ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: โกล, -โกล- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ โกลน | (n) stirrup, Example: นักขี่ม้าเหยียบโกลนเตรียมขึ้นบนหลังม้า, Count Unit: ข้าง, คู่, Thai Definition: ห่วงที่ห้อยลงมาจากอานม้าทั้ง 2 ข้างสำหรับสอดเท้ายันในเวลาขี่ | โกลน | (n) dugout boat, See also: roughhewn boat, Syn. เรือโกลน, Thai Definition: เรียกเรือที่ทำจากซุงเพียงเปิดปีกเจียนหัวเจียนท้ายเป็นเลาๆ พอให้มีลักษณะคล้ายเรือ แต่ยังไม่ได้ขุด ว่า เรือโกลน | โกลน | (n) round pole, Example: ควาญตีนจะทำหน้าที่เอาไม้ท่อนเล็กๆ นี้เรียกว่า โกลน ทำหน้าที่เป็นลูกกลิ้งให้ช้างชักลากไม้ได้เบาแรงขึ้น, Thai Definition: ไม้ท่อนกลมๆ ที่วางเป็นระยะๆ เพื่อลากของที่หนักมาบนนั้น | โกลน | (v) hew roughly into shape, See also: shape roughly, Syn. เกลา, ถาก, Example: ช่างไม้โกลนผิวไม้ให้เรียบ, Thai Definition: เกลาไม้หรือหินทำเป็นรูปเลาๆ ไว้ | ทอดโกลน | (v) lay down rollers, Thai Definition: เอาไม้ท่อนกลมๆ วางเป็นระยะเพื่อลากของที่หนักมาบนนั้น | กระดูกโกลน | (n) stirrup-shaped bone of ear, See also: stapes, Example: หูตึงอาจเกิดเนื่องมาจากมีกระดูกงอกที่บริเวณช่องรูปรี แล้วยึดฐานของกระดูกโกลนให้ติดแน่น | ความโกลาหล | (n) confusion, See also: commotion, uproar, disorder, upheaval, tumult, chaos, Syn. ความวุ่นวาย, ความปั่นป่วน, Ant. ความสงบ, ความเงียบสงบ, Example: เมืองฮิโรชิมาอยู่ในความโกลาหลหลังจากถูกทำลายด้วยลูกระเบิดปรมาณู | มองโกลอยด์ | (n) Mongoloid, Syn. ชาวมองโกลอยด์, Example: ชนชาติไทยในทางชาติวงศ์วิทยาถูกจัดเข้าไว้ในพวกมองโกลอยด์, Count Unit: คน, Thai Definition: ชนชาติผิวเหลือง มีลักษณะผมดำเหยียด หน้ากว้าง จมูกเล็ก ตาเรียว, Notes: (อังกฤษ) | เฮโมโกลบิน | (n) hemoglobin, See also: haemoglobin, Syn. ฮีโมโกลบิน, Thai Definition: สารที่ให้สีแดงในเม็ดเลือดแดง, Notes: (อังกฤษ) |
|
| โกลง | (โกฺลง) ว. โคลง เช่น โกลงกลึงถึงสถาน เปรียบแป้น (ปฏิสังขรณ์วัดป่าโมก). | โกลน | (โกฺลน) น. ห่วงที่ห้อยลงมาจากอานม้า ๒ ข้างสำหรับสอดเท้ายันในเวลาขึ้นหรือขี่ | โกลน | ไม้ท่อนกลม ๆ ที่วางเป็นระยะ ๆ เพื่อลากของที่หนักมาบนนั้น. | โกลน | (โกฺลน) ก. เกลาไว้, ทำเป็นรูปเลา ๆ ไว้, เช่น โกลนไม้ โกลนเรือ | โกลน | เรียกเรือที่ทำจากซุงเพียงเปิดปีกเจียนหัวเจียนท้ายเป็นเลา ๆ พอให้มีลักษณะคล้ายเรือแต่ยังไม่ได้ขุด ว่า เรือโกลน. | โกลาหล | (-หน) น. เสียงกึกก้อง. | โกลาหล | (-หน) ว. อื้ออึง, เอิกเกริก, วุ่นวาย, (โบ; กลอน) ใช้เป็น โกลา โกลี ก็มี เช่น เสียงโห่โกลาเกรียงไกร (คำพากย์), พระกุมารโกรธใจเป็นโกลี (ไชยเชฐ). | ติเรือทั้งโกลน | ก. ตำหนิสิ่งที่ยังทำไม่เสร็จหรือที่ยังไม่รู้ว่าอะไรเป็นอะไร, ติพล่อย ๆ ไปเสียก่อนที่จะรู้ว่าอะไรเป็นอะไร, มักใช้เข้าคู่กับ ติโขนยังไม่ได้แต่งตัว เป็น ติเรือทั้งโกลน ติโขนยังไม่ได้แต่งตัว. | ทอดโกลน | (-โกฺลน) น. เอาไม้ท่อนกลม ๆ วางเป็นระยะเพื่อลากของที่หนักมาบนนั้น. | บังโกลน, บังโคลน | (-โกฺลน, -โคฺลน) น. เครื่องบังเหนือล้อรถ ป้องกันโคลนมิให้กระเด็นขึ้นมาเปื้อนรถ. | มองโกลอยด์ | น. ชนชาติผิวเหลือง มีลักษณะผมดำเหยียด หน้ากว้าง จมูกเล็ก ตาเรียว เช่น จีน ญี่ปุ่น เกาหลี เวียดนาม. | เรือโกลน | (-โกฺลน) น. เรือที่ทำจากซุง เพียงเปิดปีกเจียนหัวเจียนท้ายเป็นเลา ๆ พอให้มีลักษณะคล้ายเรือแต่ยังไม่ได้ขุด. | ลูกโกลน | (-โกฺลน) น. สิ่งที่ใช้ต่างลูกกลิ้งวางเป็นระยะ ๆ ไป เพื่อรองรับสิ่งที่หนักหรือใหญ่โตให้เคลื่อนย้ายชะลอไปได้สะดวก. | เฮโมโกลบิน | (-โกฺล-) น. สารที่ให้สีแดงในเม็ดเลือดแดง ประกอบขึ้นด้วยโปรตีนที่เรียกว่า โกลบิน และ เฮม ซึ่งเป็นสารประกอบที่มีเหล็ก ไนโตรเจน คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน เป็นองค์ประกอบ มีหน้าที่นำออกซิเจน ซึ่งร่างกายสูดหายใจเข้าทางปอดไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย โดยออกซิเจนเกาะติดไปในรูปออกซิเฮโมโกลบิน และออกซิเจนแยกตัวออกได้ง่ายจากเฮโมโกลบินเมื่อไปถึงส่วนอื่นของร่างกายที่ต้องการใช้. | กระทงป่า | น. ไม้พาดปากมาดเรือโกลนชั่วคราว. | กล้อ ๑ | (กฺล้อ) น. เรือโกลน. | กล้อง ๒ | เกลา, โกลน | กุลาหล | (-หน) ว. โกลาหล เช่น สนั่นครั่นครื้นกุลาหล (รามเกียรติ์ ร. ๑). | แกนทราย | น. แกนที่ใช้ในการหล่อพระพุทธรูปหรืองานประติมากรรมไทยด้วยวิธีสูญขี้ผึ้ง ทำด้วยทรายผสมดินเหนียว หมักให้ชุ่มและเหยียบให้เข้ากันจนเหนียว จึงปั้นขึ้นเป็นรูปเลา ๆ เรียกว่า โกลน แล้วผึ่งให้แห้ง จากนั้นเอาขี้ผึ้งพอกและปั้นส่วนผิวจนเป็นรูปตามที่ต้องการ. | โกษ ๒ | (โกด) น. โลก เช่น อันว่าโกลาหลแต่ผืนแผ่น ดลเท้าแท่นพรหมโกษ (ม. คำหลวง กุมาร). | ตาด ๔ | น. ชื่อมองโกลเผ่าหนึ่งที่ชอบรบราฆ่าฟันและอพยพเร่ร่อนอยู่เสมอ บางทีก็เรียกว่า ตาดมองโกล, ชื่อภาษาของพวกตาด ใช้พูดกันในดินแดนตั้งแต่ทิวเขาอูราลทางตะวันตกไปจนถึงทิวเขาอัลไตทางตะวันออก. | มาด ๑ | น. ชื่อเรือขุดชนิดหนึ่ง ยาวประมาณ ๔ วา, ถ้าเพียงแต่ขุดไว้ แต่ยังไม่ได้เบิก เรียกว่า มาดเรือโกลน หรือ ลูกมาด, ถ้ามีประทุน เรียกว่า เรือมาดประทุน, ถ้ามีเก๋ง เรียกว่า เรือมาดเก๋ง. | ยุคมืด | น. ช่วงแรกของสมัยกลางในประวัติศาสตร์ยุโรป ประมาณ ๖๐๐ ปี ระหว่าง พ.ศ. ๑๐๕๐-๑๖๕๐ เป็นยุคที่ประชาชนมีแต่ความมืดมนหมดหวังในชีวิต เพราะถูกพวกตาดมองโกลทำลายล้าง และไม่มีความเจริญทางสติปัญญาเพราะศาสนาไม่เปิดโอกาสให้คิดอย่างเสรี, โดยปริยายหมายถึงยุคที่ประชาชนหมดหวังในชีวิต. | เรือมาด | น. เรือขุดชนิดหนึ่ง ยาวประมาณ ๔ วา, ถ้าเพียงแต่ขุดไว้ แต่ยังไม่ได้เบิก เรียกว่า มาดเรือโกลน หรือ ลูกมาด, ถ้ามีประทุน เรียกว่า เรือมาดประทุน, ถ้ามีเก๋ง เรียกว่า เรือมาดเก๋ง. | ละแมะ | น. เครื่องมือรูปคล้ายจอบ สำหรับถากเรือโกลน. | ลูกมาด | น. เรือมาดที่ขุดแล้วแต่ยังไม่ได้เบิก, มาดเรือโกลน ก็เรียก. (ดู มาด ๑). | สัตถันดร, สัตถันดรกัป | (สัดถันดอน, สัดถันดะระกับ) น. ระยะเวลาที่คนเสื่อมจากศีลธรรมอย่างที่สุด มีการรบราฆ่าฟันกัน ไม่รู้จักญาติพี่น้อง เกิดขึ้นเมื่อมนุษย์มีโทสะหนา เช่น ห้าขวบมีฆราวาส ใจร้ายกาจโกลี กัลปนั้นมีนามกร ชื่อสัตถันดรพึงมี (มาลัยคำหลวง). (ป. สตฺถ ว่า อาวุธ + อนฺตร). (ดู อันตรกัป ประกอบ). | หุ่น | รูปปั้นหรือแกะสลักที่ทำโกลนไว้เพื่อเป็นแบบชั่วคราว, (ปาก) รูปทรงของร่างกายเป็นต้น เช่น คนนี้หุ่นดี |
| | Anglo-American Cataloguing Rules | หลักเกณฑ์การลงรายการแบบแองโกลอเมริกัน, Example: เป็นหลักเกณฑ์การลงรายการทางบรรณานุกรมที่มีการใช้อย่างกว้างขวางในห้องสมุดและหน่วยงานบริการสารสนเทศทั่วโลก ซึ่งเป็นมาตรฐานในการลงรายการทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศ เพื่อใช้เป็นสื่อความหมายให้ตรงกัน ไม่ว่าสารสนเทศนั้นจะจัดทำหรือใช้ในที่ใด ประเทศใด ภาษาใดก็ตาม สามารถใช้สารสนเทศร่วมกัน และแลกเปลี่ยนกันได้จัดพิมพ์ครั้งที่ 1 ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1967 และ ได้มีการปรับปรุง และแก้ไขเพิ่มเติมอยู่เสมอ ปัจจุบันเป็นฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขเพิ่มเติม ค.ศ. 1998 (Anglo-American Cataloguing Rules, 2nd ed. 1998 Revision) หรือเรียกอย่างย่อว่า AACR2R จัดทำโดยความร่วมมือของสมาคมห้องสมุดอเมริกัน คณะกรรมการลงรายการของประเทศออสเตรเลียและของประเทศแคนาดา สมาคมห้องสมุดอังกฤษและหอสมุดแห่งชาติอังกฤษ หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดยอาศัยมาตรฐานสากลการลงรายการบรรณานุกรม (ISBD) เป็นหลัก ปัจจุบันกล่าวได้ว่า ISBD เป็นส่วนเดียวกับ AACR2R <p> AACR2R ได้กำหนดรูปแบบในการลงรายการบรรณานุกรมออกเป็น 8 ส่วน คือ <p> 1) ส่วนชื่อเรื่องและการแจ้งความรับผิดชอบ <p> 2) ส่วนฉบับพิมพ์ <p> 3) ส่วนรายละเอียดเฉพาะวัสดุ หรือประเภทของสิ่งพิมพ์ <p> 4) ส่วนการพิมพ์ การจำหน่าย ฯลฯ <p> 5) ส่วนลักษณะทางกายภาพ <p> 6) ส่วนชุด <p> 7) ส่วนหมายเหตุ <p> 8) ส่วนเลขมาตรฐานและข้อความที่เกี่ยวกับการได้รับ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Gamma globulins | แกมมาโกลบุลิน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Globin genes | โกลบินยีน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Globulins | โกลบุลิน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Adobe GoLive | อะโดเบ โกลีฟ [TU Subject Heading] | Aglaonema | อโกลนีมา [TU Subject Heading] | Anglo-American cataloging rules | กฎเกณฑ์การทำรายการแบบแองโกลอเมริกัน [TU Subject Heading] | Art, Anglo-Saxon | ศิลปะแองโกล-แซกซอน [TU Subject Heading] | Carboxyhemoglobin | คาร์บอกซี่ฮีโมโกลบิน [TU Subject Heading] | Fetal hemoglobin | ฮีโมโกลบินทารกในครรภ์ [TU Subject Heading] | Globins | โกลบิน [TU Subject Heading] | Glomerulonephritis | โกลเมอรุโลเนไพรติส [TU Subject Heading] | Hemoglobin A, Glycosylated | ไกลโคไซแลท ฮีโมโกลบิน เอ [TU Subject Heading] | Hemoglobin E | ฮีโมโกลบิน อี [TU Subject Heading] | Hemoglobin H | ฮีโมโกลบิน เอช [TU Subject Heading] | Hemoglobinopathies | โรคเกิดจากฮีโมโกลบินผิดปกติ [TU Subject Heading] | Hemoglobins | ฮีโมโกลบิน [TU Subject Heading] | Hemoglobins, Abnormal | ฮีโมโกลบินผิดปกติ [TU Subject Heading] | Immunoglobulin M | อิมมูโนโกลบุลิน เอ็ม [TU Subject Heading] | Immunoglobulins, Thyroid-stimulating | อิมมูโนโกลบุลินชนิดกระตุ้นต่อมไทรอยด์ [TU Subject Heading] | Magic, Anglo-Saxon | ไสยศาสตร์แองโกล-แซกซอน [TU Subject Heading] | Mongols | ชาวมองโกล [TU Subject Heading] | ProShow Gold | โปรโชว์ โกลด์ [TU Subject Heading] | Rho(D) immune globulin | โร(ดี) อิมมูน โกลบูลิน [TU Subject Heading] | Sequencer Plus Gold | ซีเควนเซอร์ พลัส โกลด์ [TU Subject Heading] | Stapes surgery | ศัลยกรรมกระดูกโกลน [TU Subject Heading] | Cobra Gold | การฝึกร่วม/ผสมคอบร้าโกลด์ เป็นการฝึกทางทหารที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเซีย ตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งกองทัพไทยและกองกำลังสหรัฐอเมริกาภาคพื้นแปซิฟิก (USPACOM) ร่วมกันเป็น เจ้าภาพจัดการฝึกในประเทศไทยเป็นประจำทุกปี การฝึกคอบร้าโกลด์พัฒนามาจากการฝึกผสมยกพลขึ้นบกระหว่างกองทัพเรือไทยกับกอง ทัพเรือสหรัฐอเมริกาและกองกำลังนาวิกโยธินสหรัฐอเมริกา ซึ่งทำการฝึกร่วมกันมาตั้งแต่ พ.ศ. 2499 ต่อมาใน พ.ศ. 2525 ได้รวมการฝึกหลายอย่างเข้าด้วยกันแล้วกำหนดชื่อรหัสการฝึกขึ้นใหม่ว่า "การฝึกร่วม/ผสมคอบร้าโกลด์" ปัจจุบัน มีประเทศที่ร่วมฝึกรวม ทั้งร่วมสังเกตการณ์หลายประเทศ รวมทั้งได้ขยายการฝึกครอบคลุมการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม การตอบโต้การก่อการร้ายด้วย [การทูต] | Common Market for Eastern and Southern Africa | ตลาดร่วมแห่งภูมิภาคแอฟริกาตะวันออกและแอฟริกาตอนใต้ " จัดตั้งขึ้นเมื่อเดือนธันวาคม 2537 มีประเทศสมาชิกรวม 20 ประเทศ ได้แก่ แองโกลา บุรุนดี คอโมโรส สาธารณรัฐประชาธิปไตย คองโก จิบูตี อียิปต์ เอริเทรีย เอธิโอเปีย เคนยา มาดากัสการ์ มาลาวี มอริเชียส นามิเบีย รวันดา เซเชลส์ ซูดาน สวาซิแลนด์ แซมเบีย ซิมบับเว และยูกันดา " [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | Plan Puebla-Panama | สมาชิก เม็กซิโก เบลิซ กัวเตมาลา ฮอนดูรัส เอลซัลวาดอร์ นิการากัว คอสตาริกา และปานามา วัตถุประสงค์ ริเริ่มโดยประธานาธิบดี Vicente Fox ของเม็กซิโก เมื่อปี พ.ศ. 2543 เพื่อแสวงหาความร่วมมือและให้การสนับสนุนด้านเงินทุนแก่ประเทศภูมิภาค อเมริกากลางในการเชื่อมโยงเครือข่ายคมนาคมและสาธารณูปโภค เช่น ถนน สายส่งไฟฟ้า ท่อก๊าซ ฯลฯ ทั้งนี้ เพื่อกระจายความเจริญทางเศรษฐกิจจากเม็กซิโกลงไปยังประเทศทางตอนใต้ ดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศร่วมกัน และเพื่อแก้ไขปัญหาการอพยพของแรงงานผิดกฎหมายจากประเทศในแถบอเมริกากลางเข้า สู่เม็กซิโก หมายเหตุ Puebla เป็นชื่อเมืองทางตะวันตกเฉียงใต้ของเม็กซิโก และเป็นจุดเริ่มต้นโครงการ ซึ่งสิ้นสุดที่ปานามา [การทูต] | Southern African Development Community | ประชาคมเพื่อการพัฒนาแอฟริกาตอนใต้ " จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2535 ประกอบด้วย 14 ประเทศ คือ อังโกลา บอตสวานา เลโซโธ มาลาวี มอริเชียส โมซัมบิก นามิเบีย แอฟริกาใต้ สวาซิแลนด์ แทนซาเนีย แซมเบีย ซิมบับเว สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก และเซเชลส์ " [การทูต] | Dispersion | 1.ดิสเพอร์ชันหรือการแตกตัวเป็นขั้นตอนหนึ่งของกลไกการผสมสารตัวเติม เข้าไปในยางแห้ง ซึ่งจะเกิดขึ้นจากแรงเฉือนในการผสมที่ทำให้แอกโกลเมอเรตของอนุภาคสารตัวเติม แตกตัวต่อไปจนได้เป็นแอกกรีเกตซึ่งเป็นหน่วยเล็กที่สุดของสารตัวเติมที่ได้ จากการผสม ขั้นตอนนี้จะเกิดขึ้นพร้อมๆ กับการกระจายตัว เพื่อให้ได้สารตัวเติมที่มีการแตกตัวดีและการกระจายตัวอย่างสม่ำเสมอในยาง 2.สารเคมีที่กระจายตัวอยู่ในน้ำยาง [เทคโนโลยียาง] | Agammaglobulinemia | อะแกมมาโกลบูลินนีเมีย, แกมมาโกลบูลินในเลือดต่ำ, แกมมาโกลบูลินพร่องในเลือด, อแกมมาโกลบูลินนีเมีย, ไม่มีแกมม่ากลอบบูลินในโลหิต [การแพทย์] | Alpha 1 Globulin | สารแอลฟา 1 โกลบูลิน [การแพทย์] | Alpha Globublins | แอลฟ่าโกลบูลิน [การแพทย์] | Alpha Globulins | แอลฟ่าโกลบูลิน; แอลฟา โกลบูลิน, สาร; แอลฟาโกลบุลิน [การแพทย์] | Alpha Macroglobulins | แอลฟา มาโครโกลบุลิน; แอลฟา มาโครโกลบูลิน, สาร [การแพทย์] | Anti-Immunoglobulin | แอนติบอดีย์ต่ออิมมูโนโกลบุลิน [การแพทย์] | Anti-Ir | แอนติบอดีย์ต่ออิมมูโนโกลบูลิน [การแพทย์] | Antiglomerular Basement Membrane Disease | โรคแอนติโกลเมอรูลาร์เบสเมนท์เมมเบรน [การแพทย์] | Arterioles, Afferent | หลอดเลือดที่นำเข้าไปสู่ไต, หลอดเลือดแดงเข้าโกลเมอรูลัส, หลอดเลือดแดงขนาดเล็กที่เข้าอาฟเฟอเรนอาร์เธอริโอล [การแพทย์] | Arterioles, Afferent | อาฟเฟอเรนอาร์เธอริโอล, หลอดเลือดที่นำเข้าไปสู่ไต, หลอดโลหิตแดงขนาดเล็กที่เข้า, หลอดเลือดแดงเข้าโกลเมอรูลัส [การแพทย์] | Arterioles, Glomerular, Afferent | หลอดเลือดแดงฝอยสู่โกลเมอรูลัส [การแพทย์] | Aterioles, Efferent | หลอดเลือดแดงออกจากโกลเมอรูลัส, เอฟเฟอเรนท์อาร์เทอริโอล, หลอดโลหิตแดงขนาดเล็กที่ออก [การแพทย์] | Beta Globulins | บีตาโกลบูลิน, สาร;เบตาโกลบุลิน;เบต้า-กลอบบูลิน [การแพทย์] | Capillaries, Glomerular | กลุ่มของเส้นเลือดฝอย, กลุ่มร่างแหของหลอดเลือดฝอย, หลอดเลือดฝอยของโกลเมอรูลัส [การแพทย์] | Capsules, Bowman's | เปลือกบาวแมน, โบว์แมนแคปซูล, เปลือกหุ้มโกลเมอรูลัส, บาวแมนแคปซูล [การแพทย์] | Carboxyhemoglobin | คาร์บอกซีฮีโมโกลบิน, คาร์บอกซีย์ฮีโมโกลบิน [การแพทย์] | Choleglobin | โคลีโกลบิน [การแพทย์] | Cryoglobulins | ครัยโอโกลบูลิน [การแพทย์] |
| ความโกลาหล | [khwām kōlahon] (n) EN: confusion ; chaos ; anarchy FR: chaos [ m ] ; confusion [ f ] ; anarchie [ f ] | โกล์ | [kōl] (n) FR: gardien de but [ m ] ; portier [ m ] ; goal [ m ] (anglic.) EN: goal | โกล์ | [kōl] (n) FR: but [ m ] ; goal [ m ] (anglic. - vx) | โกล | [Kōl] (n, prop) EN: Gaul FR: Gaule [ f ] | โกลาหล | [kōlāhon] (n) EN: commotion ; confusion ; tumult ; uproar FR: tumulte [ m ] ; confusion [ f ] | โกลาหล | [kōlāhon] (adv) EN: chaotic ; turbulent FR: tumultueux ; mouvementé ; chaotique | โกลาหล | [kōlāhon] (adv) EN: agog ; in great activity ; in a tumult ; chaotically | สะพานโกลเด้นเกต | [Saphān Kōndēn Kēt] (n, prop) EN: Golden Gate Bridge FR: pont du Golden Gate [ m ] | ทฤษฎีความโกลาหล | [thritsadī khwām kōlahon] (n, exp) EN: chaos theory |
| mark | (vt) นับเป็น, ถือเป็นโอกาสหรือวาระของเหตุการณ์ที่คิดว่าสำคัญ เช่น Angola's Leila Lopes has become the new Miss Universe, edging out beauties from Ukraine, Brazil, the Philippines and China as the pageant marked its 60th anniversary." นางสาว Leila Lopes จากประเทศอังโกลา เฉือนชนะสาวงามจากยูเครน, บราซิล, ฟิลิปปินส์ และจีน ได้เป็นนางงามจักรวาลคนล่าสุด ในการประกวดนางงามจักรวาลซึ่งครบรอบปีที่ 60 แล้ว | poacher | [โพช-เออะ] (n) 1. พรานเถื่อน, ผู้ลักลอบล่าสัตว์, ผู้บุกรุกป่าเข้าไปล่าสัตว์, ผู้รุกล้ำอาณาเขตเข้าไปจับสัตว์ 2. กระทะพิเศษสำหรับทำ poached egg (ไข่ปรุงกึ่งสุกในน้ำขลุกขลิก, ไข่ลวกฝรั่ง, ไข่ดาวน้ำ) 3. Goal poacher นักฟุตบอลที่รออยู่โกลฝั่งตรงข้ามเพื่อรอได้บอลแล้วยิง |
| bedlam | (n) ภาพโกลาหลอลหม่าน, Syn. chaos | combustion | (n) ความวุ่นวาย, See also: ความสับสนอลหม่าน, ความอึกทึกครึกโครม, ความโกลาหล, Syn. tumult, turmoil, disturbance | disorder | (n) ความวุ่นวาย, See also: ความอลหม่าน, ความไม่เป็นระเบียบ, ความโกลาหล, Syn. disorganiztion, clutter, Ant. order, organiztion | disorder | (vt) ทำให้วุ่นวาย, See also: ทำให้สับสน, ทำให้ไม่สงบ, ทำให้ยุ่งเหยิง, ทำให้โกลาหล, Syn. disorganize, disarray, Ant. organize, arrange | flurry | (n) ช่วงแห่งความตื่นเต้นหรือความโกลาหลที่เกิดขึ้นในเวลาอันสั้น, Syn. commotion, excitement | globulin | (n) โปรตีนโกลบูลินซึ่งละลายในสารละลายน้ำเกลือ (ทางชีวเคมี) | goldfinch | (n) นกตระกูล Carduelis, See also: นกโกลด์ฟินช์ | haemoglobin | (n) ฮีโมโกลบิน, See also: เม็ดสีนำอ๊อกซิเจนที่อยู่ในเซลล์ของเม็ดเลือดแดง | hemoglobin | (n) ฮีโมโกลบิน, See also: สารสีแดงของเม็ดเลือดแดง | hurly-burly | (n) ความโกลาหลอลหม่าน, See also: การเอะอะโวยวาย | on the move | (idm) กำลังวุ่นวาย, See also: โกลาหล | incus | (n) กระดูกทั่งซึ่งอยู่ระหว่างกระดูกค้อนและโกลนในช่องหู | khan | (n) ข่าน, See also: ยศตำแหน่งของผู้ปกครองของมองโกลและเตอร์คิช | maelstrom | (n) ความอลหม่าน, See also: ความปั่นป่วน, ความสับสนวุ่นวาย, ความโกลาหล, Syn. turmoil, chaos | mayhem | (n) ความโกลาหล (คำไม่เป็นทางการ), Syn. chaos, anarchy | misrule | (n) ความวุ่นวาย, See also: ความโกลาหล, Syn. disorder, lawlessness, chaos, Ant. order | Mongol | (n) ชาวมองโกล | Mongoloid | (adj) เกี่ยวกับคนมองโกล | moot | (n) สภาประชาชนในสมัยแองโกล-แซกซอนซึ่งมีอำนาจบริหารและร่างกฎหมาย | oxyhemoglobin | (n) ฮีโมโกลบินจับกับอ็อกซิเจนที่ส่งจากปอดไปยังเนื้อเยื่อ | pandemonium | (n) ความโกลาหล, See also: ความสับสนวุ่นวาย, Syn. turmoil, furor | pellmell | (adj) ยุ่งเหยิง, See also: สับสนวุ่นวาย, โกลาหล, รีบๆ ร้อนๆ, Syn. hectic, bustling, feverish, Ant. calm | pellmell | (adv) อย่างสับสนวุ่นวาย, See also: อย่างโกลาหล, Syn. quickly, hurriedly, frenetically, Ant. orderly, calmly | pellmell | (n) ความสับสนอลหม่าน, See also: ความโกลาหล | pell-mell | (adj) ยุ่งเหยิง, See also: สับสนวุ่นวาย, โกลาหล, รีบๆ ร้อนๆ, Syn. hectic, bustling, feverish, Ant. calm | pell-mell | (adv) อย่างสับสนวุ่นวาย, See also: อย่างโกลาหล, รีบๆ ร้อนๆ, Syn. quickly, hurriedly, frenetically, Ant. orderly, calmly | pell-mell | (n) ความสับสนอลหม่าน, See also: ความโกลาหล | pother | (n) เสียงโกลาหล, See also: ความอึกทึกครึกโครม, ความยุ่งเหยิง, Syn. muddle | pother | (vi) ยุ่งเหยิง, See also: โกลาหล, Syn. muddle, mess | pother | (vt) ทำให้ยุ่งเหยิง, See also: ทำให้โกลาหล, Syn. muddle, mess | razzle-dazzle | (n) ความโกลาหล | riotously | (adv) อย่างโกลาหล, See also: อย่างจลาจล, Syn. fiercely | riotousness | (n) ความโกลาหล, See also: การจลาจล | bloods and guts | (sl) ความวุ่นวาย, See also: ความโกลาหล | rough-and-tumble | (sl) ยุ่งวุ่นวาย, See also: ไม่เป็นระเบียบ, โกลาหล | Saxon | (n) ชาวอังกฤษในศตวรรษที่ 5 และ 6, See also: ชาวแองโกลแซกซอน | seethe | (vi) วุ่นวาย, See also: โกลาหล, วุ่นวาย, ยุ่ง, พลุกพล่าน | seethe | (n) อาการเดือดพล่าน, See also: ความโกลาหล, ความเดือดดาล, ความวุ่นวาย | shambles | (n) ความยุ่งเหยิง, See also: ความโกลาหล, สถานการณ์สับสนวุ่นวาย, Syn. chaos, confusion, mess, Ant. order | squall | (n) ความโกลาหล, See also: ความวุ่นวายอย่างกะทันหัน, Syn. disturbance, tempest | stampede | (n) ความแตกตื่นโกลาหล, See also: ความระส่ำระสาย, ความอลหม่าน, Syn. flight, rush, rout, panic | stampede | (vt) ทำให้แตกตื่น, See also: ทำให้เกิดความโกลาหลอลหม่าน, ทำให้เกิดความระส่ำระสาย, Syn. frighten, rout | stirrup | (n) โกลน, See also: เหล็กสำหรับเท้าเหยียบ เวลาขี่ม้า | thane | (n) ขุนนางยุคแองโกลแซกซอน, Syn. knight | to-do | (n) ความยุ่งเหยิง, See also: ความโกลาหล, Syn. commotion, fuss | tumultuous | (adj) อึกทึกครึกโครม, See also: โกลาหล | yellow | (adj) เกี่ยวกับชนชาติผิวเหลือง, See also: เกี่ยวกับชนชาติมองโกลอยด์ |
| aglow | (อะโกล') adj. สว่าง, วาววับ, เปล่งปลั่ง | alpenglow | (แอล' เพนโกล) n. แสงเรืองสีแสดที่มักเห็นบนยอดเขาในเวลาก่อนพระอาทิตย์ หรือหลังพระอาทิตย์ตกเล็กน้อย (a reddish glow) | anglo- french | (แอง' โกลเฟรนซฺ) adj. เกี่ยวกับอังกฤษและฝรั่งเศส. -n. ภาษาฝรั่งเศสี่ใช้ในอังกฤษโดยชาวนอร์มันในปลายยุคกลาง., Syn. Anglo-Norman | anglo-american | (แอง' โกล อะเม' ริกัน) adj., n. เกี่ยวกับอังกฤษและอเมริกา (โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา) คนอังกฤษที่ไปตั้งรกรากที่อเมริกา. -Anglo-Americanism n. | anglo-catholic | (แอง' โกลแคธ' โธลิค) n. adj, ผู้นับถือนิกาย Church of England แต่ยึดถือลักษณะของคาธอลิค. -Anglo-Catholicism (opposing a Protestant designation) | anglo-indian | (แอง' โกลอิน' เดียน) adj. เกี่ยวกับอังกฤษและอินเดีย. -n. คนที่มีเชื้อสายอังกฤษและอินเดียรวมกัน, ภาษาที่คนเหล่านี้พูดกัน | anglo-norman | (แอง' โกลนอร์' มัน) adj. เกี่ยวกับสมัย ค.ศ.1066-1155 เมื่ออังกฤษถูกปกครองโดยชาวนอร์มัน, เกี่ยวกับภาษาฝรั่งเศสที่ใช้ในอังกฤษในสมัยดังกล่าว. -n. คนหรือภาษาในสมัยดังกล่าว | anglo-saxon | (แอง' โกล' แซคเซิน) n. คนที่มีภาษาแม่เป็น อังกฤษ, คนอังกฤษสมัยก่อนที่ชาวนอร์มันเข้าครอบครอง, คนชาวอังกฤษ, คนที่มีบรรพบุรุษ เป็นอังกฤษ, ภาษาอังกฤษง่าย -adj. เปิดเผย, ตรงไปตรงมา, ทื่อ | anglomania | (แอง' โกลเม' เนีย) n. โรคบ้าอังกฤษ. -Anglomaniac n., -Anglomaniacal adj. (Anglo+mania) | anglophil | (e) (แอง' โกลไฟล์ -ฟิล) n. คนที่นอยมชมชอบอังกฤษ. -Anglophilia n., -Anglophilic adj. (who admires England) | anglophobe | (แอง' โกลโฟบ) n. คนที่นิยมชมชอบอังกฤษ. -Anglophobia n., -Anglophobiac, Anglophobic adj. | bobbery | n. ความวุ่นวาย , ความโกลาหล, | conflagrant | (คันไฟล'เกรินทฺ) adj. กำลังลุกไหม้, เป็นเพลิง, โกลาหล, Syn. blazing, burning | conglobe | (คอนโกลบ) { conglobed, conglobing, conglobes } vi., vt. จับหรือเกาะเป็นลูกหรือก้อนกลม | gloam | (โกลม) n. สายัณห์, เวลาพลบค่ำ | gloaming | (โกลม'มิง) n. สายัณห์, เวลาพลบค่ำตะวันยอแสง | gloat | (โกลท) vi., n. (การ) มองด้วยความอิ่มใจมากหรือละโมบ., See also: gloater n. gloatingly adv. | global | (โกล'เบิล) adj. ทั่วโลก, ทั้งโลก, ทั้งหมด, เป็นรูปโลก., Syn. universal, worldwide | globate | (โกล'เบท) adj. เป็นรูปโลก | globe | (โกลบ) n. โลก, รูปทรงกลม, ลูกโลก v. ทำให้หรือกลายเป็นโลก, Syn. orb, sphere | glossitis | (โกลไซ'ทิส) n. ลิ้นอักเสบ., See also: glossitic adj | glow | (โกล) n., vi. (เปล่ง) แสงที่เปล่งออกมา, แสงเรือง, ความแดงเรื่อ, สีเลือด, ความสดใสของสี, ความเร่าร้อน, Syn. gleam, colour, burn | glower | (โกล'เออะ) vi. จ้องเขม็งอย่างถมึง n. หน้าตาที่แสดงความไม่พอใจหรือความโกรธ., See also: gloweringly adv., Syn. scowl, frown, lower | glowfly | (โกล'ไฟล) n. หิ่งห้อย | glowworm | (โกล'เวิร์ม) n. หนอนกระสือสามารถเปล่งแสงเรืองสีเขียว | gloze | (โกลซ) v., n. อำพราง, ปิดบัง, พูดกลบเกลื่อน, สอพลอ, อธิบาย, ให้ข้อคิดเห็น. | goal | (โกล) n. เป้าหมาย, ประตูฟุตบอล, Syn. aim, end | gold | (โกลดฺ) n. ทอง | goldarn | (โกล'ดาร์น') n., adj. ดูgoddamn | golden | (โกล'เดิน) adj. สีทอง, ทำด้วยทอง, มีค่ามาก, ยอดเยี่ยม, งดงาม, เจริญรุ่งเรือง, ครบรอบ50 ปี., See also: goldenness n., Syn. splendid, precious | goldsmith | (โกลด'สมิธ) n. ช่างทอง, นายธนาคาร, ผู้ให้กู้ยืมเงิน | goldurn | (โกล'ดาร์น') n., adj. ดูgoddamn | golliwogg | (โกล'ลิวอก) n. ตุ๊กตาประหลาดสีดำ, คนพิกล, Syn. galliwog | haemoglobin | (ฮิ'มะโกลบิน, เฮม'มะ) n. ดูhemoglobin., See also: haemoglobic, haemoglobinous adj. | heme | (ฮีม) n. สารย้อมสีเข้มที่ได้จากฮีโมโกลบิน | hemoglobin | (ฮีมะโกล'บิน) n. สารสีแดงของเม็ดเลือดแดงที่มีหน้าที่นำออกชิเจนจากปอดสู่เนื้อเยื่อ, See also: hemoglobic, hemoglobinous adj. | hemoglobinuria | (ฮีมะโกลบินิว'เรีย) n. ภาวะปัสสาวะมีฮีโมโกลบิน., See also: hemoglobinuric adj. | hemolysin | n. สารละลายเม็ดโลหิตแดงให้ปล่อยให้ฮีโมโกลบินออกมา. | hemolysis | การแตกตัวของเม็ดโลหิตแดงขณะปล่อยฮีโมโกลบินออกมา, See also: hemolytic adj. | hoopla | (ฮู'พละ) n. ความโกลาหล, ความอึกทึกครึกโครม, การพูดหรือข้อเขียนที่บิดเบือนความจริง | hubbub | (ฮับ'บับ) n. เสียงดังสับสน, ความโกลาหล, Syn. uproar | marigold | (แม'ริโกลดฺ) n. พืชดาวเรืองโดยเฉพาะจำพวก Tagetes | mogul | (โม'เกิล, โมเกิล') n. ชาวมองโกลผู้พิชิตอินเดียที่ตั้งอาณาจักรขึ้นในสมัย ค.ศ.1526-1857, ผู้สืบเชื้อสายชาวมองโกลดังกล่าว, ชาวมองโกล, บุคคลที่สำคัญมีอำนาจหรือมีอิทธิพล | moil | (มอยลฺ) vi. ทำงานหนัก, เข็น, ทำงานเหนื่อยยาก n. งานหนัก, ความยุ่งเหยิง, ความโกลาหล., See also: moiler n. | mongol | (มอง'เกิล, -กอล, มอน'โกล) n. ชาวมองโกเลีย, ชาวมองโกล, ภาษามองโกล, ผู้เป็นโรคMongolism (ดู) | mongolism | (มอง'กะลิสซึม) n. ภาวะที่มีลักษณะใบหน้าคล้ายพวกมองโกลคือมีกะโหลกศีรษะกว้างและแบนตาหยีและระดับสติปัญญาต่ำ., Syn. Mongolianism, Mongolian idiocy, Down's syndrome | mongoloid | (มอง'กะลอยดฺ, มอน'กะลอยดฺ) adj. คล้ายมองโกล | pandemonium | (แพนดะโม'เนียม) n. ความโกลาหล | pangolin | (แพง'โกลิน) n. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มีเกล็ดกว้างใหญ่ ซ้อนกัน มันกินมดที่มีลำตัวเป็นเกล็ดใหญ่., Syn. scaly aneater | pother | (พอธ'เธอะ) n., v. (ทำให้เกิด, กลาย) เสียงโกลาหล, ความอึกทึกครึกโครม, ความยุ่งเหยิง, กลุ่มควันที่ตลบ. |
| ado | (n) ความยุ่งยาก, ความวุ่นวาย, ความโกลาหล, ความกังวลใจ | bobbery | (adj) โกลาหล, วุ่นวาย | bobbery | (n) ความโกลาหล, ความวุ่นวาย | chaos | (n) ความสับสนวุ่นวาย, ความยุ่งเหยิง, ความโกลาหล, กลียุค | chaotic | (adj) โกลาหล, สับสนอลหม่าน, ยุ่งเหยิง, วุ่นวาย, ไม่มีระเบียบ | conflagration | (n) เพลิงไหม้, อัคคีภัย, การลุกฮือ, ความโกลาหล | disorderly | (adj) ยุ่งเหยิง, โกลาหล, อลหม่าน, วุ่นวาย, สับสน, ไม่เป็นระเบียบ | HURLY-hurly-burly | (n) ความอลหม่าน, ความฉุกละหุก, ความวุ่นวาย, ความโกลาหล | pellmell | (adj) อลหม่าน, สับสน, โกลาหล, วุ่นวาย, ยุ่งเหยิง | pellmell | (n) ความอลหม่าน, ความสับสน, ความโกลาหล, ความวุ่นวาย | pother | (n) ความยุ่งเหยิง, ความโกลาหล, ความอึกทึกครึกโครม | pother | (vi) ยุ่งเหยิง, โกลาหล, อึกทึกครึกโครม | riot | (n) ความวุ่นวาย, ความอลหม่าน, การจลาจล, ความโกลาหล | riotous | (adj) วุ่นวาย, อลหม่าน, โกลาหล, เกี่ยวกับการจลาจล | squall | (n) เสียงดัง, พายุ, ฝนไล่ช้าง, ความโกลาหล | stirrup | (n) โครงค้ำ, โกลน | storm | (n) ลมมรสุม, พายุ, การระดมยิง, ความโกลาหล | stormy | (adj) รุนแรง, มีพายุจัด, ดุเดือด, โกลาหล | turbulence | (n) ความวุ่นวาย, ความอลหม่าน, ความโกลาหล | turbulent | (adj) วุ่นวาย, อลหม่าน, โกลาหล, เป็นบ้า, พล่าน, เชี่ยว | turmoil | (n) ความยุ่งเหยิง, ความโกลาหล, ความสับสน | uproar | (n) เสียงอึกทึก, การเอะอะ, ความโกลาหล, ความสับสนวุ่นวาย | welter | (n) การล้มลุก, ความสับสน, ความยุ่งเหยิง, ความโกลาหล | welter | (vi) ล้มลุก, กลิ้งเกลือก, มั่วสุม, หมกมุ่น, ยุ่งเหยิง, โกลาหล | whir | (n) เสียงหวือ, เสียงหึ่ง, เสียงกระหึ่ม, ความโกลาหล | whirl | (n) การหมุน, วง, การหมุนเวียน, การปั่น, น้ำวน, ความโกลาหล |
| Sickle cell disease | กลุ่มของความผิดปกติที่มีผลต่อฮีโมโกลโมเลกุลในเซลล์เม็ดเลือดแดงที่ให้ออกซิเจนไปยังเซลล์ทั่วร่างกาย คนที่มีความผิดปกตินี้มีโมเลกุลของโมโกลเศร้าที่เรียกว่าฮีโมโกล S ซึ่งสามารถบิดเบือนเซลล์เม็ดเลือดแดงเป็นเคียวหรือเสี้ยว, รูปร่าง |
| スコール | [すこーる, suko-ru] (n) เสียงดัง, พายุ, ฝนไล่ช้าง, ความโกลาหล |
| 混乱 | [こんらん, konran] (n) ความปั่นป่วน , วุ่ยวาย , โกลาหล | 動乱 | [どうらん, douran] ความวุ่นวาย โกลาหล |
| Horde | (n) |die, pl. Horden| กลุ่มสังคมเล็กๆ ประมาณ15-20 คน ฝูงชนหรือชนเผ่าเลี้ยงสัตว์ เช่น เผ่ามองโกล อนารยชน |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |