ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ขึ้น, - ขึ้น- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ inland taipan | [อินแลด์ ไทพัน] (n) งูชนิดหนึ่งอาศัยอยู่ในประเทศออสเตรเลียบริเวณแห้งแล้ง ชอบอากาศเย็น ออกล่าเหยื่อในตอนกลางคืนหรือตอนอากาศเย็น ขึ้นชื่อได้ว่าเป็นงูที่มีพิษร้ายแรงทีั่สุดในโลกด้วยพิษมีปล่อยมาเพียงแค่ 44 มิลลิกรัมต่อครั้ง แต่มีความรุนแรงกว่างูเห่าอินเดียถึง 50 เท่า |
|
| กุศล | (n, adj, adv) การกระทำที่เกี่ยวข้องกับการยกระดับจิตใจให้ดีขึ้น ปรับปรุงจิตใจให้ดีขึ้น มากกว่าทำความดีเฉย ๆ การกระทำใด ๆ หากทำแล้วมีผลต่อสภาวะจิตใจของตนเปลี่ยนไปในทางที่สูงขึ้น จึงเรียกว่ากุศล หากการกระทำดีนั้น ๆ ไม่ได้มีผลเปลี่ยนแปลงจิตใจตนเองเลย ไม่เรียกว่ากุศล แต่เรียกว่า กรรมดี โดยทั่วไป มักจะใช้คู่กันกับคำว่า บุญกุศล แต่คำว่า บุญ กับ กุศล ความหมายต่างกัน (เขียนก็ไม่เหมือนกันแล้วจะให้ความหมายเหมือนกันได้อย่างไร) ตัวอย่าง 1. นาย กอ เป็นคนรวย ชอบที่จะให้ทาน เพราะเขาหวังว่า การให้ทานของเขาจะส่งผลทำให้เขารวย ยิ่ง ๆ ขึ้นไป และอาจจะได้ไปสวรรค์ หลังจากที่เขาตายไป - อันนี้นาย กอ ทำกรรมดี หรือทำบุญ แต่ไม่ได้เกิดกุศลในจิต หรือเกิดขึ้นน้อยมาก เพราะเขาทำทานก็จริง แต่ไม่มีผลทำให้จิตใจของเขาวางลงจากความโลภ หรืออยากเลย 2. นาย ขอ เป็นคนชั้นกลาง เขาเห็นเด็กกำพร้ามากมายเกิดขึ้น เขาจึงรู้สึกอยากที่จะช่วยเหลือเด็กเหล่านั้น จึงประหยัดค่าใช้จ่ายของตัวเองมากขึ้น เพื่อที่จะให้ตัวเองมีเงินเหลือมากขึ้น เพื่อที่จะแบ่งไปบริจาคเด็กเหล่านั้น เพื่อที่เด็กเหล่านั้นจะได้โตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ที่ดีต่อไป - อันนี้ นาย ขอ ทำทั้งกุศล และบุญ เพราะมีผลที่ทำให้เขาต้องประหยัด อดออมมากขึ้น และการประหยัดอดออมนี้เอง จะทำได้ก็คือต้องปล่อยวางความอยากของตนเอง และทำเพราะในใจเกิดจิตเมตตากรุณา |
| กกช้าง | น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Typha angustifolia L. ในวงศ์ Typhaceae ขึ้นในนํ้า ช่อดอกคล้ายธูปขนาดใหญ่, กกธูป ธูปฤๅษี ปรือ หรือ เฟื้อ ก็เรียก. | กรม ๓ | (กฺรม) น. หมู่เหล่าอันเป็นที่รวมกำลังไพร่พลของแผ่นดินตามลักษณะปกครองสมัยโบราณ เพื่อประโยชน์ในราชการและเวลาเกิดศึกสงคราม จะได้เรียกระดมคนได้ทันท่วงที บรรดาชายฉกรรจ์ต้องเข้าอยู่ในกรมหรือในหมู่เหล่าใดเหล่าหนึ่ง เรียกว่า สังกัดกรม มีหัวหน้าควบคุมเป็นเจ้ากรม ปลัดกรม ตามลำดับ ซึ่งเมื่อพระเจ้าแผ่นดินทรงตั้งให้เจ้านายปกครองเป็นองค์ ๆ เรียกว่าตั้งกรม แล้ว เจ้านายพระองค์นั้นก็ ทรงกรม เป็น เจ้าต่างกรม เพราะมีกรมขึ้นต่างหากออกไปเป็นกรมหนึ่ง มีอำนาจตั้งเจ้ากรม ปลัดกรม เป็น หมื่น ขุน หลวง พระ พระยา ได้ และเรียกชื่อกรมนั้น ๆ ตามบรรดาศักดิ์เจ้ากรมว่า กรมหมื่น กรมขุน กรมหมื่น กรมขุน กรมหลวง กรมหลวงกรมพระ และกรมพระยา หรือ เมื่อจะทรงกรมสูงขึ้นกว่าเดิม ก็โปรดให้ เลื่อนกรม ขึ้น โดยเจ้ากรมมีบรรดาศักดิ์เลื่อนขึ้น เช่นจากหมื่นเป็นขุน, มาในปัจจุบันชื่อกรมเหล่านี้มีความหมายกลายเป็นพระอิสริยยศและพระนามเจ้านายเท่านั้น. | กรวย ๒ | น. ชื่อไม้ต้นชนิด Horsfieldia irya (Gaertn.) Warb. ในวงศ์ Myristicaceae ขึ้นตามฝั่งนํ้าลำคลอง ใบเป็นมันคล้ายใบจำปี แต่เรียวและนิ่มกว่า ดอกสีเหลือง ผลกลมเป็นพวงคล้ายมะไฟ, กรวยบ้าน ก็เรียก. | กระจับ ๑ | น. ชื่อไม้นํ้าหลายชนิดในสกุล Trapa วงศ์ Trapaceae ขึ้นลอยอยู่ในนํ้าโดยอาศัยก้านใบเป็นทุ่น ฝักแก่สีดำแข็ง มี ๒ เขา คล้ายเขาควาย เนื้อในขาว รสหวานมัน | กระเจา | น. ชื่อไม้ล้มลุกหลายชนิดในสกุล Corchorusวงศ์ Tiliaceae ขึ้นอยู่ในที่ลุ่ม เปลือกต้นเหนียว เมื่อลอกออกแล้ว เรียกว่า ปอ เช่น ปอกระเจาฝักกลม ( C. capsularis L.) ผลป้อม เปลือกย่นเป็นตุ่ม ๆ ใบใช้เป็นอาหารได้, พายัพเรียก เส้ง, และปอกระเจาฝักยาว ( C. olitorius L.) ฝักยาวเรียวมีสันตามยาว, เมล็ดของปอทั้ง ๒ ชนิดนี้มีพิษ ปอใช้ทำกระสอบ. | กระแจะ ๒ | น. ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Naringi crenulata (Roxb.) Nicolson ในวงศ์ Rutaceae ขึ้นในป่าเบญจพรรณ ต้นและกิ่งมีหนามเปลือกขรุขระสีเทา ดอกเล็กสีขาวเป็นช่อสั้น ยาวประมาณ ๒ เซนติเมตร กลิ่นหอมอ่อน ท่อนไม้ฝนกับนํ้าใช้เป็นเครื่องประทิ่นผิว รากใช้ทำยา, กะแจะ ขะแจะ ตุมตัง หรือ พญายา ก็เรียก. | กระเฉด | น. ชื่อไม้นํ้าชนิด Neptunia oleracea Lour. ในวงศ์ Leguminosae ขึ้นลอยอยู่ในนํ้า ลำต้นอ่อนอุ้มน้ำ มีปลอกเป็นปุยขาว ๆ เป็นทุ่น เรียกว่า นม ใบย่อยเล็กเมื่อถูกสัมผัสก็หุบราบไป ดอกสีเหลืองเล็กออกชิดกันเป็นช่อกลม ลำต้นและใบใช้เป็นอาหารได้, พายัพเรียก ผักหนอง, คำสุภาพเรียกว่า ผักรู้นอน. | กระเชา | น. ชื่อไม้ต้นผลัดใบขนาดใหญ่ชนิด Holoptelea integrifolia (Roxb.) Planch. ในวงศ์ Ulmaceae ขึ้นอยู่ทั่วไป ผลแบนบางเป็นปีกโดยรอบ เนื้อไม้สดสีเหลืองมะนาว เมื่อแห้งเป็นสีนวล แข็งพอประมาณ ใช้ในการก่อสร้างที่ไม่ต้องรับนํ้าหนักมากนัก ทำเครื่องเรือน แกนร่ม ก้านและกล่องไม้ขีดไฟ, บางทีเรียก กระเจา หรือ กระจาว, พายัพและปักษ์ใต้เรียก กระเจ้า ขจาว หรือ ขเจา. | กระด้าง ๑ | ชื่อเห็ดหลายชนิดในวงศ์ Polyporaceae ขึ้นบนขอนไม้ เนื้อเหนียว กินไม่ได้ เช่น ชนิด Daedaleaopsis confragosa (Bolt. ex Fr.) Schroet. ดอกเห็ดรูปพัด สีน้ำตาลแดงสลับน้ำตาลอ่อน ผิวไม่เรียบ ด้านล่างมีรู เนื้อในเห็ดแข็ง. | กระดูกอ่อน | ว. ที่ยังไม่มีความจัดเจนในการต่อสู้ เช่น นักมวยคนนี้กระดูกอ่อน ขึ้นชกครั้งแรกก็แพ้เขาแล้ว. | กระดูกค่าง | น. ชื่อไม้ต้นชนิด Diospyros undulata Wall. ex G. Don var. cratericalyx (Craib) Bakh. ในวงศ์ Ebenaceae ขึ้นในป่าดิบ มีมากทางภาคใต้ สูงได้ถึง ๒๐ เมตร ไม่ผลัดใบ, จะเพลิง ชะเพลิง คำดีควาย ดูกค่าง ตะโกดำ พลับเขา ไหม้ หม้าย หรือ สะลาง ก็เรียก. | กระดูกอึ่ง | ชนิด D. lanceolatum (Dunn) Schindl. ขึ้นตามป่าผลัดใบที่มีต้นไผ่ สูงประมาณ ๑ เมตร ใบรูปไข่กลับ โคนใบสอบ, กระดูกเขียด แกลบหนู แกลบหูหนู แปรงหูหนู หรือ อึ่งใหญ่ ก็เรียก | กระไดลิง ๒ | น. ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Bauhinia scandens L. var. horsfieldii (Miq.) K. Larson et S.S. Larsen ในวงศ์ Leguminosae ขึ้นในป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณที่ชุ่มชื้นทั่วไป และตามริมแม่นํ้าลำคลอง เถาแบนยาว งอกลับไปกลับมาคล้ายขั้นบันได ดอกเล็ก สีขาว ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง เปลือกเหนียวใช้แทนเชือก เถาใช้ทำยาได้, กระไดวอก มะลืมดำ บันไดลิง หรือ ลางลิง ก็เรียก. | กระต่ายจาม | น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Centipeda minima (L.) A. Braun et Asch. ในวงศ์ Compositae ขึ้นตามพื้นที่ลุ่มตํ่า แฉะ ต้นเตี้ยติดดินคล้ายต้นผักเบี้ย ใบเล็กเว้าข้างทั้ง ๒ ด้าน ปลายใบแหลมคล้ายสามง่าม ใบมีกลิ่นเหม็น ใช้ทำยาได้ แต่เป็นพิษต่อปศุสัตว์, กระต่ายจันทร์ สาบแร้ง หญ้ากระจาม หญ้าจาม หรือ เหมือดโลด ก็เรียก. | กระแตไต่ไม้ ๒ | น. ชื่อเฟินอิงอาศัยชนิด Drynaria quercifolia (L.) J. Sm. ในวงศ์ Polypodiaceae ขึ้นเกาะตามต้นไม้ใหญ่ในป่าที่ชุ่มชื้น เหง้ามีขนเป็นปุยสีนํ้าตาลแก่คล้ายกระแต ใบมี ๒ ชนิด คือ ใบสร้างอับสปอร์ ยาวประมาณ ๑ เมตร เว้าเป็นแฉกลึกเกือบถึงเส้นกลางใบ และมีอับสปอร์เป็นจุด ๆ สีนํ้าตาลเข้มใต้ใบ ใบไม่สร้างอับสปอร์ ขนาดประมาณฝ่ามือ ขอบจักหยาบ ๆ สีนํ้าตาล แข็งติดอยู่กับเหง้าจนผุ ไม่หล่นเหมือนใบสร้างอับสปอร์ ทำหน้าที่กักปุ๋ย, กระปรอกว่าว ใบหูช้าง สไบนาง สะโมง หรือ หัวว่าว ก็เรียก. | กระทุ | น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Rhodomyrtus tomentosa (Aiton) Hassk. ในวงศ์ Myrtaceae ขึ้นชุมตามป่าโปร่งทางปักษ์ใต้ ใบหนา สีเขียวแก่ ออกเป็นคู่ ๆ ตามกิ่ง บางทีออกเป็น ๓ ใบจากข้อเดียวกัน ด้านล่างของใบมีขนทึบสั้น ๆ ดอกสีชมพู สัณฐานคล้ายกุหลาบลาขนาดเล็ก ๆ ออกตามง่ามใบ ดอกเดี่ยวหรือเป็นช่อ ๒-๓ ดอกก็มี ผลกลม เมื่อสุกสีม่วงดำ กินได้ มีรสหอมหวาน, ทุ พรวด พรวดใหญ่ หรือ พรวดกินลูก ก็เรียก. | กระบาก | น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่หลายชนิดในสกุล Anisoptera วงศ์ Dipterocarpaceae ขึ้นในป่าดิบทั่วไป ลำต้นตรง สูง ๓๐-๔๐ เมตร เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้างที่ไม่ต้องรับนํ้าหนัก โดยมากใช้เป็นไม้แบบหล่อคอนกรีต. | กระเบียน | ชื่อไม้ต้นผลัดใบขนาดเล็กชนิด Ceriscoides turgida (Roxb). Tirveng ในวงศ์ Rubiaceae ขึ้นในป่าเต็งรังและป่าเบญจพรรณ ต้นมีหนามห่าง ๆ เปลือกเรียบ ดอกเมื่อแรกบานสีขาว แล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลืองอ่อน ผลคล้ายละมุดฝรั่ง แต่สุกแล้วแข็ง, กระดานพน มะกอกพราน หมุยขาว หรือ หัวโล้น ก็เรียก. | กระพี้เขาควาย | น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ชนิด Dalbergia cultrata Graham ex Benth. ในวงศ์ Leguminosae ขึ้นตามป่าเบญจพรรณและป่าทุ่งทั่วไป เว้นแต่ปักษ์ใต้ แก่นสีดำแข็งและหนักมาก ใช้ทำเครื่องเรือน เพลาเกวียน และด้ามเครื่องมือต่าง ๆ. | กระสอบทราย | น. ถุงผ้าใบหรือหนัง ลักษณะคล้ายหมอนข้างขนาดใหญ่ เดิมบรรจุทราย ปัจจุบันบรรจุขี้เลื่อย เศษผ้า หรือฟองน้ำ อัดแน่น เป็นอุปกรณ์อย่างหนึ่งในการฝึกซ้อมของนักมวยเพื่อฝึกการชก เตะ ขึ้นเข่า เป็นต้น, โดยปริยายเรียกผู้ที่ถูกทำร้ายร่างกายอย่างบอบช้ำ เนื่องจากถูกชก เตะ ต่อย โดยไม่มีทางสู้หรือไม่กล้าต่อสู้. | กระสัง ๑ | น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Piperomia pellucida (L.) Humb. Bonpl. et Kunth ในวงศ์ Piperaceae ขึ้นอยู่ทั่วไปตามที่ชื้น ลำต้นอวบนํ้า. | กระหย่อน | ก. ขย้อน คือ อาการขยับขึ้นขยับลง เช่น พระยานั่งอยู่แลกระหย่อนองค์โลดขึ้นทั้งนั้นก็ดี ขึ้นสูงได้ ๑๘ ศอก (ไตรภูมิ; สรรพสิทธิ์; พงศ. เหนือ), กระย่อน ก็ใช้. | กระเหม่น | (-เหฺม่น) ก. เขม่น คือ อาการที่กล้ามเนื้อกระตุกเต้นเบา ๆ ขึ้นเอง ตามความเชื่อโบราณถือว่าเป็นนิมิตบอกเหตุร้ายหรือดีได้ เช่น กระเหม่นตา | กราด ๔ | (กฺราด) น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Dipterocarpus intricatus Dyer ในวงศ์ Dipterocarpaceae ขึ้นในป่าเต็งรัง ต้นมียางเหนียว เจาะเอานํ้ามันยางได้, ยางกราด เหียงกราด ตะแบง หรือ สะแบง ก็เรียก. | กลองทัด | น. ชื่อกลองชนิดหนึ่ง มีรูปทรงกระบอก ตรงกลางป่องออกเล็กน้อย ขึ้นหนัง ๒ หน้า มีหูเรียกว่า หูระวิง สำหรับร้อยไม้ขาหยั่ง ใช้บรรเลงในวงปี่พาทย์ ชุดหนึ่งอาจมี ๒-๓ ใบ, ถ้าใช้ใบเดียวแขวนที่หอกลองในวัด เรียกว่า กลองเพล. | กลองมริกัน | น. ชื่อกลองฝรั่งชนิดหนึ่ง มีขนาดใหญ่ ขึ้นหนัง ๒ หน้า และตีทั้ง ๒ หน้า ให้เสียงสอดสลับกัน ใช้ไม้ตีข้างละอัน การบรรเลงอาจใช้แขวนหรือวางในแนวตั้ง หรือคล้องคอตีในการบรรเลงในขบวนก็ได้. | กลองมลายู | น. ชื่อกลองชนิดหนึ่ง รูปร่างลักษณะอย่างเดียวกับกลองแขก แต่ตัวกลองสั้นและอ้วนกว่า สายโยงเร่งเสียงทำด้วยหนัง ขึ้นหนัง ๒ หน้าด้วยหนังวัว ตีด้วยไม้งอน ใช้บรรเลงในวงบัวลอยในงานศพ และใช้บรรเลงในวงปี่พาทย์นางหงส์. | กลองโมงครุ่ม | น. ชื่อกลองชนิดหนึ่ง รูปร่างลักษณะอย่างเดียวกับกลองทัด แต่ใหญ่กว่า ขึ้นหนัง ๒ หน้า ตีทั้งสองหน้าโดยใช้ไม้กำพดตี ใช้ตีในการละเล่นสมัยโบราณ. | กลองยาว | น. ชื่อกลองชนิดหนึ่ง ตอนหน้าใหญ่ ตอนท้ายมีลักษณะเรียวแล้วบานปลายเป็นรูปดอกลำโพง ขึ้นหนังหน้าเดียว ใช้ตีด้วยมือ วงกลองยาววงหนึ่งจะใช้กลองหลายลูกก็ได้, กลองเถิดเทิง ก็เรียก. | กลอนเพลงยาว | น. กลอนที่เขียนขึ้นเพื่อแสดงความรัก หรือเล่าสู่กันฟัง เป็นต้น ขึ้นต้นด้วยวรรครับหรือวรรคที่ ๒ ของบท. | กลาก | (กฺลาก) น. ชื่อโรคผิวหนังอย่างหนึ่ง มีหลายชนิด เกิดจากเชื้อรา ขึ้นเป็นวง มีอาการคัน, ขี้กลาก ก็ว่า. | กะพ้อ ๒ | น. ชื่อปาล์มขนาดย่อมในสกุล Licuala วงศ์ Palmae มีหลายชนิด เช่น ชนิด L. spinosa Thunb. มักขึ้นเป็นกออยู่ริมทะเล หรือในที่ซึ่งนํ้าเค็มขึ้นถึง ลำต้นสูงถึง ๔ เมตร ใบกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง ๖๐-๑๑๐ เซนติเมตร เว้าเป็นแฉกลึก ก้านใบยาว ขอบก้านมีหนาม, ชนิด L. peltata Roxb. ขึ้นตามป่าดอนในที่ชุ่มชื้นและที่แฉะ ลักษณะคล้ายชนิดแรก แต่ก้านใบลํ้าอยู่ใต้โคนใบ ทั้ง ๒ ชนิดใบใช้ห่อทำไต้ ห่อของ เย็บเป็นร่ม มุงหลังคาชั่วคราว ใบอ่อนใช้มวนบุหรี่, กะชิง ก็เรียก, ปักษ์ใต้เรียก ชิง หรือ ชิ่ง, ปาล์มพวกนี้เรียก พ้อ ก็มี เช่น ใบพ้อพันห่อหุ้ม กฤษณา (โลกนิติ). | กะเม็ง | น. ชื่อไม้ล้มลุกขนาดเล็กชนิด Eclipta prostrata L. ในวงศ์ Compositae ขึ้นอยู่ทั่วไป ลำต้นสีม่วงคลํ้า ใบเขียวมีขนคาย ดอกสีขาว ใช้ทำยาได้, กะเม็งตัวเมีย หรือ คัดเม็ง ก็เรียก. | กะรัง ๒ | น. ชื่อปลาทะเลขนาดกลางและขนาดใหญ่หลายชนิดในสกุล Epinephelus, Cephalopholis และ Plectopomus วงศ์ Serranidae หัวโต รูปร่างป้อม เรียวยาวไปทางหาง แบนข้างเล็กน้อย เกล็ดเล็ก สีตามตัวและครีบเป็นดอกดวง แต้ม หรือบั้ง ฉูดฉาดหรือคลํ้าทึบแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับชนิดและขนาด พบอาศัยอยู่ตามบริเวณหมู่ปะการัง โขดหินใกล้ฝั่งหรือเกาะ. | กะลุมพี | น. ชื่อปาล์มชนิด Eleiodoxa conferta (Griff.) Burret. ในวงศ์ Palmae ขึ้นเป็นกอในป่าพรุและที่ชื้นแฉะทางภาคใต้ ผลเป็นช่อใหญ่และแน่น ปลายผลตัด ผิวเหลืองเกลี้ยงเป็นมัน ไม่มีหนาม เยื่อหุ้มเมล็ดขาว รสเปรี้ยว ๆ ฝาด ๆ กินได้ ยางในลำต้นเหนียวใช้ติดกระดาษแทนกาวได้, ลุมพี ก็เรียก, ปักษ์ใต้เรียก หลุมพี. | กะหลาป๋า ๑ | เรียกหมวกชนิดหนึ่งสานด้วยไม้ไผ่อย่างละเอียด รูปทรงสูง ผู้หญิงนิยมใช้ในเวลาแข่งเรือ มีดอกไม้จีนเสียบ เป็นของเก่าในสมัยต้นรัชกาลที่ ๕ ขึ้นไป ว่า หมวกกะหลาป๋า | ก๊าซ | น. อากาศธาตุ, (วิทยา) สถานะหนึ่งของสสาร รูปร่างและปริมาตรไม่คงที่ ขึ้นอยู่กับภาชนะที่บรรจุ, เรียกไฟซึ่งเกิดจากการจุดอะเซทิลีน ซึ่งได้จากก้อนแคลเซียมคาร์ไบด์ทำปฏิกิริยากับนํ้า ว่า ไฟก๊าซ, แก๊ส ก็ว่า. | ก้านเหลือง | น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ชนิด Nauclea orientalis (L.) L. ในวงศ์ Rubiaceae คล้ายกระทุ่ม ขึ้นตามริมนํ้า เนื้อไม้สีเหลือง ละเอียด ใช้ในการก่อสร้าง. | การบูรป่า | น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Adenosma indiana (Lour.) Merr. ในวงศ์ Scrophulariaceae ขึ้นตามป่าเต็งรัง ต้นสูงประมาณ ๓๐ เซนติเมตร ใบเดี่ยวออกตรงข้ามกัน ขอบใบจักถี่ ใบมีกลิ่นคล้ายกลิ่นใบกะเพรา โหระพา แต่อ่อนกว่า ดอกเล็กสีม่วง ออกเป็นช่อเรียวยาวตามง่ามใบและที่ปลายยอด, กระต่ายจาม ข้าวคำ หรือ พริกกระต่าย ก็เรียก. | กาสามปีก | น. ชื่อไม้ต้นชนิด Vitex peduncularis Wall. ex Schauer ในวงศ์ Labiatae ขึ้นทั่วไปในป่าเบญจพรรณ ใช้ทำยาได้, กาจับหลัก หรือ ตีนนก ก็เรียก. | กาสามปีก | ชื่อไม้พุ่มชนิด Flemingia sootepensis Craib ในวงศ์ Leguminosae ขึ้นทั่วไปในป่าเบญจพรรณ ใช้ทำยาได้. | กำจาย ๒ | น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Caesalpinia digyna Rottler ในวงศ์ Leguminosae ขึ้นในป่าเบญจพรรณ ต้นมีหนาม ดอกสีเหลือง ออกเป็นช่อตามง่ามใบ ฝักพองหนา มีรสฝาด ใช้ย้อมหนังได้ เมล็ดสีดำให้นํ้ามันจุดไฟ. | กำแพงเจ็ดชั้น ๒ | น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Litosanthes biflora Blume ในวงศ์ Rubiaceae ขึ้นตามป่าดิบ ใบเดี่ยว ออกตรงข้ามกัน ดอกสีขาว เนื้อไม้เป็นชั้น ๆ ใช้ทำยาได้. | กำแพงเจ็ดชั้น ๒ | ชื่อไม้พุ่มรอเลื้อยชนิด Salacia chinensis L. ในวงศ์ Celastraceae ขึ้นตามป่าดิบ ใบเดี่ยว ออกตรงข้ามกัน ขอบใบจัก ดอกสีเขียวอมเหลือง ใช้ทำยาได้, ตะลุ่มนก หรือ นํ้านอง ก็เรียก. | กำยาน ๒ | น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางหลายชนิดในสกุล Styraxวงศ์ Styracaceae ขึ้นตามป่าเขาในระดับสูง ใบเดี่ยว ด้านบนสีขาว ดอกสีขาว หอมอ่อน ๆ ไม้ต้นชนิดนี้บางชนิดเมื่อเปลือกถูกกรีดหรือมีราลง ก็จะขับยางใสกลิ่นหอมออกมา เมื่อแห้งจะแข็งติดอยู่กับลำต้น แกะออกมาได้ เรียกว่า กำยาน. | กำลังช้างเผือก | น. ชื่อพรรณไม้ ๒ ชนิดย่อยของชนิด Hiptage bengalensis (L.) Kurz ในวงศ์ Malpighiaceae ขึ้นตามป่าเบญจพรรณทั่วไป ใบเดี่ยว ค่อนข้างกลมมน ขอบหยักตื้น ๆ ออกตรงข้ามกัน ดอกสีขาวอมชมพู ชนิดย่อยแรก H. bengalensis (L.) Kurz subsp. bengalensisเป็นไม้เถาเนื้อแข็ง, โนรา ก็เรียก, และชนิดย่อยที่ ๒ H. bengalensis (L.) Kurz subsp. candicans (Hook. f.) Sirirugsa เป็นไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก, พญาช้างเผือก ก็เรียก. | กุระ | น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Shirakiopsis indica (Willd.) Esser ในวงศ์ Euphorbiaceae ขึ้นตามที่ลุ่มนํ้าขังและริมคลองนํ้ากร่อย ทุกส่วนมียางขาว ผลกลม แก่จัดแยกออกเป็น ๓ ซีก, สมอทะเล ก็เรียก. | กุหลาบ | ชื่อไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็กในสกุล Rhododendron วงศ์ Ericaceae ขึ้นตามป่าเขาในระดับสูง เช่น กุหลาบแดง ( R. simsii Planch.) กุหลาบขาว ( R. ludwigianum Hoss.). | เกยแห้ง | ก. ขึ้นไปค้างอยู่บนบก. | เกล็ดปลาช่อน | น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Phyllodium pulchellum (L.) Desv. ในวงศ์ Leguminosae ขึ้นตามป่าเบญจพรรณทั่วไป ช่อดอกยาว ดอกเล็กอยู่ภายในกาบรูปหอยแครงซึ่งประกบเรียงกันไปตามแนวก้านช่อดอก, ลิ่นต้น ก็เรียก. |
| superior | สูงกว่า, เหนือกว่า, อยู่เหนือ, ขึ้นบน, บน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Innovation | นวัตกรรม, นวัตกรรม หรือนวกรรม หมายถึง วิธีการปฏิบัติใหม่ๆ ที่แปลกไปจากเดิม โดยอาจจะได้มาจากการคิดค้นพบวิธีการใหม่ๆ ขึ้นมา หรือการปรุงแต่งของเก่าให้ใหม่และเหมาะสม และสิ่งทั้งหลายเหล่านี้ได้รับการทดลองพัฒนาจนเป็นที่เชื่อถือได้แล้วว่าได้ผลดีในทางปฏิบัติ ทำให้ระบบก้าวไปสู่จุดหมายปลายทางได้อย่างมีประสิทธิภาพขึ้น โดย มีหลักการที่สำคัญอยู่ 3 ประการ ที่จัดเป็นหลักพิจารณาว่าสิ่งใดเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาหรือไม่ คือ <ul><li>สิ่งนั้นควรเป็นสิ่งที่ค้นพบ หรือประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ หรือการปรับปรุงแต่งของเก่าให้ใหม่เหมาะสมกับกาลสมัยมาใช้ในวงการศึกษา เพื่อให้ระบบการศึกษาก้าวหน้าไปอย่างมีประสิทธิภาพ</li><li>ได้ผ่านการทดลอง การปรับปรุงพัฒนา จนเป็นที่ยอมรับกับอย่างแพร่หลาย</li><li>ได้มีการนำมาปฏิบัติจริงในวงการนั้น</li></ul> [เทคโนโลยีการศึกษา] | Bone marrow syndrome | กลุ่มอาการทางไขกระดูก, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 1 เกรย์ ขึ้นไป ทำให้เกิดการลดลงของเม็ดเลือดและก่อให้เกิดอาการต่างๆ เช่น อ่อนเพลีย โลหิตจาง ร่างกายติดเชื้อง่าย เลือดไหลไม่หยุด (ดู Radiation syndrome, Gastrointestinal syndrome และ Cerebrovascular syndrome ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Yellow cake | เค้กเหลือง, สารผสมของยูเรเนียมออกไซด์หลายชนิด (โดยเทียบออกไซด์ทุกชนิดให้อยู่ในรูปของ U3O8) มีลักษณะเป็นผงละเอียด ได้จากกระบวนการสกัดสินแร่ยูเรเนียมจากเหมือง มีสีเหลือง ส้ม หรือเขียวคล้ำ ขึ้นอยู่กับสัดส่วนชนิดของออกไซด์ และอุณหภูมิที่ใช้ขณะผลิต โดยอุณหภูมิที่สูงกว่าจะทำให้มีสีเข้มขึ้น เค้กเหลืองใช้เป็นสารตั้งต้นในกระบวนการผลิตเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ [นิวเคลียร์] | Single Photon Emission Computed Tomography | สเป็กต์, เทคนิคการถ่ายภาพด้วยวิธีกราดวิเคราะห์ โดยการตรวจวัดรังสีแกมมาที่ปล่อยออกมาหลังจากฉีดเภสัชภัณฑ์รังสีเข้าไปในกระแสเลือด ใช้มากในการศึกษาสารส่งผ่านประสาท (neurotransmitter) แต่ก็สามารถใช้ตรวจวินิจฉัยระบบอวัยวะใดก็ได้ ขึ้นอยู่กับเภสัชภัณฑ์รังสีที่ใช้ซึ่งมีครึ่งชีวิตยาวกว่าที่ใช้กับเพ็ต จึงไม่จำเป็นต้องมีไซโคลทรอนอยู่ด้วยกัน อย่างไรก็ตาม สเป็กต์มีความละเอียดในการวิเคราะห์ต่ำกว่าเพ็ตมาก, Example: [นิวเคลียร์] | Single Photon ECT | สเป็กต์, เทคนิคการถ่ายภาพด้วยวิธีกราดวิเคราะห์ โดยการตรวจวัดรังสีแกมมาที่ปล่อยออกมาหลังจากฉีดเภสัชภัณฑ์รังสีเข้าไปในกระแสเลือด ใช้มากในการศึกษาสารส่งผ่านประสาท (neurotransmitter) แต่ก็สามารถใช้ตรวจวินิจฉัยระบบอวัยวะใดก็ได้ ขึ้นอยู่กับเภสัชภัณฑ์รังสีที่ใช้ซึ่งมีครึ่งชีวิตยาวกว่าที่ใช้กับเพ็ต จึงไม่จำเป็นต้องมีไซโคลทรอนอยู่ด้วยกัน อย่างไรก็ตาม สเป็กต์มีความละเอียดในการวิเคราะห์ต่ำกว่าเพ็ตมาก [นิวเคลียร์] | Source material | วัสดุต้นกำลัง, วัสดุใด ๆ ที่มียูเรเนียม ทอเรียม หรือทั้งสองอย่างรวมกัน เป็นองค์ประกอบ ร้อยละ 0.05 ขึ้นไป ยกเว้นวัสดุนิวเคลียร์พิเศษ, Example: [นิวเคลียร์] | Radiation sterilization in insects | การทำหมันแมลงด้วยรังสี, การฉายรังสีแมลงในระยะใดๆ ของการเจริญเติบโต เพื่อทำให้เป็นหมัน โดยแมลงตัวเมียไม่สามารถผลิตไข่ หรือตัวผู้ไม่สามารถสร้างสเปิร์ม หรือสเปิร์มไม่แข็งแรงไม่สามารถผสมกับไข่ได้ หรือแมลงไม่สามารถจับคู่ผสมพันธุ์ได้ หรือไข่ที่ปฏิสนธิแล้วไม่ฟักออกเป็นตัว เนื่องจากการกลายของเซลล์สืบพันธุ์ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับชนิด ระยะการเจริญเติบโตของแมลง และปริมาณรังสีที่ใช้ <br>(ดู sterile insect technique (SIT) ประกอบ)</br>, Example: [นิวเคลียร์] | High enriched uranium | ยูเรเนียมสมรรถนะสูง, เอชอียู, ยูเรเนียมเสริมสมรรถนะที่มียูเรเนียม-235 ร้อยละ 20 ขึ้นไป [นิวเคลียร์] | Hematopoietic syndrome | กลุ่มอาการทางระบบเลือด, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่าง กายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 1 เกรย์ ขึ้นไป ทำให้เกิดการลดลงของเม็ดเลือดและก่อให้เกิดอาการต่างๆ เช่น อ่อนเพลีย โลหิตจาง ร่างกายติดเชื้อง่าย เลือดไหลไม่หยุด (ดู Radiation syndrome, Gastrointestinal syndrome และ Cerebrovascular syndrome ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | International Civil Aviation Organization | เรียกโดยย่อว่า ICAO คือองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1947 หลังจากที่ประเทศสมาชิก 28 แห่ง ได้ให้สัตยาบันแก่อนุสัญญาว่าด้วยการบินพลเรือน ซึ่งได้ร่างขึ้นโดยที่ประชุมองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศในนครชิคาโก เมื่อปี ค.ศ.1944วัตถุประสงค์ของ ICAO คือการศึกษาปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับการบินพลเรือนระหว่างประเทศ รวมทั้งจัดวางมาตรฐานระหว่างประเทศ และระเบียบข้อบังคับสำหรับการบินพลเรือนองค์การจะพยายามสนับสนุนให้มีการใช้ มาตรการว่าด้วยความปลอดภัย วางระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการปฏิบัติให้เสมอเหมือนกันหมด และให้ใช้วิธีปฏิบัติที่สะดวกง่ายขึ้นตรงพรมแดนระหว่างประเทศ องค์การจะส่งเสริมการใช้วิธีการทางเทคนิคและอุปกรณ์เครื่องมือใหม่ ๆ ดังนั้น ด้วยความร่วมมือจากประเทศสมาชิก องค์การจะจัดวางแนวบริการทางอุตุนิยมวิทยา การควบคุมการจราจรทางอากาศ การคมนาคมสื่อสารไฟสัญญาณด้านวิทยุ จัดระเบียบการค้นหาและช่วยเหลือ รวมทั้งอุปกรณ์ความสะดวกอื่น ๆ ซึ่งจำเป็นที่จะให้การบินระหว่างประเทศได้รับความปลอดภัยยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังชักจูงให้รัฐบาลประเทศสมาชิกวางแนวทางปฏิบัติด้านศุลกากรให้สะดวกง่าย ขึ้น รวมทั้งการตรวจคนเข้าเมือง และระเบียบเกี่ยวกับสาธารณสุขที่ใช้กับการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ นอกจากนี้ องค์การยังรับผิดชอบต่องานร่างกฎหมายเกี่ยวกับการบินระหว่างประเทศ ทั้งยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศในด้านเศรษฐกิจมาก มายหลายอย่างองค์การ ICAO ดำเนินงานโดยองค์การต่าง ๆ ดังนี้1. สมัชชา (Assembly) ประกอบด้วยผู้แทนของประเทศสมาชิกทุกประเทศ ทำการประชุมกันปีละครั้ง และจะลงมติเกี่ยวกับมาตรการทางการเงิน และจะรับพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่คณะมนตรีส่งมาให้ดำเนินการ2. คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วยผู้แทนจากชาติต่าง ๆ 21 ชาติ ซึ่งสมัชชาเป็นผู้เลือก โดยคำนึงถึงประเทศที่มีความสำคัญในการขนส่งทางอากาศ รวมทั้งประทเศที่มีส่วนเกื้อกูลไม่น้อยในการจัดอำนวยอุปกรณ์ความสะดวกแก่การ เดินอากาศฝ่ายพลเรือนระหว่างประเทศ และจัดให้มีตัวแทนตามจำนวนที่เหมาะสมในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ ๆ ของโลก คณะมนตรีเป็นผู้เลือกตั้งประธาน (President) ขององค์การ3. เลขาธิการ (Secretary-General) ซึ่งเป็นผู้แต่งตั้งคณะเจ้าหน้าที่ขององค์การ [การทูต] | International Finance Corporation | คือบรรษัทการเงินระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อเดือนกรกฎาคม ค.ศ.1956 และเริ่มมีฐานะเป็นองค์การชำนัญพิเศษที่มีสัมพันธ์กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1957 แม้บรรษัทจะดำเนินงานใกล้ชิดกับธนาคารโลก แต่ก็มีฐานะเป็นสิ่งที่มีตัวตนทางกฎหมายแยกต่างหาก และมีกองทุนที่แตกต่างจากกองทุนของธนาคารโลกด้วยวัตถุประสงค์ของบรรษัทคือ ส่งเสริมการพัฒนาทางเศรษฐกิจ โดยสนับสนุนให้การผลิตของวิสาหกิจของเอกชนในประเทศสมาชิกเจริญเติบโตยิ่ง ขึ้น การที่จะกระทำตามวัตถุประสงค์นี้ได้ บรรษัทจะนำเงินไปลงทุนในวิสาหกิจด้านการผลิตฝ่ายเอกชน โดยดำเนินงานร่วมกับเอกชนผู้ลงทุน ทำหน้าที่เป็นสำนักหักบัญชี (Clearing House) คล้ายกับเป็นแหล่งรวมโอกาสต่าง ๆ ของการลงทุนฝ่ายเอกชนทั้งจากต่างประเทศและในประเทศ รวมทั้งฝ่ายจัดการที่มีประสบการณ์ชำนาญ นอกจากนั้น ยังช่วยกระตุ้นการลงทุนด้านการผลิตของเอกชนทั้งภายในและต่างประเทศด้วย บรรษัทยังได้รับอนุญาตให้ทำการกู้ยืมเงินโดยใช้วิธีขายพันธบัตรของตนเอง รวมทั้งตั๋วสัญญาการใช้เงินบรรษัทการเงินระหว่างประเทศดำเนินงานโดยองค์กร ต่าง ๆ ของตน คืออำนาจทั้งหมดของบรรษัทจะขึ้นอยู่กับคณะผู้ว่าการ (Board of Govemors) ประกอบด้วยผู้ว่าการและผู้ว่าการสำรอง (Altemates) จากธนาคารโลกซึ่งเป็นตัวแทนของประเทศต่าง ๆ อันเป็นสมาชิกของบรรษัทด้วย คณะผู้ว่าการจะคอยควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของบรรษัทให้ถูกต้อง ตัวประธานธนาคารโลก จะทำหน้าที่เป็นประธานคณะผู้ว่าการของบรรษัทโดยตำแหน่งด้วย บรรษัทมีสำนักงานตั้งอยู่ที่กรุงวอชิงตันดีซี [การทูต] | JAPAN-ASEAN General Exchange Fund | กองทุนการแลกเปลี่ยนญี่ปุ่น-อาเซียน เป็นกองทุนสำหรับการพัฒนาบุคลากรของประเทศสมาชิกใหม่และ การพัฒนาสำนักเลขาธิการอาเซียน โดยญี่ปุ่นบริจาคเงินจำนวน 2, 542, 000 เหรียญสหรัฐ ในปีงบประมาณ 2543 ได้จัดตั้งกองทุน JAGEF ขึ้นมาใหม่ แทนกองทุนความร่วมมือเดิม (JACPP) [การทูต] | Joint Commission | คณะกรรมาธิการร่วม " เป็นกลไกความร่วมมือในระดับทวิภาคีระหว่างประเทศไทยกับประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก JC มีบทบาทในการดูแลและส่งเสริมความสัมพันธ์ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านการเมือง เศรษฐกิจ การค้า การลงทุน วัฒนธรรม และสังคม โดยแต่ละฝ่ายจะสลับกันเป็นเจ้าภาพในการจัดการประชุม ซึ่งอาจมีขึ้นปีละครั้งหรือ 2-3 ปีต่อครั้ง ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมและความสะดวกของทั้งสองฝ่าย JC อาจมีกลไกย่อยหรือคณะกรรมการภายใต้ JC เพื่อกำกับดูแลเฉพาะเรื่องหรือมีคณะกรรมการในระดับส่วน ภูมิภาค เช่น ไทยกับมาเลเซียมีคณะกรรมการชายแดนทั่วไป (General Border Committee - GBC) มีบทบาทในการดูแลความร่วมมือด้านการทหารและความมั่นคงบริเวณชายแดน และมีคณะกรรมการจัดทำหลักเขตแดนทางบก (Land Boundary Committee - LBC) เพื่อดูแลการจัดทำหลักเขตแดนระหว่างประเทศทั้งสอง นอกจากนั้น ยังมีคณะกรรมการร่วมทางการค้า (Joint Trade Committee - JTC) ระหว่างไทยกับบางประเทศ เป็นกลไกเพื่อส่งเสริมการค้าและขจัดอุปสรรคทางการค้าระหว่างกัน " [การทูต] | National Holiday | วันชาติ คือสถานเอกอัครราชทูตทีมีอยู่ทั่วโลก จะนิยมฉลองวันชาติของประเทศของตน ส่วนมากจะถือเอาวันครบรอบปีแห่งการประกาศเอกราช หรือวันครบรอบปีของเหตุการณ์ที่ทรงความสำคัญอย่างยิ่งในประวัติศาสตร์ของ ประเทศตนเป็นวันชาติ ส่วนในประเทศที่มีระบอบกษัตริย์ ก็จะยึดเอาวันพระราชสมภพชองกษัตริย์หรือราชินีเป็นวันชาติของประเทศ ในวันชาติ สถานเอกอัครราชทูตจะมีธรรมเนียมจัดงานเลี้ยงรับรอง (Reception) ขึ้นในสถานเอกอัครราชทูตของตนหรือหากเป็นการไม่สะดวกที่จัดงานดังกล่าวขึ้น ในสถานทูต ก็มักไปจัดกัน ณ โรงแรมที่เหมาะสม ในงานเลี้ยงรับรองนี้จะเชิญข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ในกระทรวงการต่างประทเศ หัวหน้าคณะทูตข้าราชการในสถานเอกอัครราชทูตอื่น ๆ นักหนังสือพิมพ์ เจ้าหน้าที่สื่อมวลชน บุคคลชั้นนำด้านธุรกิจและอุตสาหกรรม บรรดาคนชาติเดียวกับเอกอัครราชทูตที่กำลังอาศัยอยู่ในประเทศนั้น ตลอดจนบุคคลสำคัญในสังคม รวมทั้งมิตรสหายของสถานเอกอัครราชทูต และบุคคลอื่น ๆ ที่สมควรเชิญ [การทูต] | Organization of American States | คือองค์การของรัฐในสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 2 กันยายน ค.ศ. 1947 สหรัฐอเมริกา และประเทศต่าง ๆ ในละตินอเมริกา ยกเว้นประเทศนิคารากัวและอีเควดอร์ ได้ตกลงทำสนธิสัญญาระหว่างรัฐในอเมริกาด้วยกัน ณ กรุงริโอเดจาเนโร เพื่อให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ซึ่งเรียกกันทั่วไปว่า สนธิสัญญาริโอ ประเทศเหล่านั้นต่างมุ่งมั่นที่จะให้ความช่วยเหลือกันอย่างมีประสิทธิผล ถ้าหากรัฐในอเมริกาหนึ่งใดถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธหรือถูกคุกคามจาการรุกราน ต่อมาในเดือนเมษายน ค.ศ. 1948 ได้มีการจัดตั้งองค์การของรัฐอเมริกัน (Organization of American States) ขึ้น ณ กรุงโบโกตา ประเทศโบลิเวีย ประกอบด้วยรัฐต่าง ๆ ในอเมริการวม 21 ประเทศ ยกเว้นประเทศแคนาดา เพื่อดำเนินการให้เป็นผลตามสนธิสัญญาริโอ และจัดวางระบบการรักษาความมั่นคงร่วมกันขึ้น กฎบัตร (Charter) ขององค์การได้มีผลบังคับให้เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1951องค์การโอเอเอสนี้ เป็นองค์การส่วนภูมิภาคแห่งหนึ่ง ภายในกรอบของสหประชาชาติ ประเทศสมาชิกต่างปฏิญาณร่วมกันที่จะทำการธำรงรักษากระชับสันติภาพ ตลอดจนความมั่นคงในทวีปอเมริกา เพื่อป้องกันมิให้เกิดเหตุแห่งความยุ่งยากใด ๆ และต้องการระงับกรณีพิพาทที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกันโดย สันติวิธี อนึ่ง ถ้าหากมีการรุกรานเกิดขึ้นก็จะมีการปฏิบัติการร่วมกัน นอกจากนี้ ยังจะหาทางระงับปัญญาหาทางการเมือง ทางการศาล และทางเศรษฐกิจ ที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างประเทศสมาชิก พร้อมทั้งจะพยายามร่วมกัน ในการหาหนทางส่งเสริมพัฒนาการทางเศรษฐกิจสังคม และวัฒนธรรม สำนักงานใหญ่ขององค์การโอเอเอสตั้งอยู่ ณ กรุงวอชิงตันดีซี นครหลวงของสหรัฐอเมริกา [การทูต] | Open Diplomacy | คือการทูตแบบเปิดเผย อดีตประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสัน แห่งสหรัฐอเมริกา เป็นบุคคลที่สนับสนุนและเผยแพร่วิธีการทูตแบบเปิดเผยอย่างเต็มที่ หวังจะให้ชุมชนนานาชาติพร้อมใจกันสนับสนุนการทูตนี้เช่นเดียวกัน เมื่อวันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 1918 วูดโรว์ วิลสัน ได้ประกาศให้โลกทราบนโยบายของท่าน 14 ข้อ ข้อหนึ่งในจำนวนนั้นท่านปรารถนาว่า ในอนาคตประเทศต่าง ๆ ควรจะทำความตกลงกันเกี่ยวกับเรื่องสันติภาพอย่างเปิดเผย และต่อไปไม่ควรจะมีการเจรจาทำความตกลงระหว่างประเทศแบบลับเฉพาะอย่างใดทั้ง สิ้นแม้ว่าโดยทั่วไปจะเห็นพ้องด้วยกับนโยบายข้อแรกของ วูดโรว์ วิลสัน คือ ความตกลงหรือสนธิสัญญาใด ๆ เมื่อตกลงเสร็จสิ้นแล้ว ให้ประกาศเปิดเผยให้โลกทราบ แต่สำหรับข้องสองคือการเจรจาในระหว่างทำสนธิสัญญาให้กระทำกันอย่างเปิดเผย นั้น ส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยเห็นด้วย เพราะเห็นว่าลำพังการเจรจานั้น โดยสารัตถะสำคัญแล้วควรจะถือเป็นความลับไว้ก่อนจนกว่าจะเสร็จการเจรจา ทั้งนี้ เซอร์เดวิด เคลลี่ อดีตนักการทูตอังกฤษเคยให้ทรรศนะว่า การทูตแบบเปิดเผยนั้นเป็นถ้อยคำที่ขัดกันในตัว คือหากกระทำกันอย่างเปิดเผยเสียแล้วก็ไม่ใช่การทูตเกี่ยวกับเรื่องนี้ มาตรา 102 ของกฎบัตรสหประชาชาติได้บัญญัติว่า ?1. สนธิสัญญาทุกฉบับ และความตกลงระหว่างประเทศทุกฉบับ ซึ่งสมาชิกใด ๆ แห่งสหประชาชาติได้เข้าเป็นภาคี ภายหลังที่กฎบัตรปัจจุบันได้ใช้บังคับ จักต้องจดทะเบียนไว้กับสำนักเลขาธิการโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และจักได้พิมพ์ขึ้นโดยสำนักงานนี้ 2. ภาคีแห่งสนธิสัญญา หรือความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่าใด ซึ่งมิได้จดทะเบียนไว้ตามบทบัญญัติในวรรคหนึ่งข้อนี้ ไม่อาจยกเอาสนธิสัญญาหรือความตกลงนั้น ๆ ขึ้นกล่าวอ้างต่อองค์กรใด ๆ ของสหประชาชาติ? [การทูต] | World Intellectual Property Organization | องค์การเกี่ยวกับสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาที่ เกี่ยวกับการค้า ถือกำเนิดจากอนุสัญญากรุงปารีส ปี ค.ศ. 1883 และอนุสัญญากรุงเบอร์นส์ ปี ค.ศ. 1886 ว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรมอนุสัญญาจัดตั้งองค์การเกี่ยวกับ สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาเกี่ยวกับการค้านี้ ได้มีการลงนามกันเมื่อปี ค.ศ. 1967 และมีผลใช้บังคับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1970 เป็นองค์การชำนัญพิเศษแห่งหนึ่งของสหประชาชาติ และมีประเทศที่เป็นสมาชิกขององค์การแล้วรวม 155 ประเทศ วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ ต้องการให้ทรัพย์สินทางปัญญาที่มีอยู่ทั่วโลกได้รับการธำรงรักษาและเพิ่ม ขึ้น ทั้งนี้ เพื่อจะกระตุ้นให้มีการพัฒนาทางอุตสาหกรรมและวัฒนธรรม และเอื้ออำนวยต่อการถ่ายทอดวิทยาการเทคโนโลยี รวมทั้งให้เผยแพร่งานวรรณกรรม และศิลปกรรม ทรัพย์สินทางปัญญาแบ่งออกได้เป็นสองประเภทใหญ่ ๆ คือ ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม และทรัพย์สินทางลิขสิทธิ์กับสิทธิที่ใกล้เคียงองค์การมีสำนักเลขาธิการตั้ง อยู่ที่นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ตำแหน่งหัวหน้าขององค์การนี้ เรียกว่า ผู้อำนวยการใหญ่ ซึ่งขณะนี้ได้แก่ Dr.Arpad Bogsch [การทูต] | Single Photon Emission Computed Tomography | เป็นเทคนิคการถ่ายภาพอวัยวะภายในร่างกายที่ต้องการตรวจ โดยการให้สารเภสัชรังสีแก่คนไข้ แล้วทำการตรวจวัดรังสีแกมมาที่แผ่ออกมาจากสารเภสัชรังสีนั้น ด้วยอุปกรณ์ที่เรียกว่า "กล้องถ่ายแกมมา (gamma camera)" ซึ่งมีทั้งแบบที่หมุนได้ และแบบอยู่กับที่รอบตัวคนไข้ จากนั้นคอมพิวเตอร์จะแปลข้อมูลที่ได้ออกมาให้เห็นเป็นภาพการกระจายตัวของสารเภสัชรังสี โดยสร้างภาพตัดเนื้อเยื่อของอวัยวะนั้น ทำให้สามารถบอกความผิดปกติของอวัยวะได้ โดยดูการกระจายตัวของสารเภสัชรังสี แม้มีความแตกต่างเพียงเล็กน้อยก็สามารถตรวจวัดได้ เทคนิคSPECT สามารถตรวจอวัยวะหรือระบบอวัยวะใดๆ ก็ได้ ขึ้นอยู่กับสารเภสัชรังสีที่ให้ เป็นวิธีที่ใช้ในการบอกตำแหน่งของความผิดปกติ ทั้งทางกายภาพและทางสรีรวิทยาในเนื้อเยื่อที่มีชีวิต ซึ่งเป็นข้อดีทางเทคนิคนี้ จึงนำไปใช้ในการวินิจฉัยโรคหัวใจ โรคลมบ้าหมู และโรคมะเร็ง ข้อได้เปรียบของเทคนิคนี้ ต่อ PET คือ ไม่ต้องใช้เครื่องไซโคลตรอนในการผลิตไอโซโทปรังสี [พลังงาน] | ก๊าซธรรมชาติ | สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดหนึ่ง เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจนและคาร์บอนทีเกิดจากการทับถาม ของซากพืชและสัตว์ จำพวกจุลินทรีย์ที่อาศัยในโลกมานานนับร้อยล้านปี สามารถผลิตได้จากแหล่งใต้พื้นพิภพโดยตรงหรือติดมากับน้ำมันดิบจากหลุมน้ำมัน ดิบ โดยส่วนใหญ่จะมีก๊าซมีเทนตั้งแต่ 70% ขึ้นไป [ปิโตรเลี่ยม] | ดีโซฮอล์ | น้ำมันดีเซล ผสมกับเอทานอล ชนิดที่มีความบริสุทธิ์ 99.5% ขึ้นไป แต่หากใช้เอธานอลชนิดที่มีความบริสุทธิ์ 95% จะต้องผสมสารเคมีประเภท อิมัลซิไฟเออร์ (Emulsifiers) [ปิโตรเลี่ยม] | Field or Fresh latex | น้ำยางธรรมชาติที่ได้จากต้นยางพารา มีลักษณะเป็นของเหลวสีขาวคล้ายน้ำนม มีสภาพเป็นคอลลอยด์หรือสารแขวนลอย มีความหนาแน่นอยู่ระหว่าง 0.975-0.980 กรัมต่อมิลลิลิตร มีค่า pH ประมาณ 6.5-7.0 ความหนืดของน้ำยางมีค่าประมาณ 12-15 เซนติพอยส์ โดยที่จะเติมหรือไม่เติมสารรักษาสภาพ (preservative) ก็ได้ ขึ้นกับระยะเก็บก่อนที่จะนำไปทำให้เข้มข้น หรือไปผ่านกระบวนการอื่นๆ ต่อไป [เทคโนโลยียาง] | Mastication | ขั้นตอนการบดให้ยางนิ่ม มักใช้กับยางธรรมชาติเนื่องจากยางธรรมชาติมีน้ำหนักโมเลกุลสูงมาก (ความหนืดสูงมาก) การบดยางให้นิ่มเป็นการทำให้โมเลกุลฉีกขาด น้ำหนักโมเลกุลของยางลดลง (ใช้แรงเฉือน และออกซิเจนในอากาศ) สามารถทำได้โดยการบดยางล้วนๆ หรืออาจเพิ่มประสิทธิภาพในการบดยางได้โดยการเติมเพปไทเซอร์ลงไปเล็กน้อยและ การใช้อุณหภูมิสูง ผลที่ได้ทำให้ยางนิ่มลง เมื่อผสมสารเคมีลงไปจะทำให้สารเคมีนั้นให้เข้าเป็นเนื้อเดียวกับยางได้ง่าย ขึ้น ส่วนยางสังเคราะห์ที่มีการควบคุมน้ำหนักโมเลกุลตั้งแต่ขั้นตอนการสังเคราะห์ ทำให้ความหนืดเริ่มต้นไม่สูงมาก จึงไม่จำเป็นต้องนำมาบดให้นิ่มก่อน [เทคโนโลยียาง] | Mooney viscosity | ความหนืดของยางดิบหรือยางคอมพาวด์ ทดสอบด้วยเครื่องวัดความหนืด Mooney viscometer ซึ่งเครื่องวัดดังกล่าวมีจานโลหะหมุนอยู่ในห้องใส่ยางภายใต้อุณหภูมิและความ ดันตามที่กำหนดไว้ การหมุนของจานโลหะในยางทำให้เกิดแรงบิด (torque) ขึ้น และจะขับให้สปริงรูปตัวยูเกิดการเคลื่อนที่ ใช้ไมโครมิเตอร์วัดขนาดการเคลื่อนที่ให้ออกมาเป็นมาตรที่เรียกว่า Mooney Viscosity เช่น 50 ML 1+4 (100C) 50 หมายถึง ค่าความหนืดที่วัดได้ในหน่วยมูนนี่ M หมายถึง Mooney L หมายถึง จานหมุนขนาดใหญ่ (ถ้าใช้จานหมุนขนาดเล็กให้ใช้อักษร S) 1 หมายถึง ระยะเวลาที่ใช้ในการอุ่นยางก่อนทดสอบ เป็นนาที 4 หมายถึง เวลาที่ใช้ในการทดสอบ เป็นนาที 100 degree C หมายถึง อุณหภูมิที่ใช้ในการทดสอบ [เทคโนโลยียาง] | Polyurethane rubber | ยางพอลิยูรีเทนได้จากการทำปฏิกิริยาระหว่างหมู่ไอโซไซยาเนต (isocyanate, -N-C=O) และหมู่ไฮดรอกซิล (hydroxyl, -OH) เกิดเป็นพันธะยูรีเทน (-NH-CO-O-) ขึ้น ถ้าหมู่ R ในพอลิออลเป็นพอลิเอสเทอร์ จะเรียกว่า พอลิเอสเทอร์ยูรีเทน (AU) และถ้าหมู่ R เป็นพอลิอีเทอร์ จะเรียกว่า พอลิอีเทอร์ยูรีเทน (EU) สมบัติทั่วไปของยางพอลิยูรีเทน คือ มีความทนต่อแรงดึง ความทนต่อการฉีกขาด ความแข็ง ความต้านทานต่อการขัดถู รวมทั้งมีความทนทานต่อการเสื่อมสภาพเนื่องจากสภาพอากาศ ออกซิเจน ความร้อน และโอโซนดีมาก แต่จะเสื่อมสภาพได้ง่ายถ้าใช้งานในที่ร้อนชื้นหรือในสภาวะที่ต้องสัมผัสกับ น้ำร้อน ไอน้ำ กรด หรือด่าง (เกิดการไฮโดรไลซิส) สามารถนำไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น ท่อยาง ข้อต่อยาง ปลอกหุ้มสายเคเบิล สายพานลำเลียง ล้อสเก็ต ยางพื้นรองเท้า ยางซีล ปะเก็น เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] | Retarder | สารหน่วงปฏิกิริยา คือ สารเคมีซึ่งลดอัตราเร็วการเกิดปฏิกิริยาเคมี เมื่อนำมาใส่ในยางจะช่วยเพิ่มระยะเวลาก่อนที่ยางจะเริ่มเกิดปฏิกิริยาคงรูป ช่วยลดโอกาสของการเกิดยางตายทั้งในระหว่างการเก็บรักษาและระหว่างกระบวนการ ขึ้นรูป [เทคโนโลยียาง] | Storage hardening | ปรากฏการณ์ที่ความหนืดของยางดิบหรือยางที่ยังไม่ได้ผ่านการคงรูปเพิ่ม ขึ้นระหว่างการเก็บ เนื่องจากหมู่อัลดีไฮด์ (aldehyde group) ที่มีอยู่ในยางธรรมชาติเข้าไปทำปฏิกิริยาควบแน่นกัน เกิดเป็นโครงสร้างสามมิติที่มีการเชื่อมโยง (crosslink) ระหว่างโมเลกุลยางมีผลทำให้ยางแข็งขึ้น [เทคโนโลยียาง] | Vulcanizing agent | สารเคมีสำหรับผสมในยางเพื่อทำให้ยางเกิดการเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุล เกิดเป็นโครงสร้างตาข่ายสามมิติ (โครงสร้างร่างแห) ขึ้น สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ระบบใหญ่ๆ ได้แก่ ระบบที่ใช้กำมะถัน ระบบที่ใช้เพอร์ออกไซด์ และระบบที่ใช้สารเคมีอื่นๆ เช่น โลหะออกไซด์ [เทคโนโลยียาง] | Upward terrestrial radiation | การแผ่รังสีของโลก ขึ้นสู่เบื้องบน [อุตุนิยมวิทยา] | community | กลุ่มสิ่งมีชีวิต, สิ่งมีชีวิตตั้งแต่ 2 ชนิด (สปีชีส์) ขึ้นไปอาศัยอยู่ร่วมกัน และมีความสัมพันธ์กัน เช่น ปลากับพืชในน้ำ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | macromolecule | โมเลกุลใหญ่, โมเลกุลขนาดใหญ่ของสารที่มีมวลโมเลกุลเกินกว่า 10, 000 ขึ้นไป เช่น โมเลกุลของโปรตีน โมเลกุลของพอลิเมอร์บางชนิด เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | battery | แบตเตอรี่, เซลล์ไฟฟ้าตั้งแต่ 2 เซลล์ ขึ้นไปนำมาต่อรวมเข้าเป็นหน่วยเดียวกัน โดยต่อแบบอนุกรมหรือแบบขนาน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | jack | แม่แรง, เครื่องผ่อนแรงใช้สำหรับยกวัตถุที่มีน้ำหนักมาก ๆ ขึ้น ใช้หลักการทำงานด้วยคานเกลียวหรือแรงดันจากน้ำหรือน้ำมัน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | kinetic energy | พลังงานจลน์, พลังงานของวัตถุหรืออนุภาคซึ่งกำลังเคลื่อนที่ ขึ้นอยู่กับมวล และความเร็วของวัตถุหรืออนุภาคนั้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Skylab | สกายแลบ, ห้องปฏิบัติการอวกาศของสหรัฐอเมริกา ขึ้นไปโคจรอยู่ในอวกาศรอบโลกเมื่อวันที่14 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 และตกลมาสู่โลกบริเวณมหาสมุทรอินเดียและที่ว่างภาคเหนือของประเทศออสเตรเลีย เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2522 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | terrace cultivation | การเพาะปลูกแบบขั้นบันได, การเพาะปลูกตามไหล่เขา โดยวิธีปรับพื้นที่เป็นขั้น ๆ ขึ้นไปบนเขา เป็นการช่วยอนุรักษ์ดินและน้ำ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | communication devices | อุปกรณ์การสื่อสาร, ทำหน้าที่รับและส่งข้อมูลจากอุปกรณ์ส่งและรับข้อมูลโดยมีการส่งผ่านทางสื่อกลางดังที่กล่าวมาแล้ว สัญญาณที่ส่งออกไปอาจอยู่ในรูปแบบดิจิทัล หรือแบบแอนะล็อก ขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารกับสื่อกลางที่ใช้ในการเชื่อมต่อ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | digital modem | ดิจิทัลโมเด็ม, โมเด็มที่ใช้รับและส่งข้อมูลผ่านสายเชื่อมสัญญาณแบบดิจิทัล โดยโมเด็มจะทำการเชื่อมต่อให้อัตโนมัติเมื่อมีการใช้งาน สามารถส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงตั้งแต่ 128 kbps ขึ้นไป ซึ่งเป็นโมเด็มที่ติดตั้งภายนอก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | procedural languages | ภาษาเชิงกระบวนความ, ภาษาโปรแกรมที่มีลักษณะการทำงานตามลำดับของคำสั่งจากคำสั่งแรกจนถึงคำสั่งสุดท้าย และบางคำสั่งอาจจะถูกทำซ้ำ หรือบางคำสั่งอาจจะไม่ถูกกระทำเลย ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขในโปรแกรม ภาษาในกลุ่มนี้เหมาะสำหรับการเริ่มต้นทำความเข้าใจกับการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เนื่องจากช่ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
| ขึ้นฉ่าย = ขึ้นไช่ | [kheunchāi = kheunchai] (n) EN: celery ; celeriac ; turnip-rooted celery FR: céleri [ m ] |
| stick them up! | (phrase) ยกมือ (ทั้งสองข้าง) ขึ้น เช่น ในภาพยนตร์ เวลาที่โจรจะเข้ามาจี้ หรือตำรวจจะมาจับ และสั่งให้คนนั้นๆ ยกมือขึ้น | damn it! | (phrase) เป็นคำสบถ แปลว่า ฉิบหาย ให้ตายเถอะ (ดีกรีความหยาบคาย ขึ้นกับอารมณ์ผู้พูดขณะนั้น และแปลตรงจากภาษาอังกฤษ คือ แช่งมันไปเลย) | cirro | ชั้นสูง (เป็น prefix ของเมฆที่มีระดับความสูงตั้งแต่ 20, 000 ฟุต ขึ้นไป) | heat | (n) รอบการแข่งขันกีฬาในลักษณะที่ผู้ชนะจะมีสิทธิ์ผ่านเข้าไปแข่งในรอบที่สูงๆ ขึ้นไปได้ |
| appreciate | (vi) (ราคา) ขึ้น | break through | (phrv) (พระจันทร์หรือพระอาทิตย์) ขึ้นหรือปรากฏให้เห็น, Syn. come through | commence | (vt) ตั้งต้น, See also: เริ่มต้น, ขึ้นต้น, Syn. begin, start | commence | (vi) ตั้งต้น, See also: เริ่มต้น, ขึ้นต้น, Syn. begin, start | dandle | (vt) โยกเด็กเล็กๆ ขึ้นลงอย่างเบาๆ, Syn. caress | enthrone | (vt) ให้ (กษัตริย์, สังฆนายก) ขึ้นนั่งบนบัลลังก์ (คำทางการ), Syn. crown | famous | (adj) มีชื่อเสียง, See also: โด่งดัง, ขึ้นชื่อ, เป็นรู้จักกันดี, Syn. renowned, notable, well-known, Ant. humble, unknown | fluctuate | (vi) ผันผวน, See also: ผันแปร, ขึ้นๆ ลงๆ, Syn. waver, oscillate, Ant. stand, remain | head out | (phrv) ออกรวง (ต้นไม้), See also: งอก, ขึ้น, Syn. head up | head up | (phrv) ออกรวง (ต้นไม้), See also: งอก, ขึ้น, Syn. head out | land at | (phrv) (เครื่องบิน) ลงจอด, See also: ขึ้นฝั่ง, ขึ้นบก, เรือ เข้าเทียบท่า, Syn. land in, land on | land in | (phrv) (เครื่องบิน) ลงจอด, See also: ขึ้นฝั่ง, ขึ้นบก, เรือ เข้าเทียบท่า, Syn. land at, land on | land on | (phrv) (เครื่องบิน) ลงจอด, See also: ขึ้นฝั่ง, ขึ้นบก, เรือ เข้าเทียบท่า, Syn. land at, land in | land upon | (phrv) (เครื่องบิน) ลงจอด, See also: เรือ ขึ้นฝั่ง, ขึ้นบก, เข้าเทียบท่า, Syn. land on, land in, land up | lead | (vt) นำ, See also: นำหน้า, ขึ้นหน้า, อยู่หน้า, Syn. be ahead of, Ant. follow | mountable | (adj) ซึ่งขึ้นไป (เช่น ปีน, ขึ้นม้า, ลุก) | polish | (vi) (พื้น, ผิว) เป็นเงา, See also: พื้น, ผิว ขึ้นมัน | prick up | (phrv) (สัตว์) ชู (อวัยวะ เช่น หู) ขึ้น, See also: ยกขึ้น, Syn. perk up | pull up | (phrv) เปลี่ยนระดับ, See also: ตีคู่, ขึ้นมาเท่ากับ | register | (vi) ลงทะเบียน, See also: ขึ้นทะเบียน, ขึ้นบัญชี, จดทะเบียน, Syn. enlist, enroll | register | (vt) ลงทะเบียน, See also: ขึ้นทะเบียน, ขึ้นบัญชี, จดทะเบียน, Syn. enlist, enroll | seasonal | (adj) ตามฤดูกาล, See also: ตามช่วงเวลา, ขึ้นอยู่กับฤดูกาล, มีเป็นช่วงๆ, Syn. periodically, once a season, periodic | seesaw | (vi) โยกขึ้นโยกลง, See also: เคลื่อนขึ้นๆ ลงๆ, ขึ้นลง, Syn. oscillate, rock | set up against | (phrv) ยกขึ้นมาคัดค้าน, See also: ยก บางสิ่ง ขึ้นมาต่อต้าน | take up | (phrv) หยิบ (หนังสือ) ขึ้นมา, See also: ยก หนังสือ ขึ้นมา, Syn. lift up, raise | uphill | (adv) ขึ้นเขา, See also: ขึ้นที่สูง, ขึ้นเนิน, Ant. downhill | warty | (adj) ที่มีก้อนเล็กๆ ขึ้นบนผิวหนัง | waver | (n) (น้ำเสียง) ขึ้นๆ ลงๆ (แสดงอารมณ์) |
| according | (อะคอร์' ดิง) adj. ซึ่งเห็นด้วย, ขึ้นอยู่กับ, Syn. depending | aloft | (อะลอฟทฺ') adv. สูงขึ้นไป, เบื้องบน, ขึ้นไปในอากาศ, บนเสากระโดงเรือ, บนสวรรค์ | ana- | (คำเสริมหน้า) มีความหมายว่า ขึ้น, อีก, ตลอด, หลัง (up, against, again) | ascend | (อะเซนดฺ') vi., vt. ขึ้น, ประสบความสำเร็จ, เฟื่องฟู, Syn. advance, rise | assumption | (อะซัมพฺ'เชิน) n. การสันนิษฐาน, การนึกเอา, ข้อสมมุติ, การเข้ารับตำแหน่ง, ความหยิ่ง, การเสแสร้ง, เทศกาลพระแม่ (Virgin Mary) ขึ้นสวรรค์ (conjecture, supposition) | bezier curve | รูปโค้งเบซิเอร์หมายถึง รูปเส้นโค้งทางคณิตศาสตร์รูปหนึ่ง เป็นโค้งที่ไม่มีรูปลักษณ์ที่มีกฏเกณฑ์เป็นสูตรกำหนด การสร้างเส้นโค้งในโปรแกรมบางโปรแกรม จะต้องเริ่มด้วยการลากเส้นตรงขึ้นมาเส้นหนึ่งก่อน แล้วสร้างจุดสองจุดบนเส้นตรงนั้น ใช้เมาส์ดึงแต่ละจุดขึ้นไป ในทิศทางที่ต่างกัน ก็จะได้โค้งแบบเบซีเอร์ ขึ้นมา | cash | (แคช) { cashed, cashing, cashes } n. เงินสด, เหรียญเงิน, ธนบัตร. vt. จ่ายเงินสด, รับเงินสด, ขึ้นเป็นเงินสด -Phr. (cash in ขึ้นเป็นเงินสด, หยุดกิจการ, ถอนตัว) -Phr. (cash in on หากำไรจาก), See also: cashable adj. ดูcash, Syn. curren | computer language | ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพื่อสื่อสารให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ โดยปกติเราแบ่งภาษาที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ชนิด คือ1. ภาษาเครื่อง (machine language) คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้เครื่องจะรับรู้และปฏิบัติตามได้ทันที ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์แต่ละแบบก็จะคิดแบบของภาษาที่ใช้กับเครื่องนั้น ๆ ขึ้นเป็นภาษาเฉพาะของเครื่องลักษณะของภาษาประเภทนี้จะเป็นตัวเลขฐานต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ ฉะนั้นจึงเป็นการยากสำหรับผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งต้องเรียนรู้รายละเอียดของเครื่องนั้น ๆ ก่อน จึงจะใช้ภาษาได้2. ภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) หมายถึงภาษาที่มนุษย์เข้าใจ (แต่เครื่องไม่เข้าใจ) เนื่องจากภาษาเครื่องยุ่งยากและสับสน จึงมีการคิดภาษาหนังสือซึ่งมนุษย์เราเคยชินกันอยู่แล้วขึ้น แล้วใช้ตัวแปล (translator) แปลเป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง เครื่องจึงจะดำเนินการได้ ภาษาแนวมนุษย์นี้แบ่งออก ได้เป็น 2 ระดับ คือ2.1 ภาษาระดับต่ำ (low - level language) เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) 2.2 ภาษาระดับสูง (high - level language) เช่นภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) ลักษณะของภาษาระดับสูงนี้ ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นให้เหมาะสมกับงานเฉพาะอย่าง เช่น ภาษาฟอร์แทรน เหมาะกับงานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และงานวิจัย ภาษาโคบอลและอาร์พีจี (RPG) เหมาะกับงานด้านธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ ก็ยังมีภาษาอื่นที่เป็นที่นิยมอีกมาก ภาษาเหล่านี้จะใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมาก เพราะในคอมพิวเตอร์ จะมีตัวแปล (translator) ซึ่งมีหน้าที่คอยแปลภาษาแนวมนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง การใช้ภาษาแนวมนุษย์นี้มีข้อดีคือ ใช้ง่ายกว่า มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่ายกว่า และเขียนได้สั้นกว่า เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลาย ๆ คำสั่งของภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดี ตรงที่ใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่า เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการแปล | control statement | ข้อความสั่งควบคุมในการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่งนั้น โดยปกติ เครื่องคอมพิวเตอร์จะทำงานตามคำสั่งไปทีละคำสั่ง โดยเรียงไปตามลำดับก่อนหลัง แต่เราอาจใช้ข้อความสั่งให้ควบคุมการทำงานได้เช่น กระโดดข้าม, วนกลับไปทำบางคำสั่งใหม่หรือวนหลาย ๆ รอบหรือหยุดทำถ้า ... ข้อความสั่งเหล่านี้มีอยู่หลายคำสั่ง ขึ้นอยู่กับภาษาเป็นต้นว่า GOTO, DO, IF ในภาษาฟอร์แทรน หรือ FOR.....NEXT ในภาษาเบสิก | court-martial | (คอร์ท'มาร์เชิล) n. ศาลทหาร vt. ขึ้นศาลทหาร | debark | (ดิบาร์ค') vt. ทำให้ขึ้นบก, เอาสินค้าขึ้น, เอาเปลือกออก, ปลอกเปลือก -vร. ขึ้นบก, ขึ้นฝั่ง, See also: debarkation n. ดูdebark | del key | เป็นแป้นหนึ่งบนแผงแป้นอักขระ โดยปกติจะมีคำ del เขียนไว้บนแป้นด้วย ถ้ากดแป้นนี้จะเป็นคำสั่งให้ลบตัวอักษรที่อยู่ทางขวามือของตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) ขึ้นอยู่กับโปรแกรมจะกำหนดไว้ | depend | (ดีเพนดฺ') { depended, depending, depends } vi. ขึ้นอยู่กับ, อาศัย, อยู่ที่, สุดแล้วแต่, พึ่งพา, แขวนหรือห้อยอยู่, เชื่อถือ | dependent | (ดิเพน'เดินทฺ) adj. ขึ้นอยู่กับ, แล้วแต่, ซึ่งห้อยอยู่. n. ผู้อาศัย, ผู้อยู่ในความอุปถัมภ์, Syn. dependant | embus | (เอม'บัส) vt. เอาขึ้นรุยานเกราะ vi. ขึ้นรถยานเกราะ | erective | (อีเรค'ทิฟว) adv. ขึ้นตั้งชัน, ซึ่งตั้งขึ้น, เกี่ยวกับการก่อสร้าง | escalade | (เอล'คะเลด) n., vt. (การ) ขึ้นดอย, ทางขั้นบันได, (การ) ใช้บันไดปีนกำแพง, ขึ้นขั้นบันได, See also: escalader n. | fatbits | แฟตบิตส์เมื่อต้องการจะนำภาพมาขยายบนจอภาพเพื่อให้มองเห็น ส่วนละเอียดได้ดียิ่งขึ้น วิธีทำก็คือ ขยายขนาดของจุดซึ่งเป็น องค์ประกอบ สำคัญของภาพให้ใหญ่หรือให้อ้วน ขึ้นตามชื่อ ที่ใช้เรียกเพื่อจะได้แก้ไขได้ง่าย จุดที่นำมาขยายขนาดนี้ ที่ เรียกว่า "แฟตบิตส์" | fiduciary | (ฟีดู'เชียรี) n. ผู้ได้รับมอบหมายอำนาจหรือทรัพย์สิน, ผู้ได้รับความไว้วางใจ adj. ขึ้นอยู่กับความเชื่อใจ | gangboard | n. แผ่นกระดานกระโดด, แผ่นกระดานหรือสะพาน ขึ้นหรือลงเรือ | land | (แลนดฺ) { landed, landing, lands } n. ที่ดิน, พื้นดิน, แผ่นดิน, ประเทศ, เขต, ดินแดนของประเทศ vt. ตั้งรกราก, นำไปสู่, ยึด, จับ, จับจอง, นำขึ้นบก. vi. ขึ้นบก, ขึ้นฝั่ง, สู่ -Phr. (the land ที่ดินเกษตรชนบทอาชีพการเกษตรและการปศุสัตว์), Syn. soil, g | lift | (ลิฟทฺ) { lifted, liftign, lifts } vt. ยก, ยกขึ้น, ชูขึ้น, แบกขึ้น, เงยขึ้น, โยงขึ้น, ลำเลียงขึ้น, ยกระดับ, ถอน, เพิกถอน vi. ขึ้น, ลอยขึ้น, เลื่อนขึ้น, ลอยขึ้นและกระจาย n. การยก, การแบกขึ้น, การยกระดับขึ้น, เครื่องยก, ลิฟต์, บันไดไฟฟ้า, ระดับชั้น ระดับนำขึ้น, การขนส่งด้วยเครื่องบิน | line feed | ป้อนบรรทัดใช้ตัวย่อว่า LF เป็นสัญญาณบอกให้เครื่องพิมพ์เลื่อนลงไปอีกบรรทัดหนึ่ง หรือ ขึ้นบรรทัดใหม่ ทั้ง ๆ ที่ยังไม่ถึงจุดสิ้นสุดของบรรทัดดู carriage return หรือ Return key ประกอบ | mercy | (เมอ'ซี) n. ความเมตตา, ความกรุณาปรานี, ความอนุเคราะห์, อำนาจของผู้พิพากษาในการให้อภัยโทษหรือลดหย่อนผ่อนโทษ, พร -Phr. (at the mercy ขึ้นอยู่กับ อยู่ภายใต้อำนาจของ) | mill | (มิล) n. โรงเครื่องจักรเครื่องกล, โรงงาน, โรงสี, โรงโม่, โรงบดวัตถุ, เครื่องบด, โรงประกอบหัตถกรรม, หน่วยงานที่ผลิตสิ่งใด ๆ ขึ้นเป็นจำนวนมาก . vt. บด, โม่, ต่อสู้, เอาชนะ, ตี, ชก, ต่อย. -Phr. (through the mill ผ่านความยากลำบาก), See also: millable adj. | minicomputer | มินิคอมพิวเตอร์หมายถึงคอมพิวเตอร์ขนาดกลางระหว่าง ขนาดใหญ่ (mainframe) และขนาดส่วนบุคคล (micro computer) การที่จะกำหนดว่าคอมพิวเตอร์เครื่องใดเป็นขนาดใดนั้น ไม่มีตัวกำหนดบ่งบอกไว้แน่นอน ขึ้นกับบริษัทที่เป็นผู้ผลิตจะเรียกเอง | mount | (เมาน์ทฺ) v., n. (การ) ขึ้น, ปีนขึ้น, ลุกขึ้น, ขึ้นม้า, ยกขึ้น, ตั้งปืนใหญ่, วางยาม, ติดภาพ, ติดตัวอย่าง, เตรียมตัวอย่างเพื่อส่องกล้องจุลทรรศน์, เตรียมส่องกล้องจุลทรรศน์, สิ่งค้ำจุน, เนินเขา, ภูเขา, See also: mountable adj. | mountaineer | (เมาทะเนียร์') n. ผู้อาศัยอยู่ตามภูเขา, นักขึ้นเขา, นักไต่เขา vi. ขึ้นเขา, ไต่เขา | overgrow | (โอ'เวอะโกร) vt., vi. ขึ้นมากเกินไป, ขึ้นปกคลุมมากเกินไป, โตใหญ่เกินไป., See also: overgrowth n. | page up key | เป็นแป้นหนึ่งบนแผงแป้นอักขระ จะมีตัวอักษรย่อ PgUp อยู่บนแป้น ทำหน้าที่ตรงข้ามกับแป้น PgDn การกดแป้นนี้ทำให้ตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) ขึ้นไปอยู่บรรทัดบนของจอภาพ หรือบรรทัดแรกของแฟ้มเอกสารเลย (ขึ้นอยู่กับโปรแกรม) ดู Pg Dn key เปรียบเทียบ | pipeline | การทำงานแบบสายท่อหมายถึง วิธีการเชื่อมโยงสองโปรแกรมหรือกว่านั้นเข้าด้วยกัน โดยกำหนดให้ผลที่เกิดจากการประมวลผลในโปรแกรมแรก เป็นตัวกำหนดเรียกโปรแกรมที่สอง (หมายความว่า โปรแกรมที่สองจะเป็นโปรแกรมใด ขึ้นกับผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลในโปรแกรมแรก) การประมวลผลในโปรแกรมที่สองก็จะเรียกโปรแกรมต่อไป วิธีการนี้ใช้ในระบบยูนิกซ์ (UNIX) และ ดอส (DOS) | real mode | ภาวะจริงหมายถึง แบบวิธีการปฏิบัติงานของไมโครโพรเซสเซอร์ (microprocessor) 80286 ขึ้นไป ที่สามารถทำการได้เหมือนกับรุ่น 8088 ของไมโครคอมพิวเตอร์รุ่นแรก ๆ | rust | (รัสทฺ) n. สนิมเหล็ก, สนิม, ขี้สนิม, สีสนิม, สิ่งที่ทำให้เสื่อม, นิสัยขี้เกียจ, โรคพืชที่เนื่องจากเชื้อราจำ, สีน้ำตาลอมแดง, สีสนิม vi. ขึ้นสนิม, ติดโรคพืชดังกล่าว, เสื่อมโทรม, กลายเป็นสีสนิม vt. ติดโรคพืชดังกล่าว, ทำให้เสื่อมโทรม, ทำให้เป็นสีสนิม | strength | (สเทรง) n. กำลัง, พลัง, แรง, ความแข็งแรง, อำนาจจิต, ความกล้าหาญ, ความหนักแน่น, กำลังทหาร, กำลังกองทัพ, จำนวนทหารหรือเรือ, อำนาจความต้านทาน, แหล่งพลัง, อำนาจการขึ้นหรือพยุงราคา -Phr. (on the strength of ขึ้นอยู่กับบนรากแห่ง), Syn. power, forc | strong | (สทรอง) adj., adv. แข็งแรง, มีกำลัง, เข้มแข็ง, แข็งแกร่ง, แน่นหนา, มั่นคง, กล้าหาญ, มีอำนาจ, มีอิทธิพล, ร่ำรวย, เด็ดเดี่ยว, ไม่เปลี่ยนแปลง, ชัดเจน, รุนแรง, (เสียง) จัด, (กลิ่น) ฉุนหรือแรง, เต็มที่, เข้มข้น, เน้นเสียง, (ราคา) ขึ้นเรื่อย, มีอำนาจหักเหแสงสูง. | surge | (เซิร์จฺ) n. คลื่นแรง, คลื่นยักษ์, ลักษณะขึ้น ๆ ลง ๆ , กระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้นอย่างรุนแรง, คลื่นรบกวนมาก, การวน vi. ขึ้น ๆ ลง ๆ , กระเพื่อม, พล่าน, ซัดไปมา, โซเซ, เป็นระลอก, เพิ่ม, ขึ้นอย่างฉับพลัน, แกว่งไปมาอย่างรุนแรง, รวน | throne | (โธรน) n. ราชบัลลังก์, บัลลังก์, ตำแหน่งกษัตริย์, อำนาจกษัตริย์, ผู้ครองบัลลังก์, รัฎฐาธิปัตย์, ลำดับชั้นของเทพดา. vt. ทำให้ขึ้นครองบัลลังก์. vi. ขึ้นครองบัลลังก์ | tier | (ไท'เออะ) n. แถวที่นั่ง, แถว, ชั้น, ระดับ, แนว, หลั่นผู้ผูก (มัด, ต่อ, รัด, โยง) , สิ่งที่ผูก (มัด, ต่อ, รัด, โยง) , ผ้ากันเปื้อนของเด็ก vt. จัดเป็นแถว (ชั้น, ระดับ...) vi. ขึ้นเป็นแถว (ชั้น, ระดับ...), Syn. row | toolbar | แถบเครื่องมือหมายถึง แถบที่อยู่ด้านบนของวินโดว์ ในระบบวินโดว์ 95 ขึ้นไป บนแถบนี้จะมีปุ่มคำสั่งต่าง ๆ ถ้านำตัวชี้ไปวางใกล้ ๆ ก็จะมีคำอธิบายว่า แต่ละปุ่มมีไว้ใช้ทำอะไร แต่ถ้ากดเมาส์ลงบนปุ่มเหล่านี้ คอมพิวเตอร์ก็จะทำงานให้ตามคำสั่งเหมือนใช้คำสั่งที่เมนู | top | (ทอพ) n. ส่วนบน, ยอด, บน, มุมบน, ข้างบน, ด้านบน, หลังคา, ฝา, ประทุน, หัว, ส่วนแรกสุด adj. บน, ยอด, สูงสุดยอดเยี่ยม, ดีเลิศ, ชั้นนำ, หัวหน้า vi. ขึ้นเหนือ, เพิ่ม, ติดตาม, ควบคุมได้สมบูรณ์ adj. บน, ยอด, สูงสุดยอดเยี่ยม, ดีเลิศ, ชั้นนำ, หัวหน้า on top ประสบความสำเร็จ, มีชัยชนะ | up | (อัพ) adj. ขึ้น, ขึ้นไป, อยู่ชั้นบน, ตั้งตรง, อยู่เหนือ, อยู่สูงกว่า, ลุกขึ้น, ตื่นขึ้น, ขึ้นหน้า, เกิดขึ้น, มากขึ้น, ขึ้นเหนือ, เกลี้ยง, แน่นหนา, เร่าร้อน, ไปตามลม, ให้หมด, ให้เสร็จ, ถึงที่สุด, โดยสิ้นเชิง. vt. ทำให้ใหญ่ขึ้น, ยกเว้น, ทำให้ดีขึ้น. vi. เริ่ม, ริเริ่ม | upgrade | (อัพ'เกรด) n. การลาดขึ้น, การยกระดับ, การเลื่อนขึ้น, การเพิ่มขึ้น. adj. ขึ้นเขา, ขึ้นเนิน. vt. ทำให้เลื่อนขึ้น, ยกระดับ, Syn. push | uphill | (อัพ'ฮิล) adv., adj. ขึ้นเนิน, บนเนิน, ขึ้นข้างบน. n. ที่เนิน, การขึ้นเนิน, การเลื่อนขึ้น, การขึ้นข้างบน | upward | (อัพ'เวิร์ด) adv. ขึ้น, ขึ้นข้างบน, ขึ้นไประดับสูงกว่า, เหนือขึ้นไป. | windows | ย่อจากคำเต็มว่า Microsoft Windows เป็นชื่อของโปรแกรมระบบวินโดว์สของบริษัทไมโครซอฟต์ ซึ่งทำงานภายใต้ระบบไมโครซอฟต์ดอส (Microsoft DOS) ที่เขียนโดยบริษัทเดียวกัน ถือว่าเป็นโปรแกรมระบบที่ได้รับความนิยมสูงสุดในปัจจุบัน ไมโครคอมพิวเตอร์ที่ใช้ชิป 80286 ขึ้นไป สามารถใช้ระบบวินโดว์สได้ ระบบวินโดว์ได้พัฒนาตลอดมา ปัจจุบัน กำลังอยู่ระหว่างหัวเลี้ยวหัวต่อที่จะเปลี่ยนจากวินโดว์ส 3.1 เป็นวินโดว์ส 95 วินโดว์ส 97 และวินโดว์ส 2000 ต่อไป ระบบวินโดว์นี้จะรวมเอาโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) ต่าง ๆ ไว้ให้อย่างพร้อมมูล นอกจากนั้น หลายบริษัทยังสร้างโปรแกรมสำเร็จต่าง ๆ ให้ทำงานบนระบบวินโดว์สนี้ เช่น Aldus PageMaker, Freelance ทุกโปรแกรมจะมีวิธีการใช้พื้นฐานคล้ายคลึงกัน ทำให้ง่ายในการเรียนรู้ เพราะเรียนรู้โปรแกรมหนึ่ง ก็ทำให้มีแนวที่จะเรียนโปรแกรมอื่นง่ายขึ้น ระบบวินโดว์สนี้ จะเน้นในเรื่องการใช้ภาพเป็นสื่อ มีการใช้เมาส์ ใช้เมนู มีรายการเลือกต่าง ๆ ทำให้ผู้ใช้รู้สึกสะดวกขึ้นมาก |
| ascend | (vi, vt) ขึ้นไป, มีอำนาจ, เฟื่องฟู | cash | (vt) ขึ้นเงินสด, จ่ายเงินสด | COURT-court-martial | (vt) ขึ้นศาลทหาร | debark | (vt) ขึ้นบก, ขึ้นจากเรือ, ขึ้นฝั่ง, ปลอกเปลือก | heave | (vi) ขึ้นสูง, อาเจียน, ผายออก, กระเพื่อม, ถอนใจ | land | (vi) ขึ้นบก, ขึ้นฝั่ง, เทียบท่า, ลงดิน | mold | (vi) ขึ้นรา, เก่า, ครึ, เหม็นอับ | mount | (vi, vt) ขึ้น, ขี่, ติด, ปิด, เพิ่มขึ้น, ลุกขึ้น | musty | (adj) ขึ้นรา, เหม็นอับ, เก่า, คร่ำครึ, จืดชืด, เซื่องซึม | overgrow | (vi, vt) ขึ้นอยู่ทั่ว, ขึ้นปกคลุม, โตเร็ว, งอกเร็ว | ply | (vi) ขึ้นล่อง, แล่นไปมา | rust | (vi) ขึ้นสนิม, เป็นสนิม, เสื่อมโทรม | tune | (vt) ขึ้นเสียง(ดนตรี), ร้อง(เพลง), ตั้งเสียง(ซอ), ปรับ | up | (adv) ขึ้นไป, ตรง, อยู่เหนือ, โดยสิ้นเชิง, ให้หมด | uphill | (adv) ขึ้นเขา, ขึ้นเนิน | upward | (adv) ขึ้นไปข้างบน, ขึ้นสูง, เหนือขึ้นไป | upwards | (adv) ขึ้นไปข้างบน, ขึ้นสูง, เหนือขึ้นไป |
| apply leave | [แอพพลาย ลีฟต์] ขอลาหยุด หรือ ยื่นคำขอลาหยุด ขึ้นอยู่กับบริบท เช่น • I need to apply for leave next week. → ฉันต้องขอลาหยุดสัปดาห์หน้า • Please apply leave through the HR system. → กรุณายื่นคำขอลาหยุดผ่านระบบ HR | essential oil | (n) นำมันหอมที่สกัดมาจากพืช ใช้เป็นหัวเชื้อเพื่อผสม หรือใช้แบบเข้มข้น ขึ้นกับชนิดและการนำไปใช้, See also: essence, Syn. volatile oil | Girls' Generation | [เกิล เจนเนอเรชัน] (n, คำเฉพาะ) ศิลปินกลุ่มหญิงที่ได้รับความนิยมสูงที่สุดในวงการเพลงเกาหลี มีผลงานออมามากมาย เริ่มต้น Debut ในกลางปี 2007 ด้วยเพลงเปิดตัว Into the new world ด้วยน้ำเสียงที่เข็มแข็ง ท่าเต้นทรงพลัง ทำให้ค่อยๆได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในช่วงแรก โดนกระแสต่อต้านมากมาย แต่พวกเธอทั้ง 9 ก็ สามารถพิสูจน์ให้เห็นถึงความสามารถและความตั้งใจจริง จนกระทั่ง มีอัลบั้มออกมามากมาย ปี2007 อัลบั้ม Girls' Generation ปี2008 อัลบั้ม Baby Baby (Repackage) ปี 2009 มินิอัลบั้มที่ 1 Gee ซึ่งอัลบั้มนี้โด่งดังมาก เพลง Gee ขึ้นอันดับหนึ่งของรายการ Music Bank 9 สับดาห์ซ้อน ในปีเดียวกัน ได้ออกมินิอัลบั้มที่ 2 Genie ได้รับความนิยมมากเช่นกัน ปี 2010 อัลบั้ม Oh! Run Devik Run และล่าสุด Hoot ซึ่งยังได้รับความนิยมอย่างมากเช่นกัน มีคอมเสริตเดี่ยวในหลายๆประเทศแถบเอเชีย เช่น เกาหลี จีน ฮ่องกง ญี่ปุ่น ซึ่งกระแสตอบรับดีมาก | increscent | (n) เพิ่มขึ้น , ค่อย ๆ ขึ้นเต็มดวง | notarial { adj } | [โนทาเรียล] (adj) การจดทะเบียน / ขึ้นทะเบียน | photogenic | (n) ถ่ายรูปแล้วดูดี , ขึ้นกล้อง | wanton | (adj) 1. ไม่มีความระมัดระวัง, ไม่มีเหตุผล 2. ป่าเถื่อน, โหดร้าย 3. (ต้นไม้) ขึ้นอย่างไม่ยับยั้ง 4. (ผู้หญิง) ทำตัวเสเพล | WM ware | เป็นโปรแกรมที่ถูกคิดค้นขึ้นมาเพื่อสร้างคอมพิวเตอร์เสมือน (Virtual Machine) ขึ้นบนระบบปฏิบัติการเดิมที่มีอยู่ | กุศล | (n, adj) กุศล ควรจะหมายถึง การกระทำที่เกี่ยวข้องกับการยกระดับจิตใจให้ดีขึ้น ปรับปรุงจิตใจให้ดีขึ้น มากกว่าทำความดีเฉย ๆ การกระทำใด ๆ หากทำแล้วมีผลต่อสภาวะจิตใจของตนเปลี่ยนไปในทางที่สูงขึ้น จึงเรียกว่ากุศล หากการกระทำดีนั้น ๆ ไม่ได้มีผลเปลี่ยนแปลงจิตใจตนเองเลย ไม่เรียกว่ากุศล แต่เรียกว่า กรรมดี โดยทั่วไป มักจะใช้คู่กันกับคำว่า บุญกุศล แต่คำว่า บุญ กับ กุศล ความหมายต่างกัน (เขียนก็ไม่เหมือนกันแล้วจะให้ความหมายเหมือนกันได้อย่างไร) ตัวอย่าง 1. นาย กอ เป็นคนรวย ชอบที่จะให้ทาน เพราะเขาหวังว่า การให้ทานของเขาจะส่งผลทำให้เขารวย ยิ่ง ๆ ขึ้นไป และอาจจะได้ไปสวรรค์ หลังจากที่เขาตายไป - อันนี้นาย กอ ทำกรรมดี หรือทำบุญ แต่ไม่ได้เกิดกุศลในจิต หรือเกิดขึ้นน้อยมาก เพราะเขาทำทานก็จริง แต่ไม่มีผลทำให้จิตใจของเขาวางลงจากความโลภ หรืออยากเลย 2. นาย ขอ เป็นคนชั้นกลาง เขาเห็นเด็กกำพร้ามากมายเกิดขึ้น เขาจึงรู้สึกอยากที่จะช่วยเหลือเด็กเหล่านั้น จึงประหยัดค่าใช้จ่ายของตัวเองมากขึ้น เพื่อที่จะให้ตัวเองมีเงินเหลือมากขึ้น เพื่อที่จะแบ่งไปบริจาคเด็กเหล่านั้น เพื่อที่เด็กเหล่านั้นจะได้โตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ที่ดีต่อไป - อันนี้ นาย ขอ ทำทั้งกุศล และบุญ เพราะมีผลที่ทำให้เขาต้องประหยัด อดออมมากขึ้น และการประหยัดอดออมนี้เอง จะทำได้ก็คือต้องปล่อยวางความอยากของตนเอง และทำเพราะในใจเกิดจิตเมตตากรุณา | เกรียน | (n) เกรียน ในสมัยก่อนหมายถึงเด็กนักเรียนที่เรียนอยู่ในชั้น ประถม ถึง มัธยม แต่ในปัจจุบัน การกล่าวคำว่าเกรียนหมายถึง ผู้ใช้ อารมณ์ในการตัดสินปัญหา มากกว่าที่จะใช้ เหตุและผล ขาดความยั้งคิด และทำตัวเดือดร้อนให้แก่คนรอบข้าง มักพบได้ใน เด็ก ประถม ขึ้นไป |
| 〜日 | [〜にち, ~ nichi] (n) วันที่...ของเดือน (ใช้สำหรับวันที่ 11 ขึ้นไป ยกเว้นวันที่ 14, 20, 24), ...วัน |
| einsteigen | (vi) |stieg ein, ist eingestiegen| ขึ้นรถ, ขึ้นเครื่องบิน, See also: der Einstieg | wachsen | (vi) |wächst, wuchs, ist gewachsen| เติบโต, เจริญงอกงาม, ยาวขึ้น(เล็บ), ขึ้น(วัชพืช, หญ้า), เพิ่มความเข้มข้นขึ้น(เสียง, ความเกลียด, ความสนใจ) | abhängig | (adj,, adv) |von etw./jmdm.| ขึ้นอยู่กับ, ติดสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น Es gab schon sehr viele Studien über das Thema "Suchtgefahr bei Computerspielen", und alle haben ergeben, dass Computerspiele nicht abhängig machen. |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |