ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ขาน, -ขาน- |
ขาน | (v) reply, See also: answer, respond, Syn. ขานรับ, ขานตอบ, ตอบ, ตอบรับ, Example: ทำไมหนูไม่ขาน เมื่อแม่เรียก, Thai Definition: พูดตอบกลับไปยังผู้ที่เรียก | ขาน | (v) call out, See also: call, Syn. เรียก, เรียกชื่อ, ขานชื่อ, Example: คุณครูขานชื่อนักเรียนทุกคนเพื่อจะดูว่าใครขาดเรียน, Thai Definition: เรียกชื่อเพื่อให้ตอบกลับมา | การขาน | (n) calling, See also: announcement, Syn. การเรียก, การกล่าว, Example: การขานชื่อเรียกตัวพลทหารได้เริ่มขึ้นแล้ว | ขานตอบ | (v) call out in reply, See also: give an answering call, answer, reply, Syn. ขานรับ, Example: ครูเริ่มอ่านบัญชีรายชื่อแต่ไม่มีใครขานตอบ | ขานรับ | (v) answer, See also: respond to, Syn. ตอบรับ, ขานตอบ, Example: นักศึกษาขานรับระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัยกันอย่างพร้อมเพรียง, Thai Definition: ตอบรับกลับไปหรือเห็นพ้องด้วย | ตายขาน | (v) be dead in lines (/rows), See also: die without falling down (of trees), Example: ต้นส้มในไร่ตายขานหมดเพราะขาดน้ำ, Thai Definition: ยืนต้นตายเป็นแถวๆ (ใช้แก่ต้นไม้) ในความว่า ไม้ตายขาน | ว่าขาน | (v) reprimand, See also: reprove, rebuke, censure, admonish, condemn, reproach, scold, Syn. ต่อว่า, Ant. ชมเชย, Example: ไม่ว่าญาติพี่น้องจะว่าขานอย่างไร เขาก็ยืนยันจะทำงานนี้ต่อไป, Thai Definition: พูดให้เห็นข้อบกพร่อง | ขานชื่อ | (v) call out names during a roll call, See also: make a roll call, announce, Syn. เรียกชื่อ, Example: ทหารถูกขานชื่อทีละคนตามลำดับยศ | ขานรหัส | (v) call someone by signals, See also: call, Syn. เรียกรหัส, Ant. ตอบรหัส, Example: ทางศูนย์ขานรหัสมาแล้วแต่ฝ่ายเราส่งกลับไปไม่ได้, Thai Definition: ร้องเรียกโดยใช้สัญญาณหรือสัญลักษณ์ที่กำหนดรู้กันโดยเฉพาะ | เล่าขาน | (v) tell (a story), See also: narrate, relate, recount, Syn. กล่าวขาน, Example: เรื่องที่เกิดขึ้นในอดีตหลายเรื่องกลายเป็นตำนานที่ผู้คนเล่าขานกันมาถึงปัจจุบัน, Thai Definition: บอกเรื่องราวในอดีตต่อๆ กันมา | เล่าขาน | (v) tell (a story), See also: narrate, relate, recount, Syn. กล่าวขาน, Example: เรื่องที่เกิดขึ้นในอดีตหลายเรื่องกลายเป็นตำนานที่ผู้คนเล่าขานกันมาถึงปัจจุบัน, Thai Definition: บอกเรื่องราวในอดีตต่อๆ กันมา | กล่าวขาน | (v) be well-known, See also: be renowned, Syn. โจษขาน, Example: ญี่ปุ่นนับเป็นประเทศที่ถูกกล่าวขานอย่างมากว่ามีสวัสดิการให้แก่ผู้สูงอายุอย่างดีเยี่ยม | คำขานรับ | (n) answer, See also: reply, Syn. คำตอบรับ, Example: ความกล้าหาญชาญชัยของรัฐบาลได้รับคำขานรับและต่อต้านระคนกันไป | เรียกขาน | (v) name, See also: call, label, Syn. เรียกชื่อ, Example: มหกรรมฟุตบอลหยุดโลกที่ถูกเรียกขานว่า เวิลด์คัพ นั้นจัดขึ้นทุกๆ 4 ปี | เลขานุการ | (n) secretary, Syn. ผู้ช่วย, Example: ในฐานะที่ผมเองเป็นเลขานุการของท่านก็เลยต้องดูแลงานบางส่วนที่ท่านมอบหมาย, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้มีหน้าที่ทำงานแบ่งเบาภาระของผู้บังคับบัญชา | ไม้ตายขาน | (n) the trees die in standing state for the whole row, See also: row of dead wood-tree, Thai Definition: ต้นไม้ที่ยืนต้นตายเป็นแถวๆ | ต่อว่าต่อขาน | (v) complain, See also: blame, abuse, reproach, object, protest, pleasure, talk to, censure, Syn. ว่าขาน, ต่อว่า, ว่ากล่าว, Ant. ชมเชย, Example: หลังจากต่อว่าต่อขานกันอยู่นาน ทั้งสองฝ่ายต่างเข้าใจว่าทั้งคู่เข้าใจผิดไปเอง, Thai Definition: ท้วงถามเหตุผลต่อผู้ที่ทำให้ตนไม่พอใจ, ว่ากล่าวเพราะไม่ทำตามที่พูดหรือที่ให้สัญญาไว้ | ภูเขาน้ำแข็ง | (n) iceberg, Example: ไททานิคเป็นชื่อเรือที่อับปางลงจากการพุ่งชนภูเขาน้ำแข็ง กลางมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ, Count Unit: ลูก, ก้อน, Thai Definition: ก้อนน้ำแข็งขนาดใหญ่ที่แตกจากธารน้ำแข็งแถบขั้วโลกล่องลอยไปในทะเล | เลขานุการิณี | (n) secretary, See also: lady secretary, Count Unit: คน, Thai Definition: เลขานุการที่เป็นผู้หญิง |
|
| กล่าวขาน | ก. เล่ากันมา เช่น ผู้คนกล่าวขานเรื่องกล้วยออกปลีที่โคนต้น. | ขับขาน | ก. ร้องเพลงอย่างไพเราะ. | ขานกยาง ๑ | น. ปืนโบราณที่ตั้งยิงบนขาคํ้า | ขานกยาง ๑ | เรียกตรวนที่มีลูกย่าง ๒ อัน ว่า ตรวนขานกยาง. | ขาน่อง | น. น่อง, อวัยวะส่วนหลังของแข้ง ตั้งแต่ขาพับลงไปถึงส้นเท้า, กระหน่อง กระน่อง หรือ ขะน่อง ก็เรียก, อีสานว่า กะหน่อง หรือ กะน่อง. | ขาน ๑ | ก. ออกเสียงพูดหรือตอบเป็นต้น เช่น ขานยาม ขานรับ. | ขานไข | ก. กล่าวชี้แจง. | ขานนาค | ก. กล่าวตอบในเวลาที่พระคู่สวดสวดถามคุณสมบัติและโรคต้องห้ามเป็นภาษาบาลีในที่ประชุมสงฆ์ แล้วนาคผู้ขอบวชเป็นภิกษุตอบรับหรือปฏิเสธเป็นภาษาบาลีเช่นกัน. | ขานยาม | ก. บอกเวลาเปลี่ยนชั่วโมง | ขานยาม | ขานรับเมื่อผู้ตรวจเรียกชื่อนักโทษทุกยาม เช่น ถ้าลักพระปล้นสดมลักช้างม้าเปนสัจให้จำ ๕ ประการไว้ในคุกให้ขานยาม (สามดวง). | ขานยาว | ก. ร้องรับเพื่อให้พายเรือพร้อมกัน. | ขานรหัส | ก. ร้องเรียกโดยใช้สัญญาณหรือสัญลักษณ์ที่กำหนดรู้กันโดยเฉพาะ. | ขานรับ | ก. ออกเสียงตอบ เช่น พอครูเรียกชื่อ นักเรียนก็ขานรับ, ตอบรับ เช่น หน่วยราชการขานรับนโยบายของรัฐบาล. | ขาน ๒ | ว. ใช้ประกอบต่อคำ “ตาย” ว่า ไม้ตายขาน หมายความว่า ต้นไม้ที่ยืนต้นตายเป็นแถว ๆ. | ขานกยาง ๑ | ดูใน ขา ๑. | ขานกยาง ๒ | น. ชื่อปลาทะเลชนิด Scomberoides tol (Cuvier) ในวงศ์ Carangidae ลำตัวแบนข้าง เรียวเล็กกว่าปลาสละและปลาเฉียบ แต่พอ ๆ กับปลาสีเสียด ซึ่งทั้งหมดอยู่ในสกุลเดียวกัน ปากไม่กว้างนัก ท้ายขากรรไกรบนอยู่ในแนวใต้จุดศูนย์กลางของตา เกล็ดเล็กและยาวมากคล้ายเข็มฝังแน่นในหนัง เส้นข้างตัวไม่มีเกล็ดที่เป็นสันแข็ง ครีบหลังตอนแรกเป็นหนามแข็ง ๖-๗ ก้าน เรียงห่างกัน มีกระดูกเป็นหนาม ๒ อัน อยู่หน้าครีบก้นและพับซ่อนในร่องเนื้อได้ ลำตัวสีเงินเทา มีจุดสีเทาดำอยู่ในแนวเส้นข้างตัว ๕-๘ จุด ขนาดยาวได้ถึง ๔๓ เซนติเมตร. | ขานาง | น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Homalium tomentosum (Vent.) Benth. ในวงศ์ Flacourtiaceae ดอกเล็ก สีเหลืองอ่อน กลิ่นเหม็น. | เครือเขาน้ำ | น. ชื่อไม้เถาชนิด Tetrastigma leucostaphyllum (Dennst.) Mabb. ในวงศ์ Vitaceae ขึ้นในป่าดิบ ลำต้นตอนบนแบนเป็นร่อง ตอนล่างค่อนข้างกลม อุ้มนํ้า นํ้าในลำต้นกินได้. | ต่อว่าต่อขาน | ก. ต่อว่า, โต้ตอบซึ่งกันและกัน, เช่น สองคนนั้นกำลังต่อว่าต่อขานกันลั่นบ้าน. | ตายขาน | ก. ยืนต้นตายเป็นแถว ๆ (ใช้แก่ต้นไม้) ในความว่า ไม้ตายขาน. | ภูเขาน้ำแข็ง | น. ก้อนนํ้าแข็งขนาดใหญ่ที่แตกจากธารนํ้าแข็งแถบขั้วโลกล่องลอยไปในทะเล. | ไม้ตายขาน | น. ไม้ที่ยืนต้นตายเองเป็นแถว ๆ. | ราชเลขานุการ | น. ตำแหน่งเลขานุการในพระองค์ของพระบรมวงศ์ เป็นตำแหน่งตามกฎหมาย, ตำแหน่งเลขานุการในพระองค์ของพระบรมวงศ์ ทรงแต่งตั้งเป็นการส่วนพระองค์. | เลขานุการ | น. ผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับหนังสือหรืออื่น ๆ ตามที่ผู้บังคับบัญชาสั่ง. | ว่าขาน | ก. พูดต่อว่า, พูดติ, เช่น พระมิได้ตอบคำว่าขาน ตรัสแต่กิจการกรุงศรี แต่ดูพระกิริยาพาที เหมือนจะเคลื่อนคลายที่โกรธา (อิเหนา). | สิขานล | น. เปลวไฟ. | กรมเกรียม | (-เกฺรียม) ก. ระทมใจจนหม่นไหม้, ใช้ว่า เกรียมกรม ตรมเตรียม หรือ เตรียมตรม ก็มี เช่น จักขานความที่เกรียมกรม (กฤษณา). | กระโถนฤๅษี | น. ชื่อพืชเบียนชนิด Sapria himalayana Griff. ในวงศ์ Rafflesiaceae เกิดตามป่าดิบ เกาะเบียนที่รากเครือเขานํ้า ( Tetrastigma lanceolarium Planch.) ดอกรูปกระโถนปากแตร กลิ่นเหม็น กลีบดอกสีนํ้าตาลแดงประเหลือง ใช้ทำยาได้. | กระน่อง | น. น่อง, อวัยวะส่วนหลังของแข้ง ตั้งแต่ขาพับลงไปถึงส้นเท้า, กระหน่อง ขะน่อง หรือ ขาน่อง ก็เรียก, อีสานว่า กะหน่อง หรือ กะน่อง. | กระว่า | น. ชื่อนกชนิดหนึ่ง เช่น เสียงนกกระว่ามาตีลาน นกกรงหงส์ห่านร้องขานคู่ (มโนห์รา). | กระหน่อง ๒ | น. น่อง, อวัยวะส่วนหลังของแข้ง ตั้งแต่ขาพับลงไปถึงส้นเท้า เช่น ตัวหนึ่งกัดเอ็นกระหน่อง (ม. ภาคอีสาน ชูชก), กระน่อง ขะน่อง หรือ ขาน่อง ก็เรียก, อีสานว่า กะหน่อง หรือ กะน่อง. | กฤติกา | (กฺริดติ-) น. ดาวฤกษ์ที่ ๓ มี ๘ ดวง เห็นเป็นรูปธงสามเหลี่ยม มีหางเรียวยาว เช่น หมู่สามสมมุติ์กุกกุฏโบ- ดกกฤติกาขาน (สรรพสิทธิ์), ดาวธงสามเหลี่ยม ดาวลูกไก่ ดาวกฤตติกา หรือ ดาวกัตติกา ก็เรียก. | กางเกงชาวเขา | น. กางเกงแบบชาวเขานุ่ง เป็นกางเกงที่มีเป้ายานลงมา ทำให้ทรงกางเกงดูคล้ายรูปสี่เหลี่ยมคางหมู เช่น ฉันชอบกางเกงชาวเขาเพราะนุ่งสบายดี. | กำนัด | (กำหฺนัด) ก. กำหนัด เช่น พิศเพี้ยนพระพนิดาทุกขานลกำนัด ดัดรัตนธารี มาดู (สมุทรโฆษ). | กำแพงขาว | น. ชื่อว่านชนิดหนึ่ง ใบคล้ายหมากผู้หมากเมีย ต้นและใบเขียว มีลายดั่งว่านเสือ แต่ลายเบา มีพรายปรอท หัวเหมือนกระชาย ตุ้มรากกลมทอดไปยาว หัวมีกลิ่นหอม ใช้อยู่คงเขี้ยวเขานองา, อีกชนิดหนึ่งเรียก มายาประสาน เป็นว่านประสานบาดแผล. | กิงบุรุษ | น. กินนร เช่น และเป็นที่เขานิยมว่ามีนกอย่างหนึ่งซึ่งเรียกว่ากิงบุรุษ (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์). | เกรียมกรม | ก. ระทมใจจนหม่นไหม้ เช่น จักขานความที่เกรียมกรม (กฤษณา), ใช้เป็น กรมเกรียม ตรมเตรียม หรือ เตรียมตรม ก็ได้. | ขรรคะ, ขรรคา | (ขักคะ, ขันคา) น. แรด เช่น หนึ่งนบสิขานนนารถ เถลิงขรรคาอาศน์ แลยาตรอัมพรแผ่นพาย (ดุษฎีสังเวย). | ขะน่อง | น. น่อง, อวัยวะส่วนหลังของแข้ง ตั้งแต่ขาพับลงไปถึงส้นเท้า, กระหน่อง กระน่อง หรือ ขาน่อง ก็เรียก, อีสานว่า กะหน่อง หรือ กะน่อง. | ขาอ่อน | น. ส่วนหลังของขานับตั้งแต่โคนขาถึงขาพับ. | ขา ๒ | น. พวก, ฝ่าย, เช่น ขานักเลง ขาเจ้าชู้ | ขา ๓ | ว. คำขานรับของผู้หญิง. | ขาล | (ขาน) น. ชื่อปีที่ ๓ ของรอบปีนักษัตร มีเสือเป็นเครื่องหมาย | งูกลืนหาง, งูกินหาง ๑ | น. ชื่อกลอนกลอักษร วรรคหนึ่ง ๆ ต้องมีคำซ้ำกัน ๓ คู่ คือระหว่าง ๓ คำหน้ากับ ๓ คำสุดท้ายของวรรค แต่เวลาเขียนจะตัดคำซ้ำ ๓ คำสุดท้ายของแต่ละวรรคออก เวลาอ่านให้อ่านไปจนจบวรรคแล้วย้อนกลับไปอ่านคำที่ ๑ ถึงคำที่ ๓ ในวรรคเดียวกันอีกครั้งหนึ่ง ตัวอย่างว่า ฟังเสียงหวานขานเสียงดัง เหมือนน้ำตาลหวานเตือน เสนาะจริงยิ่งคำหวาน อ่านว่า ฟังเสียงหวานขานเสียงดังฟังเสียงหวาน เหมือนน้ำตาลหวานเตือนเหมือนน้ำตาล เสนาะจริงยิ่งคำหวานเสนาะจริง. | จัดการงานนอกสั่ง | น. การที่บุคคลคนหนึ่งเข้าทำกิจการแทนผู้อื่น โดยเขามิได้ว่าขานวานใช้ให้ทำหรือโดยมิได้มีสิทธิที่จะทำการงานนั้นแทนผู้อื่น. | จ๋า | ว. คำขานรับ | เจ้าขา | ว. คำที่ผู้หญิงใช้เรียกหรือขานรับผู้ใหญ่อย่างสุภาพ. | เจ้าค่ะ | ว. คำที่ผู้หญิงใช้ขานรับผู้ใหญ่อย่างสุภาพ. | ฉับฉ่ำ | ว. ไพเราะ, เสนาะหู, เช่น ละครก็ฟ้อนร้อง สุรศัพทกลับขาน ฉับฉ่ำที่ตำนาน อนิรุทธกินรี (บุณโณวาท). | เฉลียบ ๑ | (ฉะเหฺลียบ) น. ชื่อปลาทะเลชนิด Scomberoides tala (Cuvier) ในวงศ์ Carangidae ลำตัวแบนข้างและกว้างใกล้เคียงกับปลาสละ แต่มากกว่าปลาสีเสียดและปลาขานกยางซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน ปากกว้าง ท้ายขากรรไกรบนยาวเลยแนวขอบหลังของตาเพียงเล็กน้อย เกล็ดเล็กยาวคล้ายเสี้ยนฝังแน่นในหนัง เส้นข้างตัวไม่มีเกล็ดที่เป็นสันแข็ง ครีบหลังตอนแรกมีก้านครีบแข็ง ๖-๗ ก้าน เรียงห่างกัน มีกระดูกเป็นหนาม ๒ อัน อยู่หน้าครีบก้นและพับซ่อนในร่องเนื้อได้ ลำตัวด้านบนสีเงินเทา ด้านข้างสีเงิน มีแต้มรูปไข่ยาวรีเรียงขวางอยู่ในแนวเส้นข้างตัว ๔-๘ แต้ม ขนาดยาวได้ถึง ๖๐ เซนติเมตร, เสลียบ ก็เรียก. |
| secretariat | สำนักงานเลขานุการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | secretary | เลขานุการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Attaché (Fr.) | ๑. ผู้ช่วยทูต๒. ผู้ช่วยเลขานุการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | quotation | ๑. รายการขานราคา๒. ข้อกล่าวอ้าง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | iceberg | ภูเขาน้ำแข็ง [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | water gap | ช่องเขาน้ำกัด [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
| Address, Forms of | รูปแบบการเรียกขาน [TU Subject Heading] | Conversation and phrase books (for secretaries) | บทสนทนาและวลี (สำหรับเลขานุการ) [TU Subject Heading] | Secretaries | เลขานุการ [TU Subject Heading] | ASEAN University Network | เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน " เป็นกรอบความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศสมาชิกอาเซียน จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2538 มีสำนักงานเลขานุการตั้งอยู่ที่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี รศ. ดร.ศุภชัย ยาวะประภาษ เป็น ผู้อำนวยการบริหาร " [การทูต] | Corps Diplomatique หรือ Diplomatic Corps | คณะทูตานุทูตที่ประจำอยู่ในนครหลวง (Capital) ของประเทศ ซึ่งจะมีหัวหน้าคณะทูตพร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ทางการทูตใน คณะทูต เจ้าหน้าที่ทางการทูตในคณะทูตนั้นจะประกอบไปด้วย อัครราชทูต (Minister) อัครราชทูตที่ปรึกษา (Minister Counselor) และที่ปรึกษา (Counselor) ซึ่งอาจจะมีคนเดียวหรือหลายคน นอกจากนี้ มีเลขานุการทางการทูตอีกหลายคน คือ เลขานุการเอก โท ตรี และตามปกติยังมีผู้ช่วยทูต (Attaché) อีกหลายคนซึ่งมีฐานะทางการทูต (Diplomatic status) คือผู้ช่วยทูตฝ่ายทหาร (บก เรือ และอากาศ) ผู้ช่วยทูตฝ่ายพาณิชย์ (Commercial Attaché) ผู้ช่วยทูตฝ่ายการแถลงข่าว (Press Attaché) และผู้ช่วยฝ่ายอื่น ๆ ซึ่งกระทรวงทบวงกรมของรัฐบาล (นอกจากกระทรวงการต่างประเทศ) เป็นฝ่ายแต่งตั้งข้าราชการของตนไปประจำในคณะทูต รวมทั้งเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ซึ่งมีฐานะทางการทูตด้วยในนครหลวงของประเทศใดก็ตาม ผู้ที่ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าคณะทูตานุทูต (Head หรือ Dean of the Diplomatic Corps) จะได้แก่ผู้แทนทางการทูตอาวุโสที่ได้ประจำการอยู่ในประเทศนั้นเป็นเวลานาน ที่สุด ยกเว้นแต่ในบางประเทศ จะถือเอกอัครราชทูตผู้แทนองค์สมเด็จพระสันตะปาปา (Papal Nuncio) เป็นหัวหน้าคณะทูตานุทูตตลอดไป โดยไม่คำนึงถึงเรื่องอาวุโสแต่อย่างใด เช่น ฟิลิปปินส์ [การทูต] | Diplomatic Secretaries | ตำแหน่งเลขานุการทางการทูตในสถานเอกอัครราชทูต ตำแหน่งเลขานุการทางการทูตจะมีอยู่ 3 ระดับ คือ เลขานุการเอก เลขานุการโท และเลขานุการตรี ทั้งสามระดับอยู่รองลงมาจากตำแหน่งที่ปรึกษา (Counselor) ระดับทั้งหมดนี้มีฐานะทางการทูต มีเอกสิทธิ และความคุ้มกันทางการทูตทั้งมวล และชื่อจะปรากฎอยู่ในสมุดเอกสารรายชื่อบุคคลในคณะทูตตำแหน่งเลขานุการทางการ ทูตเหล่านี้ อย่าไปปนกับตำแหน่งเลขานุการส่วนตัวของเอกอัครราชทูต ซึ่งแม้จะมีฐานะสำคัญในสถานเอกอัครราชทูต แต่ไม่มีสถานภาพทางการทูตแต่อย่างใด รวมทั้งตำแหน่งเลขานุการ ซึ่งทำหน้าที่เสมียนจดชวเลขและพิมพ์ดีด [การทูต] | embassy | สถานเอกอัครราชทูต " ที่ทำการที่มีหัวหน้าสำนักงานในระดับเอกอัครราชทูตหรืออุปทูต ตำแหน่งต่าง ๆ ประจำสถานเอกอัครราชทูต มีดังนี้ Ambassador เอกอัครราชทูต Minister อัครราชทูต Minister Counsellor อัครราชทูตที่ปรึกษา Counsellor ที่ปรึกษา First Secretary เลขานุการเอก Second Secretary เลขานุการโท Third Secretary เลขานุการตรี Attaché ผู้ช่วยเลขานุการ นอกจากนี้ บางสถานเอกอัครราชทูต มีข้าราชการจากกระทรวงอื่น ๆ นอกเหนือจากกระทรวงการต่างประเทศไปปฏิบัติหน้าที่ด้วย เช่น ผู้ช่วยทูตฝ่ายทหาร ที่ปรึกษาฝ่ายการพาณิชย์ ที่ปรึกษาฝ่ายแรงงาน เป็นต้น " [การทูต] | First Secretary | เลขานุการเอก เป็นตำแหน่งชั้นเลขานุการทางการทูตที่สูงที่สุดในสถาน เอกอัครราชทูตอยู่เหนือเลขานุการโทและตรี หากว่าในสถานเอกอัครราชทูตใดไม่มีที่ปรึกษา เลขานุการเอกนี้จะทำหน้าที่บังคับบัญชารองลงมาจากเอกอัครราชทูต ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต [การทูต] | Immunity from Jurisdiction of Diplomatic Agents | ความคุ้มกันจากอำนาจศาลของตัวแทนทางการทูต ในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตรา 31 ว่า?1. ให้ตัวแทนทางการทูตได้อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางอาญาของรัฐผู้รับ ตัวแทนทางการทูตยังจะได้อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางแพ่ง และทางการปกครองของรัฐผู้รับด้วย เว้นแต่ในกรณีของก) การดำเนินคดีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ส่วนตัว ที่ตั้งอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับนอกจากตัวแทนทางการทูตครอบครองไว้ในนามของ รัฐผู้ส่งเพื่อความมุ่งประสงค์ของคณะผู้แทนข) การดำเนินคดีเกี่ยวกับการสืบมรดกซึ่งเกี่ยวพันถึงตัวแทนทางการทูตในฐานะผู้ จัดการมรดกโดยพินัยกรรม ผู้จัดการมรดกโดยศาลตั้งทายาท หรือผู้รับมรดกในฐานะเอกชน และมิใช่ในนามของรัฐผู้ส่งค) การดำเนินคดีเกี่ยวกับกิจกรรมใดในทางวิชาชีพ หรือพาณิชย์ ซึ่งตัวแทนทางการทูตได้กระทำในรัฐผู้รับ นอกเหนือจากการหน้าที่ทางการของตน 2. ตัวแทนทางการทูตไม่จำเป็นต้องให้การในฐานะพยาน 3. มาตรการบังคับคดี ไม่อาจดำเนินได้ในส่วนที่เกี่ยวกับตัวแทนทางการทูต เว้นแต่ในกรณีซึ่งอยู่ภายใต้อนุวรรค (ก) (ข) และ (ค) ของวรรค 1 ของข้อนี้ และโดยมีเงื่อนไขว่ามาตรการที่เกี่ยวข้องอาจดำเนินไปได้โดยปราศจากการละเมิด ความละเมิดมิได้ในตัวบุคคลของตัวผู้แทนทางการทูต หรือที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต 4. ความคุ้มกันของตัวแทนทางการทูตจากอำนาจศาลของรัฐผู้รับ ไม่ยกเว้นตัวแทนทางการทูตจากอำนาจศาลของรัฐผู้ส่ง?เกี่ยวกับความคุ้มกันตัว แทนทางการทูตจากขอบเขตของอำนาจศาลทางแพ่ง อาจกล่าวได้อย่างกว้างๆ ว่า ตัวแทนทางการทูตนั้นได้รับการยกเว้นจากอำนาจของศาลแพ่งในท้องถิ่นคือตัวแทน ทางการทูตนั้นได้รับการยกเว้นจากอำนาจของศาลแพ่งในท้องถิ่นคือตัวแทนทางการ ทูตจะถูกฟ้องมิได้ และถูกจับกุมมิได้เกี่ยวกับหนี้สิน รวมทั้งทรัพย์สินของเขา เช่น เครื่องเรือน รถยนต์ ม้า และสิ่งอื่นๆ ทำนองนั้นก็จะถูกยืดเพื่อใช้หนี้มิได้ ตัวแทนทางการทูตจะถูกกีดกันมิให้ออกไปจากรัฐผู้รับในฐานะที่ยังมิได้ชดใช้ หนี้สินของเขานั้นก็มิได้เช่นกัน อนึ่ง นักกฎมายบางกลุ่มเห็นว่า ตัวแทนทางการทูตจะถูกหมายศาลเรียกตัว (Subpoenaed) ไม่ได้ หรือแม้แต่ถูกขอร้องให้ไปปรากฎตัวเป็นพยานในศาลแพ่งหรือศาลอาญาก็ไม่ได้ อย่างไรก็ดี ถ้าหากตัวแทนทางการทูตสมัครใจที่จะไปปรากฏตัวเป็นพยานในศาล ก็ย่อมจะทำได้ แต่จะต้องขออนุมัติจากรัฐบาลในประเทศของเขาก่อน [การทูต] | Inter-Governmental Maritime Consultative Organization | องค์การที่ปรึกษาทางทะเลระหว่างรัฐบาล หมายถึงองค์การที่ปรึกษาเกี่ยวกับการเดินเรือทางทะเล ระหว่างรัฐบาล องค์การนี้มีฐานะเป็นองค์การชำนัญพิเศษแห่งหนึ่งขององค์การสหประชาชาติ ประเทศทั้งหมดรวม 35 ประเทศ ได้ประชุมร่วมกันจัดทำอนุสัญญาขององค์การนี้ขึ้นเป็นครั้งแรก ในการประชุมขององค์การที่ปรึกษาการเดินเรือทางทะเล ณ กรุงเจนีวา เมื่อวันที่ 6 มีนาคม ค.ศ. 1948 อนุสัญญามีผลบังคับใช้เมื่อ วันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 1958 เมื่อมีประเทศต่าง ๆ รวม 21 ประเทศได้ให้สัตยาบัน ซึ่งในจำนวนนี้ 7 ประเทศเป็นอย่างน้อยจะต้องมีเรือเดินทะเลของตนไม่น้อยกว่า 1 ล้านตัน (Gross tons) วัตถุประสงค์ขององค์การ IMCO คือ1. จัดวางกลไกเพื่อความร่วมมือกันระหว่างรัฐบาลประเทศสมาชิก ในด้านการวางระเบียบข้อบังคับของราชการ และการปฏิบัติซึ่งเกี่ยวข้องกับเรื่องทางวิชาการหรือเทคนิค รวมทั้งเรื่องที่เกี่ยวกับความปลอดภัยทางทะเล2. สนับสนุนให้มีการยกเลิกการกระทำที่เลือกที่รักมักที่ชัง และข้อจำกัดต่าง ๆ ที่ไม่จำเป็นของรัฐบาล3. รับพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติในทำนองตั้งข้อจำกัดอย่างไม่ยุติธรรมของบริษัท หรือองค์การเดินเรือทั้งหลาย4. รับพิจารณาเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเดินเรือ ที่องค์การหนึ่งใดหรือองค์การชำนัญพิเศษของสหประชาชาติส่งมาให้พิจารณา 5. จัดให้มีการแลกเปลี่ยนข่าวสารข้อสนเทศใด ๆ ระหว่างรัฐบาลเกี่ยวกับเรื่องที่องค์การ IMCO กำลังพิจารณาอยู่องค์การนี้ยังจัดให้มีการร่างอนุสัญญาและความตกลงต่าง ๆ รวมทั้งส่งข้อเสนอแนะเหล่านี้ไปให้รัฐบาล และองค์การระหว่างรัฐบาลทั้งหลาย รวมทั้งจัดการประชุมเท่าที่พิจารณาเห็นว่าจำเป็นองค์การนี้ประชุมกันทุกสอง ปี มีหน้าที่วางนโยบายเกี่ยวกับการเดินเรือทางทะเล ระหว่างสมัยประชุมจะมีคณะเจ้าหน้าที่ขององค์การ เรียกว่า คณะมนตรี (Council) ทำหน้าที่บริหารงานในองค์การ คณะมนตรีประกอบด้วยสมาชิก 16 คน ในจำนวนนี้ 8 คน เป็นผู้แทนจากประเทศที่สนใจให้การบริการเกี่ยวกับการเดินเรือระหว่างประเทศ และอีก 8 คนเป็นตัวแทนจากประเทศที่สนใจการค้าทางทะเลระหว่างประเทศ องค์การมีสำนักเลขาธิการ ประกอบด้วยตัวเลขาธิการ เลขานุการคณะกรรมการเกี่ยวกับความปลอดภัยทางทะเล และเจ้าหน้าที่ประจำตามจำนวนที่องค์การต้องการแล้วแต่กรณี สำนักงานใหญ่ขององค์การตั้งอยู่ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ [การทูต] | International Conferences | คือการประชุมระหว่างประเทศอย่างเป็นทางการระหว่าง ผู้แทนผู้มีอำนาจเต็มจากหลาย ๆ ประเทศ เพื่อพิจารณาหาทางระงับปัญหาระหว่างประเทศ การประชุมเช่นนี้บางทีเรียกว่า คองเกรสระหว่างประเทศ แม้จะเรียกต่างกัน แต่ก็ไม่มีอะไรแตกต่างกันที่สำคัญระหว่างสองคำนี้ บ้างมีความเห็นว่า ใช้คำคองเกรส ดูจะมีความสำคัญและมีลักษณะเป็นทางการมากกว่าใช้คำ คอนเฟอเรนซ์ผู้แทนจากประเทศที่ร่วมการประชุมในบางโอกาส ได้แก่บุคคลในระดับนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หรือเอกอัครราชทูต แล้วแต่ว่าการประชุมนั้น ๆ มีความสำคัญระดับใดในการประชุมระหว่างประเทศ แต่เดิมใช้ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศสกันมากทั้งสองภาษา มาในภายหลังมักนิยมใช้ภาษาอังกฤษเกือบทั้งหมด ส่วนการประชุมระหว่างประเทศที่องค์การสหประชาชาติเป็นผู้จัด จะใช้ภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน รัสเซีย และจีน รวม 5 ภาษาตามปกติ มักจะเลือกหัวหน้าคณะผู้แทนของประเทศเจ้าภาพให้ทำหน้าที่ประธานการประชุม ส่วนเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ของการประชุม ได้แก่ รองประธาน เลขานุการของการประชุม ประธานกรรมการ และผู้บันทึกรายงานสำหรับรายงานการประชุม ข้อมติของที่ประชุมและข้อเสนอแนะนั้น จะรวมเข้าไว้ในเอกสารที่เรียกว่า กรรมสารสุดท้าย (Final Act) ซึ่งผู้แทนประเทศผู้มีอำนาจเต็มจะเป็นผู้ลงนามในเอกสารนั้นในการประชุมครั้ง สุดท้าย [การทูต] | Subcommittee on Neighbouring Countries Economic Development Cooperation | คณะอนุกรรมการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับ ประเทศเพื่อนบ้าน มติคณะรัฐมนตรีเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2546 ให้จัดตั้งคณะอนุกรรมการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน (อพบ.) ซึ่งคณะกรรมการนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ได้มีคำสั่งที่ 4 / 2547 เมื่อ 6 พฤษภาคม 2547 จัดตั้ง อพบ. แล้ว โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศเป็นประธาน ผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจากภาครัฐและเอกชนเป็นอนุกรรมการ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติกับกรมเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศ กระทรวงการต่างประเทศเป็นอนุกรรมการและฝ่ายเลขานุการ อพบ. มีหน้าที่พิจารณากลั่นกรองเสนอแนะนโยบาย แผนงานและโครงการตามแผนงานการจัดระบบเศรษฐกิจตามแนวชายแดนและการพัฒนาความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งครอบคลุมการดำเนินงาน ACMECS ด้วย ทั้งนี้ ในส่วนของ ACMECS มีสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติทำหน้าที่เป็นหน่วย งานหลักในการประสานกับหน่วยงานภายในของไทยให้ดำเนินงานเป็นไปตามแผนปฏิบัติ การ และกระทรวงการต่างประเทศทำหน้าที่เป็นหน่วยงานหลักในการประสานกับประเทศ สมาชิก ACMECS [การทูต] | Waiver of Immunity | การสละความคุ้มกันทางการทูต ในเรื่องนี้บางประเทศออกกฎไว้ว่า ความคุ้มกันจากอำนาจทั้งทางแพ่งหรืออาญาของผู้แทนทางการทูตที่ประจำอยู่ใน ประเทศผู้รับ ตามที่กฎหมายระหว่างประเทศได้มอบให้ รวมทั้งคณะเจ้าหน้าที่ทางการทูตและบุคคลในครอบครัวของเขานั้น ย่อมสละมิได้ นอกจากจะได้รับความยินยอมอย่างชัดแจ้งจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่าง ประเทศของผู้นั้น เหตุผลของการออกกฎข้อนี้เป็นเพราะเขาถือว่า ความคุ้มกันนั้นมิได้เกี่ยวกับตัวเจ้าหน้าที่โดยตรงหากแต่เกี่ยวกับตำแหน่ง หน้าที่ของเขามากกว่าเรื่องการสละความคุ้มกันข้างต้น อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตรา 32 ว่า?1. ความคุ้มกันจากอำนาจศาลของตัวแทนทางการทูตและของบุคคลที่อุปโภคความคุ้มกัน ภายใต้ขอ้ 37 อาจสละได้โดรัฐผู้ส่ง 2. การสละต้องเป็นที่ชัดแจ้งเสมอ 3. การริเริ่มคดีโดยตัวแทนทางการทูต หรือโดยบุคคลที่อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลภายใต้ข้อ 37 จะกันตัวแทนทางการทูตหรือบุคคลนั้นจากการอ้างความคุ้มกันของอำนาจศาล ในส่วนที่เกี่ยวกับการฟ้องแย้งที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการเรียกร้องสิทธิ สำคัญนั้น 4. การสละความคุ้มกันจากอำนาจศาลในส่วนที่เกี่ยวกับคดีแพ่งหรือคดีปกครอง ไม่ให้ถือว่ามีนัยเป็นการสละความคุ้มกันในส่วนที่เกี่ยวกับการบังคับคดีตาม คำพิพากษา ซึ่งจำเป็นต้องมีการสละต่างหากอีก? [การทูต] | watershed | สันปันน้ำ แนวสันเขาซึ่งโดยปกติเป็นส่วนที่สูงที่สุดของภูเขาที่แบ่งน้ำให้ตกออกสอง ข้างของภูเขานั้น ๆ เป็นลักษณะทางธรรมชาติซึ่งรัฐที่เกี่ยวข้องอาจพิจารณานำมาใช้เป็นเส้นเขตแดน ระหว่างประเทศได้ เช่น สันปันน้ำของเทือกเขาตะนาวศรีเป็นเส้นเขตแดนระหว่างไทยกับพม่า [การทูต] | Flaccidity | กล้ามเนื้อขานิ่มปวกเปียก, กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก [การแพทย์] | Iceberg | ภูเขาน้ำแข็ง [การแพทย์] | Medical Secretaries | เลขานุการการแพทย์ [การแพทย์] |
| ขาน | [khān] (v) EN: call on ; announce FR: répondre à l'appel | ขาน | [khān] (n) EN: tiger FR: tigre [ m ] | ขานรับ | [khānrap] (v) EN: answer ; respond to | ขานรับนโยบาย | [khānrap nayōbāi] (v, exp) EN: ? FR: ? | เล่าขาน | [laokhān] (v) EN: tell ; narrate ; relate ; recount FR: raconter ; narrer | เลขานุการ | [lēkhānukān] (n) EN: secretary FR: secrétaire [ f ] | เลขานุการิณี | [lēkhānukārinī] (n) EN: woman private secretary ; secretary ; lady secretary FR: secrétaire particulière [ f ] | ไม้ตายขาน | [māi tāikhān] (n, exp) EN: row of dead wood-tree | ภูเขาน้ำแข็ง | [phūkhao nāmkhaeng] (n, exp) EN: iceberg FR: iceberg [ m ] | เรียกขาน | [rīek khān] (v, exp) EN: name ; call ; label | ตายขาน | [tāikhān] (v) EN: be dead in lines ; die without falling down |
| amanuensis | (n) เลขานุการ, Syn. secretary | call by2 | (phrv) เรียกชื่อ, See also: ประกาศชื่อ, ขานชื่อ, Syn. go by | call off | (phrv) ขาน (ชื่อ, คำฯลฯ), See also: เรียก, อ่าน, Syn. call over | darling | (n) คำเรียกขานแสดงการทักทาย (ใช้กับคนคุ้นเคย) เพื่อขึ้นต้นย่อหน้าในจดหมาย, See also: ที่รัก, ยอดรัก, สุดที่รัก, Syn. honey, sweetheart, dear | iceberg | (n) ภูเขาน้ำแข็ง, Syn. ice sheet, snowberg | number off | (phrv) ขานชื่อ, See also: เรียกชื่อ ทางทหาร | page | (vt) เรียก, See also: เรียกชื่อ, ขานชื่อ, Syn. hunt for, seek for, call the name of | roll call | (n) การเรียกชื่อ, See also: การขานชื่อ, การเช็คชื่อ | roll-call | (n) การเรียกชื่อ, See also: การขานชื่อ, การเช็คชื่อ | old fruit | (sl) คำเรียกขานด้วยความรัก | secretarial | (adj) เกี่ยวกับเลขานุการหรืองานเลขานุการ | secretariat | (n) เลขาธิการ, See also: กองเลขาธิการ, สำนักเลขาธิการ, สำนักงานเลขานุการ, เจ้าหน้าที่เลขานุการ, Syn. administration, bureau, department | secretary | (n) เลขานุการ, See also: ตำแหน่งเลขานุการ | self-styled | (adj) ซึ่งตั้งตัวเป็น, See also: ขนานนามตัวเอง, อ้างตัวเอง, แต่งตั้งตัวเอง, เรียกขานตัวเอง, ตั้งฉายาให้ตัวเอง, Syn. named, called, so-called, immodestly | snowberg | (n) ภูเขาน้ำแข็ง, Syn. iceberg | undersecretary | (n) ผู้ช่วยเลขานุการ | vocative | (adj) เกี่ยวกับคำนามที่ใช้เรียกขาน | vocative | (n) คำนามที่ใช้เรียกขาน | vocatively | (adv) อย่างเป็นคำนามที่ใช้เรียกขาน |
| amanuensis | (อะแมนนูเอน' ซิส) n., (pl. -ses) เลขานุการ, เจ้าหน้าที่คัดลอกหรือจดตามคำบอกหรือจดชวเลข (secretary) | chancellery | (ชาน'ชะเลอรี) n. ตำแหน่งเสนาบดี, สำนักงานเสนาบดี, รัฐมนตรี, ตำแหน่งอัครมหาเสนาบดีของบางประเทศ, สถานเอกอัครราชฑูต, สถานกงสุลใหญ่, เจ้าหน้าที่ทั้งหมดของสถานเอกอัครราชฑูต (หรือกงสุล) , เลขานุการเอกอัครราชทูต (หรือกงสุล) , นายกรัฐมนตรี (ของบางประเทศ) , ตุลาการใหญ่ของบางประเ | crier | (ไคร'เออะ) n. ผู้ร้อง, คนร้องขาย, เจ้าหน้าที่ศาลที่เรียกขาน, เจ้าหน้าที่ประกาศ | iceberg | (ไอซฺ'เบิร์ก) n. ภูเขาน้ำแข็ง | nomenclator | (โน'มันเคลเทอะ) n. คนขานชื่อ, | pager | (แพจ'เจอะ) n. เครื่องเรียกขานชื่อคน | private secretary | n. เลขานุการส่วนตัว | protect mode | ภาวะอารักขาหมายถึง แนวกั้น หรือแนวอารักขาในส่วนของแรม (RAM) ที่เป็น 386 หรือสูงกว่านั้น เพื่อไม่ให้มีการสับสนกัน เมื่อมีการปฏิบัติการมากกว่าสองโปรแกรมในเวลาเดียวกัน อย่างไรก็ตาม โปรแกรมระบบดอส (DOS) และวินโดว์ (Windows) ยังไม่สามารถใช้ภาวะอารักขานี้ได้ แต่จะใช้ได้ใน Windows NT และ OS/2 | respond | (รีสพอนดฺ') vi. ตอบ, พูดตอบ, ตอบสนอง, โต้ตอบ, ขานรับ, รับ, vt. พูดตอบ n. ผลตอบ, การตอบ, ฝาผนังที่ต่อกัน, Syn. reply, Ant. ignore | respondence | (รีสพอน'เดินซฺ) n. การตอบ, การตอบสนอง, การขานรับ, Syn. respondency | respondent | (รีสพอน'เดินทฺ) adj. เกี่ยวกับการตอบ, เกี่ยวกับการขานรับ n. ผู้ตอบ, ผู้โต้ตอบ, ผู้ตอบสนอง, จำเลย, ผู้แก้คำถาม | response | (รีสพอนซฺ') n. คำตอบ, การตอบ, คำรับ, ผลตอบ, ความรู้สึกตอบ, การโต้ตอบ, การขานรับ, Syn. answer, reply | roll call | n. การขานชื่อ, การเรียกชื่อ, เวลาขานชื่อ | secretarial | (เซคริแท'เรียล) adj. เกี่ยวกับเลขานุการ, เกี่ยวกับงานเลขานุการ | secretariat | (เซคริแท'เรียท) n. กองเลขาธิการ, สำนักงานเลขาธิการ, สำนักงานเลขานุการ, สำนักงานรัฐมนตรี, ตำแหน่งเลขาธิการ, ตำแหน่งรัฐมนตรี, ตำแหน่งเลขานุการ, เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานดังกล่าว | secretariate | (เซคริแท'เรียท) n. กองเลขาธิการ, สำนักงานเลขาธิการ, สำนักงานเลขานุการ, สำนักงานรัฐมนตรี, ตำแหน่งเลขาธิการ, ตำแหน่งรัฐมนตรี, ตำแหน่งเลขานุการ, เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานดังกล่าว | secretary | (เซค'ริเทอรี) n. เลขานุการ, เลขาธิการ, เลขานุการส่วนตัว, ผู้ทำหนังสือ, รัฐมนตรี, เจ้าหน้าที่ชั้นผู้ใหญ่ของรัฐ, โต๊ะเขียน, See also: secretaryship n. pl. secretaries, Syn. stenographer | usher | (อัช'เชอะ) n. เจ้าหน้าที่ต้อนรับ, เจ้าหน้าที่นำแขกไปยังที่นั่ง, เจ้าหน้าที่ขานชื่อ, เจ้าหน้าที่ส่งสาร, กองหน้า vt., vi. ทำหน้าที่เป็นเจ้าหน้าที่ดังกล่าว, นำ, แนะนำ, นำทาง, นำสู่, ส่งสาร., See also: ushership n., Syn. attendant, guid | vocative | (วอค'คะทิฟว) n., adj. (เกี่ยวกับ) การกที่เป็นนามเรียกขาน, See also: vocatively adv. |
| berg | (n) ภูเขาน้ำแข็ง | caller | (n) ผู้ขานชื่อ, ผู้เรียก, ผู้ไปเยี่ยม, ผู้มาหา | chancellor | (n) อธิการบดี, อัครมหาเสนาบดี, นายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรี, เลขานุการสถานทูตน | designate | (vt) กะ, เรียกขาน, ระบุ, ตั้งชื่อ, บ่งชี้, กำหนด | designation | (n) การแต่งตั้ง, ชื่อ, ตำแหน่ง, การตั้ง, การเรียกขาน, การระบุ | dub | (vt) ให้ฉายา, ขนานนาม, แต่งตั้ง, เรียกขาน | glen | (n) หุบเขาน้อยๆ | hillock | (n) ภูเขาน้อย, เนินเขา, โคก, ควน | iceberg | (n) ภูเขาน้ำแข็ง | respond | (vi) ขานรับ, ตอบ, ตอบสนอง | response | (n) การตอบสนอง, คำตอบ, การตอบ, การขานรับ, ผลตอบ | secretarial | (adj) เกี่ยวกับงานเลขานุการ, เกี่ยวกับเลขานุการ | secretary | (n) เลขาธิการ, เลขานุการ, รัฐมนตรี, โต๊ะเขียนหนังสือ | style | (vt) ขนานนาม, เรียกขาน, ตั้งชื่อ, ออกแบบ, ทำให้ทันสมัย |
| 秘書 | [ひしょ, hisho] (vt) เลขานุการ |
| 秘書 | [ひしょ, hisho] TH: เลขานุการที่ช่วยงานผู้บริหาร EN: (private) secretary |
| erreichen | (vt) |erreichte, hat erreicht| ไปถึง, ทำสำเร็จ Wann erreichen wir den Berggipfel? เมื่อไหร่เราจะถึงยอดเขานะ | immerhin | สุดท้ายแล้ว (ใช้บ่งว่า ไม่ควรเพิกเฉย) เช่น Du sollst ihm dabei helfen. Er ist immerhin dein Bruder. เธอควรช่วยเขานะ สุดท้ายแล้วเขาก็เป็นน้องชายของเธอเอง, Syn. schließlich | sich setzen | (vt) |setzte sich, hat sich gesetzt| นั่งลง, กำลังนั่งลง เช่น Er setzte sich zu uns im Restaurant. เขานั่งลงกับพวกเราในร้านอาหาร | stumm | (adj, adv) เป็นใบ้ หรือ ไม่ยอมพูด เช่น 1° Er sitzt die ganze Zeit stumm da. = เขานั่งเงียบไม่ยอมพูดอะไรตลอดเวลา 2° Meine einzige Tochter ist nach dem Unfall stumm geworden. = ลูกสาวคนเดียวของผมกลายเป็นใบ้หลังจากเกิดอุบัติเหตุครั้งนั้น | rauchen | (vi, vt) |rauchte, hat geraucht| สูบบุหรี่ เช่น Dass du rauchst, stört ihn. = ที่เธอสูบบุหรี่นะ รบกวนเขานะ |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |