ข้น | ว. ลักษณะของเหลวที่มีการรวมตัวกันแน่นเข้า, ไม่ใส | โลกายัต | น. ชื่อหนึ่งของลัทธิปรัชญาฝ่ายวัตถุนิยมของอินเดีย ถือว่าโลกนี้เกิดจากการรวมตัวกันเองของวัตถุธาตุ ๔ คือ ดิน นํ้า ไฟ ลม ชีพหรือชีวิตเป็นเพียงผลิตผลของวัตถุธาตุที่รวมตัวกันนั้น คนเราเกิดครั้งเดียว ตายแล้วขาดสูญ ไม่มีโลกหน้า จึงควรแสวงหากามสุขเสียแต่วันนี้ พรุ่งนี้เราอาจตาย, ลัทธินี้ทางพระพุทธศาสนาจัดเป็นอุจเฉททิฐิ แปลว่า ความเห็นว่าตายแล้วสูญ, จารวาก ก็เรียก. |
| Commonwealth of Independent States | เครือรัฐเอกราช " กลุ่มประเทศเครือรัฐเอกราชเกิดจากการรวมตัวกันของบรรดาประเทศเกิดใหม่ภาย หลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต (ยกเว้นประเทศ กลุ่มทะเลบอลติก 3 ประเทศ ได้แก่ ลิธัวเนีย แลตเวีย และเอสโตเนีย) ซึ่งได้ร่วมลงนามในปฏิญญา Alma-Ata ก่อตั้งเครือรัฐเอกราชเมื่อปี พ.ศ. 2534 ประกอบด้วยสมาชิก 12 ประเทศ ได้แก่ รัสเซีย ยูเครน เบลารุส มอลโดวา คาซัคสถาน อุซเบกิสถาน เติร์กเมนิสถาน คีร์กิซสถาน ทาจิกิสถาน อาร์เมเนีย อาเซอร์ไบจาน และจอร์เจีย " [การทูต] | civil society | ประชาสังคม หมายถึง สังคมที่ประชาชนในระดับต่าง ๆ มีการรวมตัวกันอย่างแข็งแกร่ง เพื่อที่จะเข้ามีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินทางเลือกสาธารณะ ที่มีผลกระทบต่อพัฒนาการในด้านต่าง ๆ ของท้องถิ่นและประเทศโดยรวม [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | security community | ประชาคมความมั่นคง เป็นการรวมตัวกันของบรรดาประเทศในภูมิภาคเพื่อศึกษาและเสริมสร้างความมั่นคง ของภูมิภาค โดยเน้นการส่งเสริมความร่วมมือบนพื้นฐานของแนวความคิดของความมั่นคงร่วมกัน [การทูต] | Coagulation | การรวมกลุ่ม, การแข็งตัว, ตะกอนรวมตัวกัน, การรวมตัวกัน, จับเป็นก้อน, การแข็งเป็นลิ่ม, การจับกลุ่ม, โคแอคกูเลชัน [การแพทย์] | Coalescence | การรวมตัวกัน, รวมตัวกัน, การเกิดโคอะเลสเซนส์, จับกันเป็นก้อน [การแพทย์] |
|
| The presence of the fleet and the persistence of rumors must be addressed. | การรวมตัวกันของกองทัพและข่าวลือต่างๆ ต้องได้รับการชี้แจง The Matrix Reloaded (2003) | In the CDC, we'd call this a statistically significant disease cluster. | ในดี.ซี. เราเรียกมันว่า ความสำคัญทางสถิติ การรวมตัวกันของกลุ่มโรค Pilot (2004) | I hate them worse than all the fucking Germans put together! | ฉันเกลียดมันยิ่งกว่าการรวมตัวกันของ ไอ้พวกเยอรมันซะอีก! Atonement (2007) | There is a gathering of world leaders not far from here. | มีการรวมตัวกันของผู้นำโลก อยู่ไม่ไกลจากที่นี่ The Day the Earth Stood Still (2008) | Thus, corals are born from the marriage of algae and shells. | เช่นปะการัง เกิดจากการรวมตัวกันของสาหร่ายและเปลือกแข็ง Home (2009) | This exclusive gathering of ours is now in its fourth year | การรวมตัวกันอย่างพิเศษของพวกเรา มันเริ่มมาเป็นปีที่ 4 แล้ว Invitation Only (2009) | I've got a small convention of agents gathered in my courtyard, and my team is in a high-level meeting. | มีการรวมตัวกันของสายลับ ที่สวนหน้าบ้านผม และทีมของผมก็กำลังประชุมสุดยอดกันอยู่ Chuck Versus the Predator (2009) | Congress revoked the right to group assembly. | รัฐสภา เพิกถอนสิทธิ การรวมตัวกันเป็นกลุ่ม The End (2009) | And integration is only the beginning. | และการรวมตัวกันก็เป็นเพียงจุดเริ่มต้น Frankie & Alice (2010) | It's a temporary gathering, | มันเป็นการรวมตัวกันชั่วคราว Mosley Lane (2010) | A Central African power block is formed, colonizing North Africa and Europe. | เกิดการรวมตัวกันของประเทศในแอฟริกากลาง เข้ายึดครองอเมริกาเหนือและยุโรป The Zazzy Substitution (2010) | Fresh manicures and tiny keyboards-- a deadly combination. | ทำเล็บใหม่ และคีย์บอร์ดจิ๋วนี่ การรวมตัวกันที่แย่สุดๆ Someone to Watch Over Me (2011) | Einstein furthermore realized that gravity is a manifestation of the curvature of space-time. | ไอสไตน์ ตระหนักยิ่ง แรงโน้มถ่วงที่มีการรวมตัวกันของ ความโค้งของพื้นที่เวลา Does Time Really Exist? (2011) | His kind wants to have meetings, and my kind needs to call it like it is. | คนประเภทเค้าต้องการรวมตัวกัน และคนประเภทผมก็ต้องการมันบ้างเหมือนกัน Sins of the Fathers (2011) | There's an opposition to speed boats. | จากการรวมตัวกันต่อต้านเรือเร็ว Episode #1.2 (2011) | Loosely comprised of early 20th-century modern artists who used wild brush strokes and bold colors while their subject matter exhibited a high degree of simplification and abstraction. | เป็นการรวมตัวกันอย่างอิสระของ ศิลปินแนวใหม่ในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 ซึ่งใช้ฝีแปรงที่ดุเดือดเพื่อ ลากเส้นและเน้นสี ขณะที่งานของพวกเขา ถูกจัดว่าอยู่ระดับสูงสำหรับ Tarantella (2012) | But, in fact, each one of us is actually made up of a dozen systems... _ | แต่ในความเป็นจริง เราแต่ละคนที่จริงแล้ว เกิดขึ้นจากการรวมตัวกันของหลายๆระบบ ขอโทษนะครับ... Entanglement (2012) | ...which, in turn, comprise 60 trillion cells, and those cells house countless proteins, | ...ในทางกลับกัน การรวมตัวกันของเซลล์ หกหมื่นล้าน และเซลล์เหล่านั้นเป็นที่อยู่ ของโปรตีนนับไม่ถ้วนชนิด Entanglement (2012) | We're gathering intel on the Libyan. | เราได้ข่าวการรวมตัวกันในลิเบีย Vengeance, Part 1 (2012) | Um, all right, so, I was thinking that if the angels are organizing, then that makes them a lot more dangerous than we thought. | เอ่อ เอางี้ ฉันกำลังคิดอยู่ว่า ถ้าเหล่าเทวทูตมีการรวมตัวกัน จนทำให้พวกเขามีจำนวนมากขึ้น ซ้ำยังอันตรายกว่าที่เราคิด I'm No Angel (2013) | Why do you think they're organizing? | ทำไมพี่คิดว่าพวกเขามีการรวมตัวกันล่ะ? I'm No Angel (2013) | It's a manifestation! | มันเป็นการรวมตัวกัน! A Haunted House 2 (2014) | There's a gathering today at Whitmore house. | วันนี้จะมีการรวมตัวกันที่บ้านวิทมอร์ Handle with Care (2013) |
| การรวมตัวกัน | [kān rūamtūa kan] (n, exp) EN: unification ; composition ; unification ; merger | การรวมตัวกันใหม่ | [kān rūamtūa kan mai] (n, exp) EN: reunification FR: réunification [ f ] |
| accumulation | (n) การเก็บสะสม, See also: การพอกพูน, การรวมตัวกันมากขึ้น, การเพิ่มจำนวนมากขึ้น, Syn. collection | collection | (n) การรวมตัวกันเป็นกลุ่มเป็นกอง, See also: การรวมกัน, Syn. accumulation, consolidation, agglomeration, amassment, gathering, assembling, amassing, accumulating, convening | get-together | (n) การเลี้ยงสังสรรค์กันอย่างไม่เป็นทางการ (คำไม่เป็นทางการ), See also: การรวมตัวกันอย่างไม่เป็นทางการ, การพบปะกัน, Syn. informal gathering | manifestation | (n) การชุมนุม, See also: การเดินขบวน, การรวมตัวกัน, การประชุม | nuclear fusion | (n) การรวมตัวกันของnucleiของอะตอมเพื่อสร้างnucleusที่หนักกว่า | reunification | (n) การรวมตัวกันใหม่ (หลังจากแบ่งแยก) | trust | (n) ระบบผูกขาดทางการค้า, See also: สหกรณ์บริษัท, การรวมตัวกันของบริษัท | unification | (n) การรวมตัวกัน, See also: กระบวนการรวมตัว, Syn. integration, solidarity | union | (n) การรวมตัวกัน, See also: การรวมกัน, Syn. blend |
| amphimixis | (แอมฟิมิค' ซิส) n., (pl. -mixes) n. การรวมตัวกันของเซลล์เพศ (ในขบวนการผสมพันธุ์กันแบบใช้เพศ) , การร่วมกันของเซลล์เพศพ่อและเซลล์เพศแม่ | anisogamous | (แอนนิซอก' กะมัส) adj. เกิดจากการรวมตัวกันของเซลล์เพศ (gametes) ที่ไม่เหมือนกันและมักมีขนาดต่างกัน -anisogamy n. | condensate | (คันเดน'เซท) n. สิ่งที่เกิดจากการรวมตัวกันแน่น | condensation | (คอนเดนเซ'เชิน) n. การรวมตัวกันแน่น, See also: condensative adj. ดูcondensation | ifips | (ไอฟิปส์) ย่อมาจาก International Federation of Information Processing Societies แปลว่า สหพันธ์สมาคมระหว่างประเทศเพื่อการประมวลผลสารสนเทศ เป็นองค์กรหนึ่งที่เกิดจากการรวมตัวกัน ในอันที่จะพัฒนาวิทยาการสารสนเทศ (information science) และการประมวลผลข้อมูลให้ก้าวหน้า | incorporation | (อินคอร์พะเร' เชิน) n. การรวมเข้าเป็นบริษัท, การรวมตัวกัน | precipitation | (พรีซิพ'พิเท'เชิน) n. การเร่งให้เกิดขึ้น, การตกตะกอน, การถลำเข้าสู่, การพุ่ง, การถลำ, ความใจร้อน, ความเร่งรีบ, ความหุนหันพลันแล่น, ตะกอน, ผลิตผลการรวมตัวกันของไอน้ำในอากาศ (ฝน, หิมะ, ลูกเห็บ, น้ำค้าง) , ปริมาณที่รวมตัวกันดังกล่าว | reunion | (รียู'เนียน) n. การรวมตัวกันใหม่, การชุมนุมกันใหม่, การทำให้สามัคคีกันใหม่, การพบกันใหม่, Syn. remeeting | unification | (ยูนิฟิเค'เชิน) n. การรวมตัวกัน, ความสอดคล้องกัน |
| | agglomerate | [อั๊คโกลเมอเรท, [ คำนี้เป็นคำที่ใช้เป็นทางการ นำไปใส่ใน paper งานวิจัยได้ ]] (n) กลุ่มก้อนใหญ่ๆที่เกิดจาการรวมตัวกันของสิ่งต่างๆกัน |
| 一部事業組合 | [いちぶじぎょうくみあい, ichibujigyoukumiai] (n, name) สหการ (เป็นองค์กรปกครองท้องถิ่นรูปแบบหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น ที่เกิดจากการรวมตัวกันขององค์กรปกครองท้องถิ่นมากกว่าหนึ่งแห่งในการทำกิจการอย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น สหการแข่งม้า ก็เป็นการรวมตัวขององค์กรปกครองท้องถิ่นเพื่อจัดการแข่งม้าและหารายได้เข้าสหการ จากนั้นสหการก็จะนำรายได้ที่เข้าสหการ นำไปแบ่งให้แก่เทศบาลหรือองค์กรปกครองท้องถิ่นที่เป็นสมาชิกของสหการ |
| |
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |