มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ | reference | (เรฟ'เฟอเรินซฺ) n. การอ้างอิง, การอ้างถึง, หนังสืออ้างอิง, เครื่องหมายอ้างอิง, บุคคลที่อ้างถึง, ความสัมพันธ์, หลักฐาน, หลักฐานที่ผู้สมัครงานอ้างถึง, Syn. mention, source | preference | (เพรฟ'เฟอเรินซฺ) n. การชอบมากกว่า, สิ่งที่ชอบมากกว่า, บุริมสิทธิ, สิทธิพิเศษ, การใช้สิทธิพิเศษ, Syn. partiality, choice |
|
| reference | (n) ข้ออ้างอิง, การอ้างอิง, หนังสืออ้างอิง, หนังสืออุเทศ | preference | (n) การชอบมากกว่า, ความสมัครใจ, การเลื่อนตำแหน่ง, บุริมสิทธิ์, สิทธิพิเศษ |
| | Reference book | หนังสืออ้างอิง [เทคโนโลยีการศึกษา] | Reference book | หนังสืออ้างอิง, Example: <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110328-reference-book-1.jpg" Title="Reference book" alt="Reference book"> <p>หนังสืออ้างอิง คือ หนังสือที่มุ่งเสนอเรื่องราวความรู้พื้นฐาน ข้อเท็จจริงต่างๆ ในหลายสาขาวิชาอย่างกว้างขวาง แต่กระทัดรัด ผู้อ่านไม่จำเป็นต้องอ่านทั้งเล่มแต่ใช้เป็นแหล่งค้นคว้าเฉพาะเนื้อหาบางส่วนที่ต้องการเท่านั้น โดยเป็นหนังสือที่เขียนและรวบรวมขึ้นโดยผู้ทรงคุณวุฒิและเชี่ยวชาญในสาขาวิชานั้นๆ เนื้อหาจึงเป็นที่น่าเชื่อถือและใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงได้ ขณะที่รูปเล่มส่วนใหญ่มีขนาดใหญ่ และหนากว่าหนังสือทั่วๆ ไป รวมถึงมีการพิมพ์ออกมาเป็นชุดๆ พร้อมทั้งมีการเรียบเรียงเนื้อหาอย่างเป็นระบบเพื่อความสะดวกในการเข้าถึงเนื้อหาของผู้อ่าน เช่น การเรียงตามลำดับอักษร เหตุการณ์ เขตภูมิศาสตร์ หมวดหมู่ นอกจากนี้ยังมีลักษณะพิเศษเพื่อความสะดวกในการค้นหาเนื้อหา เช่น อักษรนำเล่ม คำนำนาง ดัชนีหัวแม่มือ สารบัญ ดัชนี ส่วนโยง <p>ประเภทของหนังสืออ้างอิง แบ่งได้ 2 ประเภทหลัก คือ เนื้อหาวิชา และ หน้าที่ <p>1. เนื้อหาวิชา คือ หนังสืออ้างอิงทั่วไป ที่ให้ข้อเท็จจริงในสาขาวิชาต่างๆ อย่างกว้างขวาง ไม่จำกัดสาขาวิชา ซึ่งตรงข้ามกับหนังสืออ้างอิงเฉพาะสาขาวิชา ที่ให้ข้อเท็จจริงเฉพาะสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง <p>2. หน้าที่ คือ หนังสืออ้างอิงที่ให้ข้อเท็จจริงภายในเล่ม และ หนังสืออ้างอิงที่เป็นเครื่องชี้โยงไปหาข้อเท็จจริงในเล่มอื่น เช่น ดัชนีวารสารและบรรณานุกรม <p>หนังสืออ้างอิงประเภทต่างๆ <p>พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ เช่น ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ . พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2549. <p>สารานุกรม เช่น โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฉบับเสริมการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : โครงการ, 2548- <p>หนังสือรายปี เช่น สยามออลมาแนค : สารนิเทศและปูมปฎิทินการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ และข้อมูลสำคัญ. กรุงเทพฯ : บริษัทสยามบรรณ, 2527- <p>อักขรานุกรมชีวประวัติ เช่น คณะกรรมการรวบรวมและค้นคว้าเกี่ยวกับพระราชนิพนธ์ ฯลฯ ของพระบาทสม เด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว. อักขรานุกรมนามสกุลพระราชทานในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์, 2534. <p>นามานุกรม เช่น สีดา สอนศรี. นามานุกรมหน่วยราชการ รัฐวิสาหกิจ และองค์การระหว่างประเทศในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย, 2528- <p>หนังสืออ้างอิงภูมิศาสตร์ เช่น Britannica Altas. Chicago : Encyclopedia Britannica, 1987. <p>หนังสือคู่มือ เช่น ทวี แก้วมณี, ธนญา ตรึงตราจิตกุล, ชัยยา ศรีอำไพ. หนังสือคู่มือมาตรฐานและการทดสอบเครื่องเรือน. กรุงเทพฯ : ส่วนอุตสาหกรรมเครื่องเรือนและคอมโพสิท สำนักพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม, 2549. <p>ดัชนีวารสาร เช่น ธำรงค์ ชูทัพ, สุดาวรรณ เครือพานิช. ดัชนีวารสารการวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : กองวิจัยทางการศึกษา กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, 2535. <p>บรรณานุกรม เช่น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สำนักหอสมุด. บรรณานุกรม ดร.ป๋วย. [ กรุงเทพฯ ] : สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2529. <p>แหล่งข้อมูล: <p>Reitz, Joan M. ODLIS Online Dictionary for Library and Information Science. ABC-CLIO http://www.abc-clio.com/ODLIS/odlis_h.aspx (accessed MArch 27, 2011). <p>เพชรรัตน์ บริสุทธิ์. หนังสืออ้างอิง. สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี. http://human.tru.ac.th/elearning/tec_ban/tinfo04/index.html (สืบค้นเมื่อ 27 มีนาคม 2554). [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Reference books | หนังสืออ้างอิง [TU Subject Heading] | reference electrode | ขั้วไฟฟ้าอ้างอิง, ดู standard electrode [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Reference interview | การสัมภาษณ์เพื่อการอ้างอิง, Example: การสัมภาษณ์เพื่อการอ้างอิง (Reference interview) หมายถึง การหารายละเอียดจากผู้ที่มาใช้บริการช่วยการค้นคว้า เพื่อให้บรรณารักษ์ทราบแน่ชัดถึงความต้องการในการค้นคว้าของผู้ที่มาใช้บริการ เพื่อทราบพื้นความรู้ของลูกค้า และเพื่อให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ถึงความสามารถในการใช้หนังสืออ้างอิงของผู้ที่มาใช้บริการ เป็นการสื่อสารระหว่างบุคคลที่เกิดขึ้นระหว่างบรรณารักษ์อ้างอิงและผู้ที่มาใช้บริการช่วยการค้นคว้า เพื่อตรวจสอบความต้องการข้อมูลของบุคคล ซึ่งอาจจะแตกต่างจากคำถามอ้างอิงที่ตั้งคำถามเป็นครั้งแรก เพราะผู้ใช้บริการอาจจะไม่พูดโดยเฉพาะอย่างยิ่งการพบกันแบบตัวต่อตัว ความอดทนและความสามารถในการติดต่อของบรรณารักษ์ เพื่อให้ผู้ใช้ให้รายละเอียดมากที่สุด การสัมภาษณ์เพื่อการอ้างอิงอาจเกิดขึ้นโดยทางโทรศัพท์หรือทางอิเล็กทรอนิกส์ (ผ่านทางอีเมล์) ตามคำร้องขอของผู้ใช้ <br> แต่บรรณารักษ์อ้างอิงที่ได้รับการฝึกอบรมดีแล้ว บางครั้งจะเป็นฝ่ายเริ่มต้นการสื่อสารถ้าผู้ใช้ลังเลที่จะขอความช่วยเหลือ การหารายละเอียดจากการสัมภาษณ์เพื่อการอ้างอิงนี้ เพื่อให้ฝ่ายบรรณารักษ์ได้รับความกระจ่างมากพอที่จะสามารถหาคำตอบมาให้ผู้ใช้ได้ดีที่สุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Reference librarian | บรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า, Example: Reference librarian หมายถึง บรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า มีหน้าที่ให้บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้าหาคำตอบที่ผู้ใช้ห้องสมุดต้องการ และช่วยให้ผู้ใช้ห้องสมุดได้รับประโยชน์อย่างเต็มที่จากหนังสือและวัสดุต่าง ๆ ของห้องสมุด <p> คุณสมบัติของบรรณารักษ์บริการตอบคำถามฯ <p> ศาสตราจารย์คุณหญิงแม้นมาศ ชวลิต ได้ให้ทัศนะเกี่ยวกับคุณสมบัติที่ดีของบรรณารักษ์บริการตอบคำถามฯ ไว้ดังนี้ <p> - มีความรู้เกี่ยวกับหนังสืออ้างอิงเป็นอย่างดี มีความเข้าใจและคุ้นเคยกับแหล่งความรู้ที่มีอยู่ในห้องสมุด <p> - มีมนุษยสัมพันธ์อันดี <p> - มีความสนใจในวิชาการต่างๆ หมั่นศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอ <p> - มีความอดทน พากเพียร <p> - มีไหวพริบดีในการรวบรวม วิเคราะห์ปัญหาว่าอยู่ในแนวใด ควรหาคำตอบจากแหล่งใด <p> - มีความจำดี <p> - มีจินตนาการดี รู้จักการยืดหยุ่น ไม่ฝังความคิดไว้ในด้านเดียว <p> - ช่างสังเกต รอบคอบ <p> - ตัดสินใจดี รู้จักเลือกแหล่งคำตอบที่เหมาะสม <p> - รู้จักวิธีการพูดคุย ซักถามอย่างเป็นกันเองกับผู้ใช้ <p> - กระตือรือร้นที่จะช่วยเหลือผู้ใช้อยู่เสมอ <p> การให้บริการของบรรณารักษ์บริการตอบคำถามฯ นอกจากการให้บริการที่โต๊ะให้บริการตอบคำถามแล้ว ยังสามารถให้บริการโดยทางโทรศัพท์ โดยทางอี-เมล์ หรือโดยผ่านการสนทนาทางออนไลน์ อย่างไรก็ตาม บทบาทของบริการตอบคำถามในปัจจุบันกำลังเปลี่ยนไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ใช้ห้องสมุดสามารถใช้ Google และเข้าถึงแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ทางออนไลน์ได้มากขึ้น ดังนั้น บรรณารักษ์บริการตอบคำถามอาจไม่ต้องตอบคำถามหรือเก็บข้อมูลมากเหมือนในอดีต แต่ควรเน้นที่การให้คำแนะนำผู้ใช้ให้รู้จักวิธีค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเองจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ หรือช่วยแนะนำแหล่งความรู้ที่เป็นประโยชน์เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัยต่อไป [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Reference service | บริการตอบคำถาม [เทคโนโลยีการศึกษา] | Reference service | บริการตอบคำถาม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Reference services (Libraries) | บริการตอบคำถาม [TU Subject Heading] |
| | | | หนังสืออ้างอิง | (n) reference, See also: documentation, Syn. เอกสารอ้างอิง, Example: นักวิจัยจำเป็นต้องใช้หนังสืออ้างอิงจำนวนมากในการทำวิจัย, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: เอกสารที่ใช้ในการอ้างอิง | คำกล่าวอ้าง | (n) allusion, See also: reference, Example: สิ่งที่เขาพูดมาเป็นคำกล่าวอ้างที่ยกมาสนับสนุนพรรคพวกของตัวเองทั้งสิ้น, Thai Definition: คำอ้างถึงหรือระบุถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นหลัก | ข้ออ้างอิง | (n) reference, See also: base, Syn. คำอ้างอิง, Example: ตามหลักจิตวิทยาวิธีการนี้ไม่สามารถนำมาเป็นข้ออ้างอิงได้, Thai Definition: สิ่งที่ถือเป็นหลัก, สิ่งที่นำมากล่าวเป็นหลัก | บุคคลอ้างอิง | (n) reference |
| อ้างอิง | [āng-ing] (n) EN: reference FR: référence [ f ] ; note [ f ] | บุคคลอ้างอิง | [bukkhon āng-ing] (n, exp) EN: reference | บุคคลที่อ้างถึง | [bukkhon thī āng theung] (n, exp) EN: reference | คำอ้างอิง | [kham āng-ing] (n, exp) EN: reference | รหัสอ้างอิง | [rahat āng-ing] (n, exp) EN: reference |
| | | reference | (n) the most direct or specific meaning of a word or expression; the class of objects that an expression refers to, Syn. denotation, extension | reference | (n) the act of referring or consulting, Syn. consultation | reference | (n) a publication (or a passage from a publication) that is referred to, Syn. source | reference | (n) the relation between a word or phrase and the object or idea it refers to | reference | (v) refer to, Syn. cite | reference book | (n) a book to which you can refer for authoritative facts, Syn. reference, book of facts, reference work | reference grid | (n) a pattern of horizontal and vertical lines that provide coordinates for locating points on an image or a map | reference manual | (n) a manual containing information organized in a summary manner | reference point | (n) an indicator that orients you generally, Syn. reference, point of reference |
| Reference | n. [ See Refer. ] 1. The act of referring, or the state of being referred; as, reference to a chart for guidance. [ 1913 Webster ] 2. That which refers to something; a specific direction of the attention; as, a reference in a text-book. [ 1913 Webster ] 3. Relation; regard; respect. [ 1913 Webster ] Something that hath a reference to my state. Shak. [ 1913 Webster ] 4. One who, or that which, is referred to. Specifically; (a) One of whom inquires can be made as to the integrity, capacity, and the like, of another. (b) A work, or a passage in a work, to which one is referred. [ 1913 Webster ] 5. (Law) (a) The act of submitting a matter in dispute to the judgment of one or more persons for decision. (b) (Equity) The process of sending any matter, for inquiry in a cause, to a master or other officer, in order that he may ascertain facts and report to the court. [ 1913 Webster ] 6. Appeal. [ R. ] “Make your full reference.” Shak. [ 1913 Webster ] Reference Bible, a Bible in which brief explanations, and references to parallel passages, are printed in the margin of the text. [ 1913 Webster ]
|
| | | 参考(P);參考(oK) | [さんこう, sankou] (n, adj-no) (See 参考にする) reference; consultation; (P) #308 [Add to Longdo] | 参照 | [さんしょう, sanshou] (n, vs) reference; bibliographical reference; consultation; browsing (e.g. when selecting a file to upload on a computer); checking out; (P) #418 [Add to Longdo] | 文献 | [ぶんけん, bunken] (n) literature; books (reference); document; (P) #480 [Add to Longdo] | 設定 | [せってい, settei] (n, vs) (1) establishment; creation; posing (a problem); setting (movie, novel, etc.); scene; (2) { comp } options or preference settings (in computer software); configuration; assignment; setup; (P) #765 [Add to Longdo] | 基準(P);規準(P) | [きじゅん, kijun] (n, adj-no) standard; basis; criterion; norm; reference; datum; (P) #1,179 [Add to Longdo] | 引用 | [いんよう, inyou] (n, vs, adj-no) quotation; citation; reference; (P) #1,667 [Add to Longdo] | 言及 | [げんきゅう, genkyuu] (n, vs) reference; allusion; (P) #1,898 [Add to Longdo] | 兄 | [にい, nii] (n, n-suf) (1) (See 兄・あに) elder brother; (pn, adj-no) (2) (fam) (male) pronoun or suffix used in reference to an older brother figure; Mister; Mr #1,902 [Add to Longdo] | 趣味 | [しゅみ, shumi] (n) (1) hobby; pastime; (2) tastes; preference; liking; (P) #2,585 [Add to Longdo] | 優先 | [ゆうせん, yuusen] (n, vs, adj-no) preference; priority; precedence; (P) #3,130 [Add to Longdo] |
| クロスリファレンス | [くろすりふぁれんす, kurosurifarensu] cross reference [Add to Longdo] | クロスリファレンス形式 | [クロスリファレンスけいしき, kurosurifarensu keishiki] cross-referenced (a-no) [Add to Longdo] | ビュー基準座標系 | [ビューきじゅんざひょうけい, byu-kijunzahyoukei] view reference coordinates [Add to Longdo] | ビュー基準点 | [ビューきじゅんてん, byu-kijunten] view reference point [Add to Longdo] | フォント参照 | [フォントさんしょう, fonto sanshou] font reference [Add to Longdo] | レファレンス | [れふぁれんす, refarensu] reference [Add to Longdo] | 一般実体参照 | [いっぱんじったいさんしょう, ippanjittaisanshou] general entity reference [Add to Longdo] | 引数実体参照 | [ひきすうじったいさんしょう, hikisuujittaisanshou] parameter entity reference [Add to Longdo] | 引用 | [いんよう, inyou] citation, reference [Add to Longdo] | 下位参照 | [かいさんしょう, kaisanshou] subordinate reference [Add to Longdo] |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |