ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

-bibliographic-

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -bibliographic-, *bibliographic*
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Bibliographic citationการอ้างถึงทางบรรณานุกรม [เทคโนโลยีการศึกษา]
Bibliographic citationการอ้างถึงบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliographic controlการควบคุมทางบรรณานุกรม, Example: <p>การควบคุมทางบรรณานุกรม หมายถึง การเข้าถึงบันทึกความรู้ต่างๆ โดยการใช้บรรณานุกรม การควบคุมทางบรรณานุกรมช่วยให้ทราบว่ามีสิ่งพิมพ์หรือบันทึกความรู้ใดบ้างที่มีผู้บันทึกหรือจัดทำไว้ในสาขาวิชาต่างๆ ซึ่งสามารถเป็นเครื่องมือในการค้นคว้า นำออกมาใช้ได้ การควบคุมทางบรรณานุกรมสามารถทำได้โดย การจัดทำบรรณานุกรม ดรรชนี สาระสังเขป นามานุกรม เป็นต้น <p>องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ ได้มีรายงานเกี่ยวกับการปรับปรุงการควบคุมทางบรรณานุกรมที่ปารีส ค.ศ. 1950 ถึงความจำเป็นในการควบคุมทางบรรณานุกรม ว่าจำเป็นต้องมีการจัดทำบรรณานุกรมแห่งชาติเพื่อบันทึกหลักฐานของสิ่งพิมพ์และวัสดุความรู้อื่นๆ ที่ผลิตภายในประเทศ หน้าที่หนึ่งในจำนวนหน้าที่หลายประการขององค์การศึกษาฯ ก็คือ การปรับปรุงงานด้านการศึกษา ซึ่งรวมถึงกิจกรรมที่จัดทำขึ้นเพื่อปรับปรุงงานห้องสมุด งานด้านบรรณานุกรมและการผลิตสิ่งพิมพ์ <p>บทบาทขององค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติในการควบคุมบรรณานุกรมแห่งชาติ คือ <p>1. ร่วมกับหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ในการสำรวจงานด้านบรรณานุกรมและจัดพิมพ์ผลการสำรวจชื่อ Bibliographical Services : Their Present State and Posibilities of Improvement (ปี ค.ศ. 1953) <p>2. ชักชวนให้ทุกประเทศที่เป็นสมาชิกองค์การศึกษาฯ จัดทำบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ใหม่ๆ และร่วมมือในการให้ข้อมูลทางบรรณานุกรมแก่กัน จึงได้เริ่มรณรงค์เพื่อความร่วมกันดังกล่าว ตั้งแต่ ค.ศ. 1946 <p>3. จัดพิมพ์คู่มือการทำงานด้านการควบคุมทางบรรณานุกรม เขียนโดย Knud Larsen ชื่อ National Bibliographical Services : Their Creation and Operation และตีพิมพ์บทความ เขียนโดย Knud Larsen ในวารสาร Unesco Bulletin for Libraries ปีที่ 15 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม ค.ศ. 1961 กล่าวถึง หน้าที่ของศูนย์บรรณานุกรมแห่งชาติ ซึ่งมีความสำคัญในการส่งเสริมให้มีกิจกรรมทางบรรณานุกรม <p>4. สำรวจและจัดพิมพ์ Guide to National Bibliographical Centeres (ปี ค.ศ. 1970) <p>5. การส่งเสริมการก่อตั้งระบบสารนิเทศแห่งชาติ (National Information System หรือ NATIS) วัตถุประสงค์ของระบบสารนิเทศแห่งชาติ คือ การสร้างโครงงานสำหรับกิจกรรมเพื่อที่จะประสานงานกันในงานสารนิเทศของประเทศต่างๆ ช่วยให้รัฐบาลของประเทศต่างๆ มองเห็นแนวทางที่จะดำเนินงานนี้ร่วมกัน และมุ่งจะช่วยให้ประเทศที่มีพัฒนาการต่างกันได้ประโยชน์จากระบบสารนิเทศของโลกทั่วกัน และมีส่วนร่วมในการกระจายสารนิเทศสองทาง คือ เป็นผู้ให้สารนิเทศและเป็นผู้ที่รับสารนิเทศด้วย องค์การศึกษาฯ ได้กำหนดให้ประเทศต่างๆ จัดกิจกรรมต่างๆ โดยให้ความสนับสนุนเพื่อให้ความพยายามที่จะควบคุมบรรณานุกรมสากล (Universal Bibliographical Control หรือ UBC) โดยให้เข้าถึงข้อมูลทางบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ทุกชิ้นโดยที่มีการบันทึกหลักฐานทางบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ไว้ในแบบแผนที่เป็นสากล <p>บรรณานุกรม <p>สุนทรี หังสะสูต. การควบคุมทางบรรณานุกรมเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2523 [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliographic formatรูปแบบการลงรายการทางบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliographic instructionการสอนการเข้าถึงบรรณานุกรม, Example: <b>การสอนการเข้าถึงบรรณานุกรม (Bibliographic instruction)</b> เป็นบริการที่บรรณารักษ์ต้องเป็นผู้ให้ บริการแก่ผู้ใช้โดยการสอนหรือสร้างทักษะการรู้สารสนเทศให้แก่ผู้ใช้ ประกอบด้วยโปรแกรมการเรียนการสอนที่ออกแบบมาเพื่อสอนผู้ใช้ห้องสมุดเกี่ยวกับวิธีการค้นหาข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องการได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพเป็นการช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารสนเทศได้ด้วยตนเอง ในการสอนมักจะครอบคลุมถึงระบบของห้องสมุด โครงสร้างของวรรณกรรมในสาขา วิธีการวิจัยที่เหมาะสมในสาขาวิชา ทรัพยากรโดยเฉพาะ และเครื่องมือที่ใช้ในการค้นหา (บัตรรายการห้องสมุด ดัชนีและบริการสาระสังเขป ฐานข้อมูลบรรณานุกรม ฯลฯ ) โดยการสอนแนวคิดและตรรกะในการเข้าถึงสารสนเทศและการประเมินผล และโดยสนับสนุนความเป็นอิสระของสารสนเทศและการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การสอนการใช้ห้องสมุดเกิดขึ้นในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ในชั้นเรียนแบบเป็นทางการ ในกลุ่มขนาดเล็ก การพบกันแบบตัวต่อตัว การนำเสนอด้วยวีดิทัศน์และคอมพิวเตอร์ช่วยสอน<br> <br>ในห้องสมุดมหาวิทยาลัย การสอนการเข้าถึงบรรณานุกรมอาจเป็นการสอนโดยให้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาหรือเป็นการสอนแบบบูรณาการกับรายวิชาอื่นในหลักสูตร ห้องสมุดที่มีห้องปฏิบัติการการเรียนการสอนคอมพิวเตอร์ที่มีอุปกรณ์ครบครันสามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการสอนเกี่ยวกับการใช้บัตรรายการออนไลน์ ฐานข้อมูลบรรณานุกรม และทรัพยากรอินเทอร์เน็ต ซึ่งหน้าที่สอนการเข้าถึงรายการบรรณานุกรมเป็นหน้าที่หลักสำคัญของบรรณารักษ์ผู้ให้บริการที่ได้รับการฝึกอบรมเป็นพิเศษและมีประสบการณ์ในด้านวิธีการสอน อย่างไรก็ตามการสอนการเข้าถึงบรรณานุกรมโดยให้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาที่เรียนในหลักสูตรนั้น คณาจารย์อาจต้องร่วมมือกับบรรณารักษ์ของห้องสมุด เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิธีค้นสารสนเทศด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป นอกจากนั้นห้องสมุดมหาวิทยาลัยบางแห่งอาจจัดช่วงเวลาให้กับผู้ใช้ที่ทำวิจัย โดยบรรณารักษ์จะทำงานกับผู้ใช้แบบหนึ่งต่อหนึ่งเพื่อช่วยให้คำปรึกษาการทำวิจัยแก่ผู้ใช้ที่ทำวิจัยโดยเฉพาะ [Assistive Technology]
Bibliographic serviceบริการจัดทำบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]

English-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
bibliographic(n) รายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศ

CMU English Pronouncing Dictionary Dictionary [with local updates]
bibliographic
bibliographical

WordNet (3.0)
bibliographic(adj) relating to or dealing with bibliography, Syn. bibliographical

The Collaborative International Dictionary of English (GCIDE) v.0.53
Bibliographical

{ } a. [ Cf. F. bibliographique. ] Pertaining to bibliography, or the history of books. -- Bib`li*o*graph"ic*al*ly, adv. [1913 Webster]

Variants: Bibliographic

Chinese-English: CC-CEDICT Dictionary
传略[zhuànlu:è, ㄓㄨㄢˋlu:ㄜˋ,   /  ] bibliographic sketch #92,885 [Add to Longdo]
传记性[zhuàn jì xìng, ㄓㄨㄢˋ ㄐㄧˋ ㄒㄧㄥˋ,    /   ] bibliographic #276,482 [Add to Longdo]

German-English: TU-Chemnitz DING Dictionary
bibliographische Beschreibung { f }bibliographic description [Add to Longdo]

Japanese-English: EDICT Dictionary
参照[さんしょう, sanshou] (n, vs) reference; bibliographical reference; consultation; browsing (e.g. when selecting a file to upload on a computer); checking out; (P) #418 [Add to Longdo]
書誌参照[しょしさんしょう, shoshisanshou] (n) bibliographic reference [Add to Longdo]
書誌標示[しょしひょうじ, shoshihyouji] (n) bibliographic identification; biblid [Add to Longdo]
書誌要素[しょしようそ, shoshiyouso] (n) bibliographic element [Add to Longdo]
著作目録[ちょさくもくろく, chosakumokuroku] (n) bibliographical catalogue; author bibliography [Add to Longdo]

Japanese-English: COMPDICT Dictionary
参照[さんしょう, sanshou] bibliographical reference [Add to Longdo]
書誌参照[しょしさんしょう, shoshisanshou] bibliographic reference [Add to Longdo]
書誌要素[しょしようそ, shoshiyouso] bibliographic element [Add to Longdo]

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?



Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top