเป็นเรื่องสำคัญที่ต้องพิถีพิถันกันไม่ น้อย เพราะในฐานะที่เป็นตัวแทนของประเทศ หากมีการจัดลำดับอาวุโสไม่ถูกต้อง เขาผู้นั้นซึ่งคำนึงถึงศักดิ์ศรีในฐานะตัวแทนของประเทศย่อมต้องรู้สึกว่า นอกจากจะไม่ได้รับความถูกต้องแล้ว ยังเป็นการดูแคลนประเทศของตนด้วยในสมัยก่อน ผู้ที่ทำหน้าที่ชี้ขาดในเรื่องลำดับอาวุโสของบรรดาประมุขของรัฐทั้งหลาย คือสมเด็จพระสันตะปาปา ต่อมาในการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาเมื่อปี ค.ศ. 1815 ที่ประชุมได้ตกลงกันให้ถือวันที่เดินทางมาถึงประเทศผู้รับ และได้แจ้งให้ทราบเป็นทางการว่าเป็นเรื่องลำดับอาวุโส ผู้ที่มาถึงก่อนย่อมมีอาวุโสกว่าผู้ทีมาทีหลัง อย่างไรก็ดี มาในทุกวันนี้มีหลายประเทศถือหลักว่า ผู้แทนทางการทูตที่ยื่นสารตราตั้งก่อนจะมีอาวุโสกว่าผู้ยื่นสารตราตั้งที หลัง และในกรณีที่เกิดความเห็นไม่ลงรอยกันระหว่างบุคคลในคณะทูตเรื่องลำดับอาวุโส ประเทศเจ้าภาพหรือประเทศผู้รับจะเป็นผู้ตัดสินชี้ขาดอนุสัญญากรุงเวียนนาว่า ด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติเกี่ยวกับลำดับอาวุโสของผู้แทนทางการ ทูตไว้ดังนี้ ?ข้อ 16 1. ให้หัวหน้าคณะผู้แทนมีลำดับอาวุโสในแต่ละชั้นของตนตามลำดับวันและเวลาที่ เข้ารับการหน้าที่ของตนในรัฐผู้รับ เมื่อตนได้ยื่นสารตราตั้ง หรือเมื่อได้บอกกล่าวการมาถึงของตนและได้เสนอสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้ง ต่อกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงตามแนวปฏิบัติที่มีอยู่ในรัฐผู้รับ ซึ่งจะต้องใช้ในทำนองอันเป็นเอกรูป 2. การเปลี่ยนแปลงในสารตราตั้งของหัวหน้าคณะผู้แทน ซึ่งไม่เกี่ยวพันกับการเปลี่ยนแปลงชั้นใด ๆ จะไม่กระทบกระเทือนลำดับอาวุโสของหัวหน้าคณะผู้แทน 3. ข้อนี้ไม่เป็นที่เสื่อมเสียแก่ทางปฏิบัติใด ซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับ ในเรื่องลำดับอาวุโสของผู้แทนของโฮลี่ซี ข้อ 17 ลำดับอาวุโสของสมาชิกคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายทูตของคณะผู้แทนนั้น ให้หัวหน้าคณะผู้แทนเป็นผู้บอกกล่าวแก่กระทรวงการต่างประเทศ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกัน? [การทูต] | Persona non grata | เป็นศัพท์ที่ใช้กับนักการทูตหรือผู้แทนทางการทูต ที่ประจำอยู่ในประเทศซึ่งรัฐบาลของประเทศนั้นไม่ปรารถนาให้อยู่ต่อไปอีกแล้ว หลังจากที่ได้ไปประจำทำงานในตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้น หรือก่อนหน้าที่นักการทูตผู้นั้นจะเดินทางไปถึงดินแดนของประเทศผู้รับ (Receiving State) นักการทูตที่ถูกประกาศเป็น persona non grata หรือ บุคคลที่ไม่พึงปรารถนานั้น เป็นเพราะสาเหตุดังต่อไปนี้ คือ กล่าวคำดูหมิ่นรัฐบาลของประเทศที่ตนไปประจำอยู่ ละเมิดกฎหมายของบ้านเมืองนั้น แทรกแซงในการเมืองภายในของเขา เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับกิจการภายในประเทศของเขา ใช้ถ้อยคำก้าวร้าวต่อประเทศนั้น วิพากษ์ประมุขแห่งประเทศของเขากระทำการอันเป็นที่เสียหายต่อประโยชน์หรือต่อ ความมั่นคงของประเทศ และกระทำการอื่น ๆ ในทำนองนั้นตามปกติรัฐบาลของประเทศเจ้าภาพที่เป็นฝ่ายเสียหายจะขอร้องให้ รัฐบาลผู้ส่ง (Sending government) เรียกตัวนักการทูตผู้กระทำผิดกลับประเทศ ซึ่งตามปกติรัฐบาลผู้ส่งมักจะปฏิบัติตาม รัฐบาลของประเทศผู้เสียหายจะแจ้งให้นักการทูตผู้นั้นทราบว่า รัฐบาลจะไม่ทำการติดต่อเกี่ยวข้องเป็นทางการกับเขาอีกต่อไป หรืออาจจะบอกให้นักการทูตผู้นั้นออกไปจากประเทศโดยไม่เกรงใจแต่อย่างใดก็ได้ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 9 ดังต่อไปนี้ ?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ และโดยมิต้องชี้แจงถึงการวินิจฉัยของตนว่า หัวหน้าคณะผู้แทนหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ไม่พึงโปรด หรือว่าบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ของคณะผู้แทนเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีใดเช่นว่านี้ ให้รัฐผู้ส่งเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นกับคณะผู้แทนเสียก็ได้ตามที่เหมาะสมบุคคลอาจจะ ถูกประกาศให้เป็นผู้ไม่พึงโปรด หรือไม่พึงยอกรับได้ก่อนที่จะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับก็ได้ 2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธ หรือไม่นำพาภายในระยะเวลาอันสมควร ที่จะปฏิบัติตามข้อผูกพันของคนภายใต้วรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับสามารถปฏิเสธที่จะยอมรับนับถือบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นว่าเป็นบุคคล ในคณะผู้แทนก็ได้? [การทูต] | Personal Inviolability of Diplomatic Agents | หมายถึง ตัวบุคคลของตัวแทนทางทูตจะถูกละเมิดมิได้ กล่าวคือ มาตรา 29 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติในเรื่องนี้ไว้ว่า ?ตัวบุคคลของตัวแทนทางการทูตจะถูกละเมิดมิได้ ตัวแทนทางการทุตจะไม่ถูกจับกุมหรือกักขังในรูปใด ๆ ให้รัฐผู้รับปฏิบัติต่อตัวแทนทางการทูตด้วยความเคารพตามสมควร และดำเนินการที่เหมาะสมทั้งมวลที่จะป้องกันการประทุษร้ายใด ๆ ต่อตัวบุคคล เสรีภาพ หรือเกียรติของตัวแทนทางการทูต?ตัวบุคคลของตัวแทนทางการทูตจะถูกละเมิดมิได้ นั้น ได้ถือเป็นปัจจัยหลักในการที่ให้ผู้แทนทางการทูตได้รับสิทธิและความคุ้มกัน ทั้งมวล ถึงกับมีการพูดกันว่า ผู้ใดประทุษร้ายต่อตัวเอกอัครราชทูต จักถือว่าเป็นการทำร้ายต่อประมุขของประเทศซึ่งผู้แทนทางการทูตผู้นั้นเป็น ตัวแทนอยู่ ทั้งยังถือว่าเป็นการยังผลร้ายต่อความปลอดภัยและสวัสดิภาพของประชาชาติทั้ง มวลด้วยตัวอย่างเช่น เมื่อวันที่ 24 มีนาคม ค.ศ. 1964 ชายหนุ่มญี่ปุ่นคนหนึ่งซึ่งมีจิตวิปลาส ได้ใช้มีดแทง นายเอ็ดวิน โอไรส์ชาวเออร์ เอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ประจำประเทศญี่ปุ่น ในเขตนอกสถานเอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ในกรุงโตเกียว รัฐมนตรีว่าการกระทวงมหาดไทยญี่ปุ่นได้ลาออกจากตำแหน่งทันทีและรุ่งขึ้นใน วันที่ 25 มีนาคม ค.ศ. 1964 นายอิเคดะ นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นในสมัยนั้น ได้ทำการขอโทษต่อประชาชนชาวอเมริกันทางวิทยุโทรทัศน์ ซึ่งนับเป็นครั้งแรกที่ได้มีการดำเนินการในทำนองนี้ และการที่นายกรัฐมนตรีอิเคดะได้ปฏิบัติดังกล่าวได้แสดงให้เห็นว่า การที่ตัวบุคคลของผู้แทนทางการทูตจะถูกละเมิดมิได้นั้น มีความสำคัญมากเพียงใดตัวแทนทางการทูตจะถูกจับ ถูกฟ้องศาล หรือถูกลงโทษฐานประกอบอาชญากรรมนั้นไม่ได้ เพราะถือว่าผู้แทนทางการทูตมิได้อยู่ในอำนาจศาลของรัฐผู้รับ อย่างไรก็ดี หากผู้แทนทางการทูตกระทำความผิดอย่างโจ่งแจ้ง รัฐผู้รับอาจขอให้รัฐผู้ส่งเรียกตัวกลับไปยังประเทศของเขาได้ในทันที [การทูต] |
| Possibly. | ทำนองนั้น The Devil You Know (2011) | I know the stories and I know the rhymes | ฉันรู้เรื่องราว รู้ทุกท่วงทำนอง The Nightmare Before Christmas (1993) | You've lied to me, you steal from me... you engage in an utterly immoral... selfish, arrogant stunt without any regard for my feelings whatsoever. | คุณโกหกฉัน ขโมยของของฉัน คุณทำในสิ่งที่ผิดทำนองคลองธรรม เห็นแก่ตัว หยิ่งยะโสทำอะไรไม่เห็นแก่ความรู้สึกของฉันเลย Junior (1994) | They had a hi-fi phono and boy did they let it blast | พวกเขามีท่วงทำนอง Hi-Fi และเด็กพวกเขาไม่ปล่อยให้มันระเบิด Pulp Fiction (1994) | It's this year's Hula-Hoop. Something like that. | อย่างกับเล่นฮูล่าฮูปมาทั้งปี หรืออะไรทำนองนั้น In the Mouth of Madness (1994) | It's along those lines. | อะไรทำนองนั้น Oh, God! (1977) | That somebody already told me about it-Or something similar. | เหมือนกับมีใครบางคนเล่าให้ฟังแล้ว เกี่ยวกับเรื่องนี้--หรือบางอย่างทำนองนี้. Suspiria (1977) | Something like that. There wasn't time to tell me very much... | อะไรทำนองนั้นครับ ไม่มีเวลาเล่าให้ผมฟังมากนัก Airplane! (1980) | You've got to understand the basics of aerodynamics in a thing like this. | นายต้องเข้าใจหลักการ แอร์โรว์ไดนามิคอะไรทำนองนั้นก่อน The Road Warrior (1981) | All Russian personnel are similarly ordered to evacuate American territory. | บุคลากรรัสเซียทั้งหมดจะได้รับ คำสั่งในทำนองเดียวกัน อพยพไปยังดินแดนอเมริกัน 2010: The Year We Make Contact (1984) | Is there, like, a sound truck on the highway? Nope. | - มีเสียงรถจากถนนหรืออะไรทำนองนั้นรึเปล่า Field of Dreams (1989) | Like a...gatling gun maybe? | อย่าเช่นเอ่อ... ปืนกล อะไรทำนองนั้น The Jackal (1997) | - We all have these stories. | - เรามีเรื่องทำนองนี้กันทุกคน As Good as It Gets (1997) | Well, it's pretty much the gist. | คือ... มันก็ทำนองนี้แหละน่า The One with the Jellyfish (1997) | I don't know what you're talking about, but I may have heard stories about situations like this. | ฉันไม่รู้ว่าคุณกำลังพูดถึงอะไรแต่... ...ฉันว่าฉันเคยได้ยินเรื่องในสถานการณ์ทำนองนี้ Brokedown Palace (1999) | He asked me something about that, but I never knew. | เขาถามฉันอะไรทำนองนั้น แต่ฉันไม่เคยรู้... Brokedown Palace (1999) | ... becausetheyjustcan 'tlive without each other. | ... เพราะว่าอยู่คนเดียวไม่ได้ อะไรทำนองนั้น The Story of Us (1999) | It's hard to explain. There was an instant connection this simpatico. | มันอธิบายยากน่ะ ก็ประมาณว่า ใช่เลย อะไรทำนองนั้น The Story of Us (1999) | In a way. | ทำนองนั้น Anna and the King (1999) | I can teach you my line of work. Timepieces and clocks. | พวกนาฬิกา อะไรทำนองนั้น Bicentennial Man (1999) | Sort of. | ทำนองนั้น Unbreakable (2000) | -I know you and A.C. do most of it-- -Not most. All of it. | แต่ทำนองมันถูกแต่งออกมาแล้ว Rock Star (2001) | In all likelihood, she's completely guilty. | ทำนองเดียวกัน เธอก็ผิดสุดๆเหมือนกัน Legally Blonde (2001) | Sort of. | ทำนองนั้นค่ะ Legally Blonde (2001) | Let me guess. Did he give you the ""be your own man"" speech? | ให้ฉันเดานะ เขาคงพูดเกี่ยวกับ การเป็นลูกผู้ชายด้วยตัวเอง อะไรทำนองนี้ใช่ไหม Hothead (2001) | No, he went out at the crack of dawn with all his artist-fella things. | เขาออกไปแต่เช้า เกี่ยวกับเรื่องศิลปะอะไรทำนองนี้ค่ะ Hope Springs (2003) | Doug, you did say something, didn't you, about the key to the city and all that? | ดัก คุณเคยพูดเกี่ยวกับบางอย่าง ประมาณว่ากุญแจเมืองหรืออะไรทำนองนั้นใช่มั้ย Hope Springs (2003) | When we were done filming he calls me up a couple of weeks later and he goes | หลังจากเราถ่ายทำเสร็จแล้วสักสองสามสัปดาห์ เขาโทรมาหาผมและพูดทำนองว่า The Corporation (2003) | Well yes kind of. | มันก็ใช่ ทำนองนั้น The Corporation (2003) | And I'm like what are you talking about write it up? | ทำนองว่า พูดอะไรน่ะ 'เขียนขึ้นมา' ทำไม? The Corporation (2003) | Mussolini was greatly admired all across the spectrum business loved him investment shot up. | มุสโสลินีเป็นที่รักใคร่ของคนทุกกลุ่ม ภาคธุรกิจรักเขา การลงทุนพุ่งสูงขึ้น ในทำนองเดียวกัน เมื่อฮิตเลอร์ขึ้นสู่อำนาจ The Corporation (2003) | - Something like that. | - อะไรทำนองนั้นแหละ A Cinderella Story (2004) | - Something like that. | - อะไรทำนองนั้น A Cinderella Story (2004) | I like the music a lot. | - ฉันชอบทำนองมาก Raise Your Voice (2004) | Here's the music. | นี่ทำนอง Raise Your Voice (2004) | She's kind of a fag hag. | หล่อนเป็นพวกชีวิตนี้ฉันเจอแต่เกย์ อะไรทำนองเนี้ย Eating Out (2004) | Jazz is played to a unique rhythm... | แจ้สเล่นในทำนองที่เป็นเอกลักษณ์... Swing Girls (2004) | Kind of. | ก็ทำนองนั้น ตอนนี้พ่อคงกำลัง นั่งรอโทรศัพท์... Robots (2005) | I want to remind you, we're recording live here today... so you can't say "hell" or "shit" or anything like that. | ผมจะเตือนว่า กำลังอัดสดอยู่วันนี้ ดังนั้นห้ามพูด"ห่า"หรือ"แม่ง" หรืออะไรทำนองนั้น Walk the Line (2005) | It was something odd, wasn't it? It was very strange... | หรืออะไรสักอย่างทำนองนั้น ฟังๆดูก็แปลกดีนะ... Match Point (2005) | Like a burglary or something. | อย่างทำเป็นจี้ปล้น ทำนองนั้น Four Brothers (2005) | If I got in a car accident or something. | ถ้าฉันเกิดรถชนหรืออะไรทำนองเนี้ยอะ o Jenny, Juno (2005) | I mean, kind of a cop. He has a gun. | เอ่อ ก็ทำนองนั้นอะฮะ แบบว่าเค้ามีปืนน่ะ Monster House (2006) | Well, see, I - I'd hoped he would hire you as a waitress or something. | คือแบบนี้ ผมนึกว่าเค้าจะจ้างคุณเป็นพนักงานเสริฟหรืออะไรทำนองนี้ Just My Luck (2006) | I still wear it, sort of. | ฉันยังสวมมันอยู่ ทำนองนั้น The Wicker Man (2006) | Your invitation to visit one might say. | เป็นการเชื้อเชิญคุณให้มาเยือน ทำนองนั้น.. The Wicker Man (2006) | No, I'm not, actually. - I'm sorry. | - ทำนองนั้น ผมเสียใจ The Holiday (2006) | Like who's the latest sexy teen idol? | ทำนองว่าใครคือ ดาราวัยรุ่นที่เซ็กซี่ที่สุด อะไรแบบนี้ Dasepo Naughty Girls (2006) | The assumption is something like this. | สมมุติฐานทำนองนั้นก็คือ โลกมีขนาดใหญ่มาก An Inconvenient Truth (2006) | And if you were to give some suggestions to everybody here about, like, what we can do for the situation now. | ถ้าจะให้คำแนะนำกับทุกคนที่นี่ ทำนองว่าเราควรจะทำอะไรกับสถานการณ์ขณะนี้ An Inconvenient Truth (2006) |
| ทำนอง | [thamnøng] (n) EN: way ; style ; manner ; characteristic style ; vein ; pattern | ทำนอง | [thamnøng] (n) EN: rhythm ; cadence ; tune ; melody FR: rythme [ m ] ; ton [ m ] ; mélodie [ f ] | ทำนองเดียวกัน | [thamnøng dīokan] (adv) EN: similarly ; in the same vein | ทำนองเดียวกับ | [thamnøng dīo kap] (conj) EN: likewise ; in the same way as ; in the same manner as | ทำนองคลองธรรม | [thamnøng khløng tham] (n, exp) EN: ethics ; moral ; righteousness ; path of justice ; moral behavior ; path of justice | ทำนองนี้ | [thamnøng nī] (x) EN: like ; of the same sort ; in this vein | ทำนองเพลง | [thamnøng phlēng] (n, exp) EN: melody ; tune FR: mélodie [ f ] | ทำนองเสนาะ | [thamnøng sanǿ] (n, prop) EN: rhythm of prose ; tonal recitation | ทำนองเสียง | [thamnøng sīeng] (n, exp) EN: tune ; melody ; tone ; rhythm |
| FUD | (abbrev) ย่อมาจากสามคำ คือ Fear, Uncertainty, Doubt หมายถึง การที่ผู้ผลิตให้ข้อมูลข่าวสารที่ทำให้ลูกค้าเกิดความกลัว ความไม่แน่ใจ และความสับสน ในสินค้าของคู่แข่ง เช่น Microsoft มักออกข่าวหรือให้ข้อมูลทำนองนี้เกี่ยวกับ Linux |
| air | (n) ท่วงทำนอง, See also: ทำนอง, เพลง, Syn. tune, theme, melody | alt | (n) เสียงสูง, See also: ทำนองสูง | aria | (n) ทำนอง | by the same token | (idm) โดยวิธีเดียวกัน, See also: ในทำนองเดียวกัน | cadence | (n) ทำนองเสียงในการพูด, Syn. intonation | chant | (vi) ท่องบทสวดเป็นทำนอง, Syn. cantillate, intone, intonate | chant | (n) ทำนองเสียงระดับเดียว, Syn. monotone | chant | (vi) พูดด้วยทำนองเสียงระดับเดียว | decency | (n) ความประพฤติที่ถูกทำนองคลองธรรม, See also: ความเหมาะสม, มารยาท, ความสุภาพ, Syn. decorum, propriety | decently | (adv) อย่างเหมาะสม, See also: อย่างสมควร, อย่างถูกทำนองคลองธรรม, Syn. proprely, seemly | didactically | (adv) อย่างทำนองสั่งสอน | fantasia | (n) ดนตรีผสมที่ไม่มีรูปแบบแน่นอน, See also: ทำนองเสียงผสม, Syn. rhapsody, rouldad | go astray | (phrv) ดำรงชีวิตอย่างผิดทำนองคลองธรรม, See also: ไม่ถูกต้อง, Syn. lead astray | hanky-panky | (n) ความประพฤติที่ไม่ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม, See also: นิสัยที่ไม่ดี, Syn. mischief, monkey business, trick | harmonic | (n) เสียงประสาน, See also: ทำนองประสาน | harmonic | (adv) เสียงประสาน, See also: ทำนองประสาน | sort of | (idm) ทำนองนั้น, See also: ประเภทนั้น, จำพวกนั้น | immoral | (adj) ซึ่งผิดทำนองคลองธรรม, See also: ผิดศีลธรรม, ผิดศีล, ซึ่งไม่เหมาะสม, ซึ่งไม่ซื่อสัตย์, ซึ่งขัดกับหลักคำสอน, Syn. sinful, unethical, wicked, Ant. moral, pious, pure | immorality | (n) การผิดศีลธรรม, See also: การผิดทำนองคลองธรรม, Syn. sin, vice, wickedness, Ant. morality | in the same way | (adv) ในทำนองเดียวกับ, See also: แบบเดียวกัน, Syn. similarly | keep on the straight and narrow path | (idm) ประพฤติอย่างถูกต้องตามทำนองคลองธรรม | legitimate | (adj) ตามหลักการหรือกฎเกณฑ์ที่ตั้งไว้, See also: ตามทำนองคลองธรรม, Syn. sanctioned | likewise | (adv) ในทำนองเดียวกัน, See also: เช่นเดียวกัน, อย่างเดียวกัน, Syn. similarly | melodize | (vi) แต่งทำนอง, See also: เรียบเรียงทำนอง, แต่งเพลง, Syn. compose, symphonize | melodize | (vt) แต่งทำนอง, See also: เรียบเรียงทำนอง, แต่งเพลง, Syn. compose, symphonize | melody | (n) ทำนองเพลง, See also: เสียงดนตรี, เสียงประสาน, Syn. song, tune | meter | (n) จังหวะในเพลง, See also: ท่วงทำนอง, Syn. rhythm, beat, pulse | morally | (adv) อย่างถูกทำนองคลองธรรม, See also: อย่างดีงาม, อย่างมีศีลธรรม, อย่างถูกศีลธรรม, Syn. honestly, honorably, uprightly, Ant. wrongly, dishonorably | music | (n) การแต่งทำนองดนตรี, See also: การแต่งทำนองเพลง, การแต่งเพลง, การเรียบเรียงเพลง, Syn. musicology | presto | (n) เพลงที่มีทำนองรวดเร็ว | prosody | (n) จังหวะหรือทำนองเสียงในการพูด | refrain | (n) ทำนองเพลง, Syn. melody | rondo | (n) เสียงเพลงแบบที่มีการซ้ำทำนองหลักหลายรอบ | similar | (adj) เหมือนกัน, See also: คล้ายกัน, ทำนองเดียวกัน, Syn. related | similarly | (adv) ในทำนองเดียวกัน, See also: เช่นเดียวกัน, Syn. likewise, in addition, as well | style | (n) สำนวน, See also: ท่วงทำนอง, โวหาร, Syn. form, technique | tempo | (n) ความเร็วที่เหมาะสมของดนตรี, See also: จังหวะ, ทำนอง, Syn. pace, speed, rate | timbre | (n) ลักษณะเสียงร้องหรือท่วงทำนองที่แตกต่างกัน, Syn. tone, tonality, resonance, intonation | tune | (n) ทำนอง, See also: ท่วงทำนอง | tuneful | (adj) มีท่วงทำนอง | tunefully | (adv) อย่างมีท่วงทำนอง, See also: อย่างมีเสียงเพราะ | unjust | (adj) ไม่ซื่อสัตย์, See also: ผิดศีลธรรม, ผิดทำนองคลองธรรม, Syn. dishonest, Ant. honest | vice versa | (adv) ในทางกลับกัน, See also: ในทำนองกลับกัน, Syn. conversely, the other way around |
| affair | (อะแฟรฺ') n. ธุรกิจ, เรื่อง, ราชการ, เหตุการณ์, เรื่องรัก ใคร่, เรื่องส่วนตัว, เรื่องรักที่ไม่ถูกทำนองคลองธรรม, งานชุมนุม, Syn. event, incident, party, liaison, romance | alt | (แอลท) adj., n. เสียงสูง (ดนตรี) ทำนอง abbr. (ดูที่ SGPT) | anap | (a) est (แอน' นะเพสทฺ) n. ท่วงทำนองที่มีหนึ่งพยางค์ที่หนักและมีสองพยางค์ที่ไม่หนัก | aria | (อาร์'เรีย) n. ท่วงทำนอง (air, melody) | arietta | (อารีเอท'ทะ) n., (pl. -ettas, -ette) ท่วงทำนองที่สั้น., Syn. ariette | ariose | (แอร์'ริโอส) adj. คล้ายเพลง, มีทำนอง | arioso | (อารีโอ'โซ) adj., adv. ท่วงทำนอง | atonal | (เอโทน'เนิล) adj. ไร้ท่วงทำนองเสียง. | bass | (เบส) n. เสียงต่ำของผู้ชาย, ท่วงทำนองเสียงต่ำ, นักร้องเสียงต่ำ, ดนตรีเสียงต่ำ adj. เกี่ยวกับเสียงต่ำ, See also: bassdrum n. กลองใหญ่ | brain damaged | ใช้การไม่ได้ไร้สมองหมายถึง อะไรก็ตามที่ภายนอกดูดี แต่ข้างในจริง ๆ นั้นแย่มาก ๆ เข้าทำนอง "ข้างนอกสุกใส ข้างในต๊ะติ่งโหน่ง" สำนวนภาษาไทย อีกสำนวนหนึ่งที่มีความหมายคล้ายกันก็คือ "สวยแต่รูป จูบไม่หอม" ถ้าใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ ก็หมายถึงเครื่องที่ทำงานไม่มีประสิทธิภาพเหมือนกับที่โฆษณาเอาไว้ | cadence | (แคด'เดินซฺ) { cadenced, cadencing, cadences } n. ท่วงทำนองดนตรี, จังหวะในการพูด, จังหวะ, ท่วงทำนอง vt. ให้จังหวะ, ทำเป็นจังหวะ, See also: cadent, cadential adj., Syn. beat | cadency | (แคด'เดินซี่) n. จังหวะ, ท่วงทำนอง, ความสัมพันธ์ของสมาชิกวงศ์ตระกูล | cadent | (แคด'เดินทฺ) adj. เป็นจังหวะ, เป็นท่วงทำนอง, ซึ่งกำลังตก | carillon | (แคร์'ระลอน) n. ชุดระฆังหลายใบที่ตีเป็นทำนองได้, ท่วงทำนองเพลงดังกล่าว | carillonneur | n. คนตีชุดระฆังเป็นท่วงทำนองเพลง | cavatina | n. เพลงง่าย ๆ , ทำนองง่าย ๆ | chant | (ชานทฺ) n. เพลง, การร้องเพลง, การท่อง, การสวดมนต์, ท่วงทำนองการร้องเพลง -vt.ร้องเพลง, ร้องสวดมนต์, สรรเสริญ, ชม, See also: chantingly adv. | contrapuntal | adj. ซึ่งประกอบด้วยทำนองที่ค่อนข้างอิสระ, เกี่ยวกับตำแหน่งตรงข้าม | descant | (เดส'เคินทฺ) n. เสียงสูง, ท่วงทำนองเพลง, ความผันแปร adj. มีเสียงสูง vi. (เดสแคนทฺ') ร้องเพลง, วิจารณ์หรือพูดเสียยืดยาว, Syn. discant | due | (ดิว) adj. เหมาะสม, สมควร, พอเพียง, พอควร, ครบกำหนด, ถึงกำหนด, ถูกต้อง, ถูกทำนองคลองธรรม, ตรง, หลีกเลี่ยงไม่ได้. n. สิทธิที่ควรได้รับ, หนี้, เงินที่พึงชำระ, ค่าธรรมเนียม, ความยุติธรรม. -adv. โดยตรง, แน่นอน. -Phr. (due to เนื่องจาก, เนื่องด้วย, เพราะ) ., See also: d | elegiac | (เอลละไจ'แอค) adj. เสียใจ, ระทมทุกข์, เป็นทำนองไว้อาลัย -n. บทกวีไว้อาลัย | false | (ฟอลซฺ) adj. ไม่จริง, ไม่ถูกต้อง, ผิด, ปลอม, เก๊, เท็จ, ไม่แท้, หลอกลวง, ไม่ซื่อสัตย์, ไม่ถูกทำนอง, -adv. อย่างไม่ซื่อสัตย์, ทรยศ. -Phr. (play someone false ทรยศ, หักหลัง) . adv., See also: falseness n. -falsehood n., Syn. untrue | fuge | (ฟิว'กิว, ฟิวจ) n. เพลงลูกเดี่ยวที่ประกอบด้วยหลายท่วงทำนอง จากเครื่องเล่นแต่ละชนิด, ระยะสูญเสียความทรงจำ, | fugue | (ฟิว'กิว, ฟิวจ) n. เพลงลูกเดี่ยวที่ประกอบด้วยหลายท่วงทำนอง จากเครื่องเล่นแต่ละชนิด, ระยะสูญเสียความทรงจำ, | graceless | (เกรส'ลิส) adj. ขาดความงดงาม, ไม่รู้ทำนองคลองธรรม. | illegitimate | (อิลลิจิท'ทิเมท) adj. ผิดกฎหมาย, (ลูก) นอกกฎหมาย, ผิดปกติ, ผิดทำนองคลองธรรม, ผิดหลักการ. vt. ทำให้ผิดกฎหมาย. n. ลูกนอกกฎหมาย, บุคคลนอกกฎหมาย., See also: illegitimateness n. illegitimation n., Syn. unlawful, bastard, illogical | immoral | (อิมอ'เริล) adj. ผิดศีลธรรม, ผิดทำนองคลองธรรม, เลว, ชั่ว. | immorality | (อิมอแรล'ลิที) n. การผิดศีลธรรม, การผิดทำนองคลองธรรม, Syn. dishonesty | intonation | (อินโทเน'เชิน) n. ลักษณะหรือท่วงทำนองเสียง, เสียงสูงต่ำ, การอ่านหรือออกเสียง สูงต่ำ, การเปล่งเสียงเฉพาะ., See also: intonational adj. | keynote | (คี'โนท) n. เสียงหลักของทำนองเพลงประเด็นสำคัญของคำปราศรัย ความคิด การกระทำหรืออื่น ๆ vt. กล่าวคำปราศรัยที่สำคัญ, Syn. theme, essence, gist, core | legitimacy | (ลิจิท'ทะมะซี) n. ความถูกต้องตามกฎหมาย, ความชอบด้วยกฎหมาย, ความถูกต้องสมควร, ความมีสิทธิตามกฎหมาย, ความถูกต้องตามทำนองคลองธรรม, ความถูกต้องตามขนบธรรมเนียมประเพณี | legitimate | (ลิจิท'ทะเมท) adj. ถูกต้องตามกฎหมาย, ถูกต้องสมควร, มีสิทธิตามกฎหมาย, ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม, ถูกต้องตามขนบธรรมเนียมประเพณี, โดยการสมรสที่ชอบด้วยกฎหมาย vt.ทำให้ถูกต้อง ตามกฎหมาย, ทำให้ชอบด้วยกฎหมาย, มอบอำนาจ., See also: legitimateness n. ดูlegitimate legitimation n. ดูlegimate, Syn. lawful, legal, licit | likewise | (ไลคฺ'ไวซ) adv. นอกจากนั้น, อนึ่ง, ด้วย, ในทำนองเดียวกัน, Syn. moreover, also | melody | (เมล'ละดี) n. ทำนองเพลง, เสียงดนตรีที่ไพเราะ, บทกวีสำหรับร้องเป็นเพลง | monody | (มอน'นะดี) n. การคร่ำครวญ, เพลงทำนองเดียว | newsy | (นิว'ซี) adj. เต็มไปด้วยข่าว, ทำนองคุยกัน., See also: newsiness n. | note | (โนท) { noted, noting, notes } n. บันทึก (เป็นลายมือ) สั้น ๆ , บันทึก, จดหมาย, หมายเหตุ, สาสน์, สาร, ธนบัตร, ชื่อเสียง, ความเด่น, ความสำคัญ, เสียงดนตรี, เครื่องหมายดนตรี, ทำนองเพลง vi. บันทึก, หมายเหตุ, จดจำ, สังเกต, ใส่เครื่องหมายดนตรี, แสดงดึง, ชี้บ่ง. -Phr. (compare notes แลก เปลี่ยนความคิดเห็น) | perverse | (เพอเวิร์ซฺ') adj. ตรงกันข้าม, ผิดเหตุผล, ออกนอกลู่นอกทาง, ผิดปกติ, ประหลาด, วิปลาส, วิปริต, ชั่ว, ไม่ถูกต้อง, ไม่ถูกทำนองคลองธรรม, ดื้อรั้น, หัวแข็ง., See also: perverseness n., Syn. contrary, obstinate, abnormal, wicked, corrupt | pop | (พอพ) n., adj. (เกี่ยวกับ) ดนตรีที่นิยมกัน, ท่วงทำนองที่นิยมกัน, ศิลปะที่แพร่หลาย vi. ทำให้เกิดเสียงป๊อก, การยิง, การปะทุ n. เสียงปะทุเบา ๆ , การยิง. adv. ด้วยเสียงดังเบา ๆ | potpourri | (โพพรี', โพ'พูรี, พอทพัว'รี) n. ของผสมระหว่างกลีบดอกกุหลาบหรือดอกอื่น ๆ กับเครื่องเทศในหม้อเพื่อให้มีกลิ่นหอม, ดนตรีหรือท่วงทำนองผสมผเส, ของผสม | programming language | ภาษาโปรแกรมหมายถึง ภาษาที่ออกแบบโครงสร้างขึ้นเพื่อใช้ในการเขียนคำสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ทำนองเดียวกับตัวโน้ตของภาษาดนตรี ภาษาโปรแกรมมีตั้งแต่ระดับต่ำสุด คือใกล้เคียงกับภาษาเครื่อง (machine language) มากที่สุด ไปจนถึงภาษาระดับสูง คือใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ (ภาษาอังกฤษธรรมดา ๆ) มากที่สุดดู language ประกอบ | refrain | (รีเฟรน') vi., vt. ระงับ, ข่มจิต, กลั้น, ละเว้น, เลิก, หยุดยั้ง n. (เพลงหรือบทกวี) ลูกคู่, บทลูกคู่, บทซ้ำ, บทรับ, ทำนอง, See also: refrainment n. | respectability | (รีสเพค'ทะบิล'ลิที) n. ความน่านับถือ, ความน่าเคารพ, ความน่ายำเกรง, ความมีหน้ามีตา, บุคคลที่มีหน้ามีตา, ความสูงต่ำ, ความเหมาะสม, ความถูกต้องสมควร, See also: respectabilities n. สิ่งที่ถูกต้องสมควร, สิ่งที่ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม | respectable | (รีสเพค'ทะเบิล) adj. น่านับถือ, น่าเคารพ, น่ายำเกรง, มีหน้ามีตา, สูงส่ง, สมควร, ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม, มีศักดิ์ศรี, มากมาย, See also: respectableness n. respectably adv., Syn. admirable, proper, appreciable | rhythmical | (ริธ'มิเคิล) adj. เป็นจังหวะ, มีจังหวะ, เป็นท่วงทำนองที่ต่อเนื่องกัน, Syn. periodic | similar | (ซิม'มะละ) adj. เหมือนกัน, คล้ายกัน, มีสัดส่วนเหมือนกัน, มีมุมเดียวกัน, ทำนองเดียวกัน. | smack | (สแมค) n. รสชาติ, รส, กลิ่น, ปริมาณเล็กน้อย, จำนวนนิดหน่อย, ท่าทาง, ทำนอง, เรือจับปลา vi. มีรส, มีรสชาติ, เป็นนัย, มีท่าทาง vt., vi., n. (การ) ตี, ตบ, ตีผาง, จูบเสียงดัง, ดูดเสียงดัง, กระทบดัง, ตีดัง, ตบดัง adv. ฉับพลันและรุนแรง, โดยตรง | sonata | (ซะนา'ทะ) n. ทำนองเพลงผสมผสาน (โดยเฉพาะของเปียโน) | songful | adj. เต็มไปด้วยเพลง, เป็นทำนองเพลง., Syn. melodious | style | (สไทลฺ) n. ชนิด, รูปแบน, ลักษณะ, ท่าทาง, สำนวน, โวหาร, ทำนอง, ท่วงทำนอง, วิธีการ, วิธีการเขียน, แบบอย่าง, ลีลา, คำขนานนาม, ปากกาสมัยโบราณสำหรับเขียนบนแผ่นขี้ผึ้ง, สิ่งที่คล้ายปากกาดังกล่าว, เข็มเครื่องเล่นจานเสียง, เข็มนาฬิกาแดด, วิธีการจับเวลา, แกนดอกไม้, เดือย, หนาม, |
| air | (n) อากาศ, ท่าทาง, อาการ, ทำนอง | cadence | (n) จังหวะ, ท่วงทำนอง, เสียงต่ำ | didactic | (adj) เกี่ยวกับการสอน, ชอบสอน, ทำนองสั่งสอน | illegitimate | (adj) นอกกฎหมาย, ผิดกฎหมาย, ผิดทำนองคลองธรรม | immoral | (adj) ผิดศีลธรรม, เลวทราม, ชั่ว, ผิดทำนองคลองธรรม | immorality | (n) ความเลวทราม, ความผิดศีลธรรม, การผิดทำนองคลองธรรม | intonation | (n) การออกเสียงสูงต่ำ, ท่วงทำนองเสียง | legitimate | (adj) ถูกกฎหมาย, ถูกทำนองคลองธรรม | likewise | (adv) เช่นเดียวกัน, อย่างเดียวกัน, เหมือนกัน, ในทำนองเดียวกัน | melody | (n) ทำนองเพลง, ความไพเราะ | reciprocal | (adj) กลับส่วนกัน, ทำนองเดียวกัน, ซึ่งกันและกัน | refrain | (n) ลูกคู่, ทำนอง, บทรับ | rhythmical | (adj) เป็นท่วงทำนอง, เป็นจังหวะ | same | (adj) เหมือนกัน, อย่างเดียวกัน, เช่นเดียวกัน, ทำนองเดียวกัน | similar | (adj) อย่างเดียวกัน, คล้ายคลึงกัน, เหมือนกัน, ทำนองเดียวกัน | similitude | (n) การเปรียบเทียบ, ความเหมือนกัน, ทำนอง, ท่าทาง, รูปร่าง | singsong | (n) เสียงทำนองเดียว, การร้องเพลงสวด | smack | (n) กลิ่น, รส, ทำนอง, ท่วงท่า | style | (n) ลีลา, สมัย, ชนิด, รูปแบบ, ท่าทาง, ท่วงทำนอง | tempo | (n) จังหวะ, ดนตรี, ทำนอง, รูปแบบของงาน, กระแสชีวิต, อัตราความเร็ว | tune | (n) ทำนองเพลง, น้ำเสียง, ความคล้องจอง | VICE vice versa | (adv) ในทางกลับกัน, ในทำนองเดียวกัน | wise | (n) วิธี, แบบ, อาการ, ทำนอง, วิถีทาง |
| dammering | [ดามเมอร์ริง] (n, jargon) การฆ่าศัตรูในทำนองฆ่า 5 ตาย 0 หรือตามๆกันไปเช่น การฆ่า 6 ตาย 1 เป็นการลบกันของการฆ่าเเละการตายได้ 5 | namedrop | (vi) การอ้างถึงชื่อผู้อื่นในทำนองว่ารู้จักกับผู้นั้น เพื่อสร้างมูลค่าให้ตนเอง, โดยทั่วไปมีความหมายในเชิงลบ. ตัวอย่าง เช่น I know Lisa of Blackpink and she often comes to my house for dinner. ฉันรู้จักลิซ่าแห่งวง Blackpink นะ เขามาทานอาหารเย็นที่บ้านฉันบ่อยๆ | smarty-pants | (n) [ ไม่เป็นทางการ ] พ่อคนฉลาด! (ใช้ในทำนองประชดประชันบุคคลผู้ต้องการแสดงความฉลาดของตนให้ผู้อื่นเห็น) | Sorta kinda | 1.ก็ทำนองนั้นแหละ! เป็นลักษณะของการตอบคำถามที่หลีกเลี่ยงความจริง การตอบคำถาที่มีลักษระคลุมเครือ, Do you like Jim? Sorta kinda. 2. Somewhat like, a little bit, I'm sorta kinda crazy. |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |