ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: แตกตัว, -แตกตัว- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ แตกตัว | (v) split, Syn. กระจายตัว, Example: เมื่อได้รับความสะเทือน ไขมันจะแตกตัวเป็นชิ้นเล็กๆ |
|
| พลาสมา | ภาวะหนึ่งของสสาร ณ ภาวะนี้สสารอยู่ในสภาพแก๊สที่ร้อนจัดอย่างยิ่งยวด และแตกตัวเป็นอนุภาคบวกกับอิเล็กตรอนซึ่งมีจำนวนเท่ากันโดยประมาณ สสารในภาวะนี้เป็นตัวนำไฟฟ้าที่ดียิ่ง. |
| | Catalytic cracking | การแตกตัวด้วยตัวเร่งปฏิกิริยา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Conversion Refinery | โรงกลั่นน้ำมันประเภท Hydro skimming Refinery ที่มี cracking เพิ่มเข้ามา, โรงกลั่นน้ำมันประเภท Hydro skimming Refinery ที่มี cracking เพิ่มเข้ามา ซึ่งจะทำหน้าที่แตกตัวโมเลกุลของสารไฮโดรคาร์บอนต่างๆให้เป็นน้ำมันที่มีคุณค่าสูง, Example: โรงกลั่นน้ำมันประเภทนี้จะให้ผลิตภัณฑ์น้ำมันหนัก เช่น น้ำมันเตา น้อยกว่าที่ผลิตได้จากโรงกลั่นน้ำมันประเภท Hydro skimming เพราะน้ำมันหนักที่กลั่นได้จะถูกทำให้แตกตัวที่หน่วย cracking เปลี่ยนสภาพเป็นน้ำมันเบาชนิดต่างๆ ที่มีมูลค่าสูงขึ้น [ปิโตรเลี่ยม] | Cracking | กระบวนการที่ทำให้โมเลกุลขนาดใหญ่ของสารไฮโดรคาร์บอนชนิดหนักแตกตัวเป็นโมเลกุลที่เล็กลง, Example: เป็นการทำให้น้ำมันหนักแตกตัวให้เป็นน้ำมันเบาที่มีมูลค่าสูงขึ้น ถ้าทำให้โมเลกุลแตกตัวด้วยความร้อน เรียกว่า Thermal cracking ถ้าแตกตัวโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา เรียกว่า catalytic (cat) cracking และถ้ากระบวนการ cat cracking เกิดขึ้นในบรรยากาศก๊าซไฮโดรเจน เรียกว่า hydrocracking [ปิโตรเลี่ยม] | Counter | เครื่องนับรังสี, อุปกรณ์ตรวจหาการแผ่รังสี หรือเครื่องสำรวจรังสี ซึ่งตรวจหาและวัดการแผ่รังสี จากการแตกตัวเป็นไอออน โดยแสดงเป็นผลรวมสะสม หรืออัตราการแผ่รังสี [นิวเคลียร์] | Radiolytic product | ผลผลิตการแยกสลายด้วยรังสี, สารประกอบทางเคมีที่เกิดขึ้นจากการฉายรังสีสารใดๆ เช่น การฉายรังสีอาหาร รังสีจะถ่ายเทพลังงานให้โมเลกุลต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบของอาหาร เช่น น้ำ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต วิตามิน ทำให้เกิดการแตกตัวเป็นโมเลกุลที่มีประจุไฟฟ้า และ เกิดการแยกสลาย ได้อนุมูลอิสระซึ่งไม่เสถียรและทำปฏิกิริยากับสารที่เป็นองค์ประกอบของอาหารได้สารประกอบต่างๆ ที่มีโมเลกุลเล็กลง [นิวเคลียร์] | Radiolysis | การแยกสลายด้วยรังสี, การแตกตัว หรือสลายตัว ของโมเลกุลด้วยรังสี เช่น ขณะเดินเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์จะมีน้ำส่วนหนึ่งที่อยู่ภายในแกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เกิดการแตกตัวเป็นไฮโดรเจนและออกซิเจน [นิวเคลียร์] | Ionizing radiation | รังสีชนิดก่อไอออน, รังสีหรืออนุภาคใดๆ ที่สามารถก่อให้เกิดการแตกตัวเป็นไอออนได้ทั้งโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อมในตัวกลางที่ผ่านไป เช่น รังสีแอลฟา รังสีบีตา รังสีแกมมา รังสีเอกซ์ อนุภาคนิวตรอน อิเล็กตรอนที่มีความเร็วสูง โปรตอนที่มีความเร็วสูง รังสีเหล่านี้อาจทำให้เกิดอันตรายต่อเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต <br>(ดู beta particle ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] | Ion pair | คู่ไอออน, ไอออนบวกและไอออนลบที่มีขนาดประจุเท่ากัน เกิดจากการแตกตัวของอะตอมหรือโมเลกุลที่เป็นกลางเมื่อได้รับรังสี โดยอิเล็กตรอนที่หลุดออกจากอะตอมหรือโมเลกุลจะเป็นไอออนลบ ส่วนอะตอมหรือโมเลกุลที่อิเล็กตรอนหลุดออกไปนั้นจะเป็นไอออนบวก [นิวเคลียร์] | Ionization | การแตกตัวประจุ, ไอออน [สิ่งแวดล้อม] | ionisingradiation | รังสีชนิดก่อไอออน, คือ พลังงานในรูปแม่เหล็กไฟฟ้า หรืออนุภาครังสีใดๆ ที่สามารถก่อให้เกิดการแตกตัวเป็นไอออนได้ ทั้งโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อมในตัวกลางที่ผ่านไป เช่น รังสีแอลฟา รังสีบีตา รังสีแกมมา รังสีเอกซ์ อนุภาคนิวตรอน อิเล็กตรอนที่มีความเร็วสูง โปรตรอนที่มีความเร็วสูง รังสีชนิดนี้อาจทำให้เกิดอันตรายต่อเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต [พลังงาน] | radiolytic products | เรดิโอไลติกโปรดักส์, คือ สารประกอบทางเคมีที่เกิดขึ้นจากการฉายรังสีอาหาร เมื่อรังสีทะลุผ่านอาหาร รังสีจะถ่ายเทพลังงานให้โมเลกุลต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบของอาหาร เช่น น้ำ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต วิตามิน ทำให้เกิดการแตกตัวเป็นโมเลกุลที่มีประจุไฟฟ้า และเกิดปฏิกิริยาเรดิโอไลซิส ได้อนุมูลอิสระซึ่งไม่เสถียร และไปทำปฏิกิริยากับสารที่เป็นองค์ประกอบของอาหาร ได้สารประกอบต่างๆ ที่มีโมเลกุลเล็กลง ซึ่งเรียกโดยรวมว่า เรดิโอไลติก โปรดักส์ การเกิดอนุมูลอิสระนอกจากจะเกิดจากการใช้รังสีแล้ว ยังเกิดจากการใช้ความร้อน เช่น การต้ม การทอด การอบ การย่าง และการปิ้ง และอนุมูลอิสระที่เกิดจากการใช้ความร้อนนี้ทำให้เกิดสารประกอบต่างๆ ที่มี โมเลกุลเล็กลงได้เช่นกัน แต่เรียกโดยรวมว่าเทอร์โมไลติกโปรดักส์ และเมื่อเปรียบเทียบกับเรดิโอไลติกโปรดักส์ พบว่า สารประกอบส่วนใหญ่เป็นชนิดเดียวกัน และเป็นสารประกอบที่ตรวจพบได้ในอาหารที่ไม่ได้ฉายรังสี [พลังงาน] | Antioxidant | สารเคมีที่เติมลงไปในยางเพื่อจับอนุมูลอิสระที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยา ของออกซิเจนในอากาศกับยาง (ที่มีพันธะคู่) หรือทำให้ไฮโดรเพอร์ออกไซด์ที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาแตกตัวต่อไปเป็นส่วนที่ ไม่เป็นอันตรายต่อการเสื่อมสภาพของยาง ทำให้ยางมีอายุการใช้งานได้ยาวนานขึ้น [เทคโนโลยียาง] | Dispersion | 1.ดิสเพอร์ชันหรือการแตกตัวเป็นขั้นตอนหนึ่งของกลไกการผสมสารตัวเติม เข้าไปในยางแห้ง ซึ่งจะเกิดขึ้นจากแรงเฉือนในการผสมที่ทำให้แอกโกลเมอเรตของอนุภาคสารตัวเติม แตกตัวต่อไปจนได้เป็นแอกกรีเกตซึ่งเป็นหน่วยเล็กที่สุดของสารตัวเติมที่ได้ จากการผสม ขั้นตอนนี้จะเกิดขึ้นพร้อมๆ กับการกระจายตัว เพื่อให้ได้สารตัวเติมที่มีการแตกตัวดีและการกระจายตัวอย่างสม่ำเสมอในยาง 2.สารเคมีที่กระจายตัวอยู่ในน้ำยาง [เทคโนโลยียาง] | Acid, Weak, Ionization of | การแตกตัวของกรดอ่อน [การแพทย์] | Acids, Completely Dissociated | กรดที่แรงและแตกตัวได้สมบูรณ์ [การแพทย์] | Acids, Weak, Ionization of | การแตกตัวของกรดอ่อน [การแพทย์] | Anion Form | ที่แตกตัว [การแพทย์] | Bound Form | รูปที่ไม่แตกตัว [การแพทย์] | Cleavage | การแบ่งตัว, การแบ่งตัว, ตัวตัด, การแตกตัว, การตัดย่อย, การแตกหัก [การแพทย์] | Differentiate | เปลี่ยนแปลง, แตกต่าง, แตกตัวเปลี่ยนสภาพ, การจำแนก [การแพทย์] | Disintegration | สลายตัว, การแตกตัว [การแพทย์] | Disruption | การแตกตัว, เส้นประสาทขาดออกจากกัน [การแพทย์] | Dissociate | แตกตัว, การแตกตัว, แตกออก [การแพทย์] | Dissociation | การแตกตัว, ไม่มีความสัมพันธ์กันเลย [การแพทย์] | Dissociation Constant | ค่าคงที่ในการแตกตัว, ค่าคงที่การแตกตัว, ค่าคงที่ของการแตกตัว [การแพทย์] | Dissociation Factor | แฟกเตอของการแตกตัว [การแพทย์] | Enzymatic Fragmentation | ปฏิกิริยาการแตกตัวออกเป็นชิ้นส่วนย่อยโดยน้ำย่อย [การแพทย์] | chymotrypsin | ไคโมทริปซิน, เอนไซม์ชนิดหนึ่งจากตับอ่อนทำหน้าที่ย่อยเพปไทด์ในลำไส้ให้แตกตัวต่อไป [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | lipase | ลิเพส, เอนไซม์ที่ลำไส้เล็กสร้างขึ้นสำหรับย่อยไขมันให้แตกตัวเป็นกรดไขมันและกลีเซอรอล [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | adenosine triphosphate (ATP) | อะดีโนซีน ไตรฟอสเฟต (เอทีพี), สารประกอบที่มีพลังงานสูงและเป็นสารที่พร้อมจะแตกตัวเพื่อปล่อยพลังงานออกมาใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ที่เซลล์ต้องการ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | acid | กรด, 1. สารที่แตกตัวให้ไฮโดรเจนไอออน(H+)ในสารละลาย 2. โมเลกุลหรือไอออนที่สามารถให้โปรตอนได้ 3. สารที่ละลายน้ำแล้วได้สารละลายที่มีความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออน(H3O+) มากกว่าไฮดรอกไซด์ไอออน(OH-) สารที่มีสมบัติเป็นกรดนั้นจำเป็นต้องสามารถทดสอบสมบัติต่าง ๆ ได้เช่น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | strong acid | กรดแก่, 1.โมเลกุลหรือไอออนที่ให้โปรตอนได้ดี 2.สารละลายที่ละลายน้ำแล้วแตกตัวให้ H3O+ ได้ดี [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | weak acid | กรดอ่อน, 1. โมเลกุลหรือไอออน ที่ให้โปรตอนได้น้อย 2. สารที่ละลายน้ำแล้วแตกตัวให้ H3O+ ได้น้อย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | decompose | การสลายตัว, กระบวนการที่ทำให้โมเลกุลของสารแตกตัวออกเป็นโมเลกุลเล็ก ๆ หรืออะตอม เช่น การแยกสลายโมเลกุลของน้ำจะได้โมเลกุลของแก๊สไฮโดรเจนกับออกซิเจน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | base | เบส, 1. สารที่แตกตัวให้ไฮดรอกไซด์ไอออน (OH- ) ในสารละลาย 2. โมเลกุลหรือไอออนที่สามารถรับโปรตอนได้ 3. สารที่ละลายน้ำแล้วได้สารละลายที่มีความเข้มข้นของไฮดรอกไซด์ไอออนมากกว่าไฮโดรเนียมไอออน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | strong base | เบสแก่, 1. โมเลกุลหรือไอออนที่รับโปรตอนได้ดี 2. สารที่ละลายน้ำแล้วแตกตัวให้ OH- ได้ดี [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | weak base | เบสอ่อน, 1. โมเลกุลหรือไอออนที่รับโปรตอนได้น้อย 2. สารที่ละลายน้ำแล้วแตกตัวให้ OH- น้อย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | non-electrolyte | สารที่ไม่เป็นอิเล็กโทรไลต์, สารที่ไม่แตกตัวเป็นไอออนเมื่อหลอมเหลวหรือเป็นสารละลาย กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไม่ได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | electrolyte | อิเล็กโทรไลต์, สารละลายหรือของเหลวที่แตกตัวเป็นไออนได้บางส่วน หรือทั้งหมด และยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | hydroxide ion | ไฮดรอกไซด์ไอออน, ไอออนที่เกิดจากการแตกตัวของน้ำหรือสารที่มีสมบัติเป็นเบส มีประจุไฟฟ้าลบและเป็นส่วนที่ทำให้สารละลายมีสมบัติเป็นเบส ดังตัวอย่าง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | fission reaction | ปฏิกิริยาฟิชชัน, ปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่เกิดขึ้นจากนิวตรอนวิ่งไปชนนิวเคลียสของธาตุหนัก เช่น ยูเรเนียม 235 พลูโตเนียม 239 เป็นต้น แล้วทำให้นิวเคลียสแตกตัวเป็นธาตุใหม่ที่เบากว่าเดิม และเกิดนิวตรอนใหม่ 2-3 ตัวพร้อมกับพลังงานจำนวนหนึ่งนิวตรอนใหม่นี้จะทำให้เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | chain reaction | ปฏิกิริยาลูกโซ่, ปฏิกิริยาที่ 1 ที่เกิดขึ้น ทำให้เกิดปฏิกิริยาที่ 2 และจากปฏิกิริยาที่ 2 ทำให้เกิดปฏิกิริยาที่ 3 เป็นดังนี้เรื่อย ๆ ไป เช่น ปฏิกิริยานิวเคลียร์ซึ่งเกิดจากนิวตรอนวิ่งไปชนนิวเคลียสทำให้นิวเคลียสแตกตัว และเกิดนิวตรอนใหม่ และนิวตรอนใหม่นี้จะทำให้นิวเคลียสอื่น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | acid strength | ความแรงของกรด, สมบัติของกรดอย่างหนึ่งที่พิจารณาจากความสามารถในการให้โปรตอน หรือการแตกตัวให้ไฮโดรเนียมไอออน(H3O+)เมื่อละลายน้ำ ถ้าให้โปรตอนหรือแตกตัวให้ไฮโดรเนียมไอออนได้ดีจัดเป็นกรดแก่ และถ้าให้โปรตอนหรือแตกตัวให้ไฮโรเนียมไอออนน้อยจัดเป็นกรดอ่อน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | basic strength | ความแรงของเบส, สมบัติของเบสอย่างหนึ่งเมื่อละลายน้ำ โดยพิจารณาจากความสามารถในการรับโปรตอน(H+) หรือการแตกตัวให้ไฮดรอกไซด์ไอออน(OH-) ถ้าเบสชนิดใดรับ H+ หรือแตกตัวได้ OH- ได้น้อย จัดเป็นเบสอ่อน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | acid dissociation constant | ค่าคงที่การแตกตัวของกรด, ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาที่โมเลกุลหรือไออนที่เป็นกรดทำปฏิกิริยากับน้ำให้ไฮโดรเนียมไอออน นิยมใช้อักษรย่อ Ka เป็นค่าที่บอกให้ทราบว่ากรดใดจะแตกตัวให้ H+ หรือ H3O+ ได้มากน้อยเพียงใด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Glycolysis | กลัยโคลัยซิส; การสลายกลัยโคเจน; ไกลโคไลซิส; ปฏิกิริยา; กลูโคสสลาย; กระบวนการเมตาบอสิสมที่ไม่ต้องการออกซิเจน; กลัยโคลายซิส; การสลายกลูโคส; แตกตัว; ไกลคอลิซิส; กระบวนการไกลคอลิซิส; การสลายตัวของกลูโคส; ขบวนการกลัยโคลัยซิส [การแพทย์] | Ionization | ไออ้อนไนเซชั่น, การแตกตัวเป็นอิออน, การแตกตัว, ไอออนไนเซชั่น, การแยกตัวเป็นไอออน, การแตกตัวให้ไอออน [การแพทย์] | Ionization Constant | ค่าการแตกตัว [การแพทย์] | Ionization Potentials | ศักย์อิออนไนเซซัน, ศักย์แห่งการแตกตัวเป็นไอออน, ศักยะของการแตกตัวให้ไอออน [การแพทย์] | Ionize | แตกตัวเป็นอิออน, แตกตัว, การแตกตัวเป็นอิออน, อิออนไนซ์ [การแพทย์] |
| | | | atom bomb | ระเบิดปรมาณูซึ่งเกิดจากปฏิกิริยาลูกโซ่ของการแตกตัวของนิวเคลียสของอะตอมของธาตุยูเรเนียม U -235 ทำให้ส่วนของมวลของมันเปลี่ยนเป็นพลังงานที่มหาศาล. | cytolysis | n. การสลายตัวหรือแตกตัวของเซลล์., See also: cytolytic adj. ดูcytolysis | degradation | (เดกกระเด'เชิน) n. การลดขั้น, การลดตำแหน่ง, การปลด, การทำให้ขายหน้า, การทำให้เสื่อม, การสึกกร่อน, ความน่าอาย , การแตกตัว, การสลายตัว, Syn. dishonour | degrade | (ดิเกรด') vt. ลดขั้น, ลดตำแหน่ง, ปลดยศ, ปลดจากตำแหน่ง, ทำให้ขายหน้า, ทำให้เสื่อม, ทำให้สึกกร่อน, เลวลง, อ่อนลง (กำลัง, ความเข้มข้น) , แตกตัว (สารประกอบ) vi. แตกตัว, สลายตัว, Syn. debase | dissolution | (ดิสซะลู'เชิน) n. การสลายตัว, ภาวะที่สลายตัว, การแตกตัว, การสิ้นสุด, ความตาย, การหยุดชะงัก, ความเสเพล, ความเหลวไหล | dissolve | (ดิซอลว') vi., vt. ละลาย, กระจายตัว, หลอมเหลว, กลายเป็นของเหลว, แตกตัว, ยุติ, สิ้นสุด, See also: dissolvability n. ดูdissolve dissolvable adj. ดูdissolve, Syn. divide, melt, disappear, fade, Ant. solidify, thicken, unite | electrolyte | (อีเลค'โทรไลทฺ) n. สารประกอบในสารละลายที่เป็นตัวนำไฟฟ้าและแตกตัวเป็นไอออน, See also: electytic adj. | enteric coat tablet | ยาเม็ดที่ทำให้แตกตัวในลำไส้ | fission | (ฟิส'เชิน) n. การแยกออก, การแบ่งเซลล์, การแตกแยกออก, การแบ่งตัว, การแตกตัวของนิวเคลียสของอะตอมออกเป็นอะตอมที่มีน้ำหนักน้อยกว่า และเกิดพลังงานขึ้นอย่างมหาศาล | fissionable | adj. ซึ่งแตกตัวได้, ซึ่งแบ่งตัวได้., See also: fisionability | fragment | (แฟรก'เมินทฺ) n. เศษที่แตกออก, ชิ้นที่แตกออก, ส่วนที่ยังทำไม่เสร็จ, ส่วนที่ยังไม่สมบูรณ์, สะเก็ด. vi. แตกตัวออก, แตกออกเป็นเศษ. vt. แยกออกเป็นชิ้น ๆ , ทำให้แตกออกเป็นชิ้น ๆ, Syn. portion, part, Ant. whole, all | hemolysis | การแตกตัวของเม็ดโลหิตแดงขณะปล่อยฮีโมโกลบินออกมา, See also: hemolytic adj. | nuclear fission | n. การแตกตัวของนิวเคลียสของอะตอมเป็นนิวเคลียสของอะตอมที่เบากว่า และมีการปล่อยพลังงานออก | slake | (สเลค) vi., vt. (ทำให้) บรรเทา, เย็นลง, รู้สึกสดชื่น, เฉื่อยชาลง, (หินปูน) แตกตัวด้วยน้ำ., See also: slakable, slakeable adj. slaker n., Syn. allay |
| dissolution | (n) การแตกตัว, การสลายตัว, การเลิก, การสิ้นสุด, ความเสเพล, ความเหลวไหล | fission | (n) การแตกแยก, การแยก, การแตกตัว, การแบ่งตัว, การแบ่งเซลล์ |
| 分解 | [ぶんかい, bunkai] การแบ่งออกเป็นส่วนๆ การแตกตัว |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |