ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ศาสน, -ศาสน- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ คำต้องห้าม | คำด่าเหล่านี้ผู้ใช้อาจมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 393 ฐานดูุหมิ่นผู้อื่นซึ่งหน้า: อีดอก, อีเหี้ย, อีสัตว์, อีควาย, อีตอแหล, ไอ้ระยำ, ไอ้เบื๊อก, ไอ้ตัวแสบ, เฮงซวย, ผู้หญิงต่ำๆ, พระหน้าผี, พระหน้าเปรต, มารศาสนา, ไอ้หน้าโง่, อีร้อย...(ตามด้วยคำลามก), อีดอกทอง ที่มา: http://www.komchadluek.net/news/scoop/287099 | ผู้หญิงต่ำๆ, พระหน้าผี, พระหน้าเปรต, มารศาสนา, ไอ้หน้าโง่, อีร้อย..., อีดอกทอง | (colloq, vulgar) คำด่าเหล่านี้ผู้ใช้อาจมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 393 ฐานดูุหมิ่นผู้อื่นซึ่งหน้า ที่มา: http://www.komchadluek.net/news/scoop/287099 |
|
| LDS Church | (org) ศาสนจักรของพระเยซูคริสต์แห่งสิทธิชนยุคสุดท้าย, See also: S. The Church of Jesus Christ of Latter-day Saints | LDS Church | (org) ศาสนจักรของพระเยซูคริสต์แห่งวิสุทธิชนยุคสุดท้าย, See also: S. LDS | Mormon | [มอรมอน(อ่านออกเสียง มอร์-มอน)] (n, org) มอรมอน หรือ ศาสนจักรของพระเยซูคริสต์แห่งวิสุทธิชนยุดสุดท้าย, See also: S. LDS Church | The Church of Jesus Christ of Latter-day Saints | (org) ศาสนจักรของพระเยซูคริสต์แห่งวิสุทธิชนยุคสุดท้าย, See also: S. LDS Church |
| libretto | [ละ-เบรต-โต] (n) เนื้อร้องประกอบดนตรีที่ใช้ในอุปรากร, จุลอุปรากร, งานแสดงสวมหน้ากาก, ละครเพลง และบัลเลต์ คำว่าบทร้องบางครั้งอาจจะหมายถึงเนื้อของงานสำคัญทางศาสนาสำหรับงานเช่นมิสซา, บทสรรเสริญผู้เสียชีวิต (requiem) หรือเพลงศาสนา (cantata) (Wikipedia.org), See also: R. opera, cantata, requiem |
| | ต่วน | (n) ่ท่าน ใช้เพื่อให้เกียรติบุคคลธรรมดา ผู้ทรงเกียรติ หรือผู้รู้ศาสนา(เฉพาะบุคคล) ไม่ใช่ยศและไม่สืบทอดเหมือนฐานันดรเจ้านาย Example: อีหม่ามฮาซัน, ต่วนฮาซัน แปลว่า ท่านฮาซัน |
| | | ศาสนา | (n) religious, Count Unit: ศาสนา | ศาสนา | (n) religion, Example: ในสังคมจะต้องมีเรื่องของศาสนาเข้ามาเกี่ยวข้องเพื่อเป็นบรรทัดฐานให้สังคมอยู่ร่วมกันได้อย่างปกติสุข, Count Unit: ศาสนา, Thai Definition: ลัทธิความเชื่อถือของมนุษย์ที่มีหลักพร้อมทั้งลัทธิพิธี | ศาสนกิจ | (n) religious activities | ศาสนกิจ | (n) religious activity, Example: ในอดีตวัดเป็นทั้งสถานที่ประกอบศาสนกิจ และเป็นสถานศึกษา รวมถึงแหล่งที่รวมศิลปกรรมด้วย, Thai Definition: กิจกรรมที่เกี่ยวกับศาสนา | ถือศาสนา | (v) believe in, See also: hold beliefs of a religion, profess a religion, affirm faith in a religion, Example: คนไทยถือศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจำชาติ, Thai Definition: นับถือศาสนา | นอกศาสนา | (n) heretic, See also: schismatic, apostate, sectarian, Syn. พวกนอกศาสนา, Thai Definition: พวกที่ไม่ได้นับถือศาสนานั้น | พระศาสนา | (n) religion, Syn. ศาสนา, Example: คนไทยในสหราชอาณาจักรทุกคนต่างก็มีความจงรักภักดีต่อชาติ พระศาสนา และพระมหากษัตริย์ | ศาสนธรรม | (n) Buddha teaching, Example: ศาสนาธรรมเป็นแห่งที่มาสำคัญของสัจธรรม, Thai Definition: คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า | ศาสนสถาน | (n) religious place, Example: พระพุทธศาสนาฝ่ายมหายานมีการสร้างศาสนสถานขนาดใหญ่ไว้หลายแห่ง, Count Unit: ที่, แห่ง, Thai Definition: สถานที่ปฏิบัติหรือประกอบพิธีกรรมทางศาสนา | ศาสนสถาน | (n) religious place | ศาสนิกชน | (n) religion follower, Example: เขาปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนชาวพุทธที่ดี, Thai Definition: ผู้นับสือศาสนา | อนุศาสน์ | (n) instruction, See also: teaching, direction, precept, Syn. การสอน, Notes: (สันสกฤต) | อนุศาสน์ | (n) explanation, Syn. คำชี้แจง, Example: พ่อแม่ให้อนุศาสน์ทุกอย่างแก่ลูกตั้งแต่เริ่มต้นของชีวิต, Notes: (สันสกฤต) | พุทธศาสนา | (n) Buddhism, Syn. ศาสนาพุทธ, Example: พระพุทธศาสนาเกิดขึ้นเมื่อพระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงปฐมเทศนาหรือเทศน์ครั้งแรก ณ ชมพูทวีป, Count Unit: ศาสนา, Thai Definition: ศาสนาของพระพุทธ | ภาษาศาสนา | (n) religious language, Example: ปฏิคคาหก คำนี้มักคู่กันกับอีกคำหนึ่งในภาษาศาสนาพุทธคือคำที่ว่า ทายก ซึ่งหมายถึงญาติโยมสาธุชนผู้ใจบุญ, Thai Definition: ภาษาที่ใช้ในทางศาสนา | ศาสนาพุทธ | (n) Buddhism, Syn. พุทธ | ศาสนาพุทธ | (n) Buddhism, Syn. พุทธศาสนา, Example: อนันต์ กาญจนพาสต์เปิดเผยครั้งแรกว่าเขาศรัทธาและนับถือศาสนาพุทธมากตั้งแต่สมัยเด็ก ทุกอาทิตย์จะต้องเข้าวัดฟังเทศน์, Thai Definition: ลัทธิความเชื่อที่ถือหลักคำสอนของพระพุทธเจ้าเป็นแนวทางปฏิบัติ | หลักศาสนา | (n) dogma, See also: doctrine, principle of one's faith, Example: หลักศาสนาทั่วไปสั่งสอนให้คนทำแต่ความดี | หลักศาสนา | (n) dogma, See also: doctrine, principle of one's faith, Example: หลักศาสนาทั่วไปสั่งสอนให้คนทำแต่ความดี | วงการศาสนา | (n) religious circles, Syn. แวดวงศาสนา, Example: ทุกวงการก็มีคนเลว ไม่เว้นแม้แต่วงการศาสนา, Count Unit: วงการ, Thai Definition: หน่วยงานและกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องกับศาสนา | ศาสนาชินโต | (n) Shintoism, Syn. ชินโต, Example: ญี่ปุ่นยังคงรักษาขนบประเพณีการดื่มน้ำชาแบบญี่ปุ่น ทะนุบำรุงศาสนาชินโตและวัดพุทธศาสนาเอาไว้, Thai Definition: ชื่อศาสนาดั้งเดิมของชาวญี่ปุ่น ไม่มีศาสดาผู้ก่อตั้ง มีคำสอนให้เคารพบูชาธรรมชาติ | กรมการศาสนา | (n) Religious Affairs Department, See also: Department of Religious Affairs, Example: กรมการศาสนากำลังพัฒนาภาพลักษณ์ของพระสงฆ์ไทย, Count Unit: กรม | คริสต์ศาสนา | (n) Christianity, Syn. ศาสนาคริสต์, Example: คริสต์ศาสนาเป็นศาสนาที่แพร่หลายในทวีปยุโรป | รัฐประศาสน์ | (n) public administration, See also: governmental administration, Thai Definition: การปกครองบ้านเมือง | ศาสนาคริสต์ | (n) Christianity, Syn. คริสต์, คาทอลิก, คริสเตียน, โปรแตสแตนท์ | ศาสนาคริสต์ | (n) Christianity, See also: Protestantism, Syn. คริสต์ศาสนา, Example: ศาสนาคริสต์เป็นศาสนาสำคัญและยิ่งใหญ่ของโลกศาสนาหนึ่ง | ศาสนามุสลิม | (n) Mohammedanism, See also: Muslimism, Islam, Islamism, Moslemism, Syn. ศาสนาอิสลาม, มุสลิม, อิสลาม, Example: ศาสนามุสลิมมีข้อห้ามไม่ให้ดื่มสุรา | ศาสนาอิสลาม | (n) Islam, Syn. อิสลาม | ศาสนาอิสลาม | (n) Mohammedanism, See also: Muslimism, Islam, Islamism, Moslemism, Syn. ศาสนามุสลิม, มุสลิม, อิสลาม, Example: ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาใหญ่อีกศาสนาหนึ่ง ที่มีผู้นิยมเลื่อมใสและนับถือมาก, Thai Definition: ศาสนาที่สำคัญศาสนาหนึ่งของโลก มีศาสดาชื่อมุฮัมมัด นับถือพระเจ้าองค์เดียวคือพระอัลเลาะห์ มีคัมภีร์อัลกุรอานเป็นหลัก ไม่มีนักบวช | สงครามศาสนา | (n) religious war, Example: สถานการณ์ในอัฟกานิสถานจะรุกลามกลายเป็นสงครามศาสนาในไม่ช้า, Thai Definition: สงคามระหว่างผู้ต่างศาสนาเพื่อผลประโยชน์แห่งศาสนาของฝ่ายตน | สถาบันศาสนา | (n) religious institution, Example: สถาบันศาสนาเป็นสถาบันหนึ่งที่มีความสำคัญต่อประชาชนชาวไทย, Count Unit: สถาบัน, Thai Definition: สถาบันที่เกี่ยวข้องกับศาสนา | หมอสอนศาสนา | (n) missionary, See also: missioner, Syn. มิชชันนารี, บาทหลวง, อนุศาสนาจารย์, Example: นายบรัดเล เป็นหมอสอนศาสนาชาวอเมริกัน ที่นำเครื่องพิมพ์หนังสือไทยเข้ามาใช้ในสมัยรัชกาลที่ 3, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้เผยแพร่คริสต์ศาสนา | พระพุทธศาสนา | (n) Buddhism, Syn. พุทธศาสนา, ศาสนาพุทธ, Example: หลวงตาจันทร์ได้ทำประโยชน์ให้พระพุทธศาสนาและสังคมมาเป็นเวลานาน, Thai Definition: ศาสนาของพระพุทธ | พิธีทางศาสนา | (n) religious ceremony, See also: religious rite, Example: ปัจจุบันพุทธศาสนิกชนไม่ค่อยใส่ใจกับการประกอบพิธีทางศาสนาเหมือนแต่ก่อน, Count Unit: พิธี, Thai Definition: การประกอบพิธีต่างๆ ตามแบบอย่างที่กำหนดไว้ในศาสนานั้นๆ | พุทธศาสนิกชน | (n) Buddhist, Syn. ชาวพุทธ, Example: พระพุทธชินราชเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์สูงสุดของเมืองพิษณุโลก ที่พุทธศาสนิกชนทั้งชาวไทย และชาวต่างประเทศจำต้องเดินทางไปนมัสการเพื่อความเป็นสิริมงคล, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่นับถือพระพุทธศาสนา | ศาสนาพราหมณ์ | (n) Bramanism, Syn. พราหมณ์ | ศาสนาพราหมณ์ | (n) Brahminism, Syn. พราหมณ์, Example: ศาสนาพราหมณ์เป็นศาสนาธรรมชาติ เป็นความพยายามของมนุษย์ที่จะเอาชนะธรรมชาติ | คริสต์ศาสนิกชน | (n) Christian, Syn. ชาวคริสต์, Example: ความเห็นเรื่องบาปของพุทธศาสนิกชนและคริสต์ศาสนิกชนจะแตกต่างกัน | ศาสนาประจำชาติ | (n) national religion, Syn. ศาสนาประจำประเทศ, Example: ศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจำชาติของประเทศไทย, Count Unit: ศาสนา | รัฐประศาสนศาสตร์ | (n) political and administrative science, See also: science of administration, Thai Definition: วิชาว่าด้วยการบริหารและการปกครองประเทศเพื่อให้สัมฤทธิผลตามนโยบายของรัฐอย่างมีประสิทธิภาพและประหยัด | ศาสนาเปรียบเทียบ | (n) comparative religion, Example: เขาเขียนตำราและบทความเกี่ยวกับศาสนาเปรียบเทียบไว้ประดับวงการวิชาการมากมาย, Thai Definition: มานุษยวิทยาวัฒนธรรมสาขาหนึ่งเกี่ยวกับการศึกษาและการเปรียบเทียบระบบศาสนาต่างๆ ของมนุษยชาติ | หลักพระพุทธศาสนา | (n) Buddhist principles, Example: การบูชาปูชนียบุคคลนับว่าเป็นมงคลอันสูงสุดประการหนึ่งตามหลักพระพุทธศาสนา, Thai Definition: สาระสำคัญของศาสนาพุทธ | รัฐประศาสนศาตรบัณฑิต | (n) Bachelor of Arts (Public Administration), See also: B.A. (Public Administration), Syn. รป.บ. | รัฐประศาสนศาตรมหาบัณฑิต | (n) Master of Public Administration, See also: M.P.A., Syn. รป.ม. |
| คริสต์ศาสนิกชน | (คฺริดสาสะนิกกะชน, คฺริดสาดสะนิกกะชน) น. ผู้ที่นับถือคริสต์ศาสนา. | นวังคสัตถุศาสน์ | (นะวังคะสัดถุสาด) น. คำสอนของพระศาสดา คือ พระพุทธเจ้า มีองค์ประกอบ ๙ อย่าง คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาดก อัพภูตธรรม เวทัลละ. | นวังคสัตถุศาสน์ | ดู นว- ๒. | ประศาสน์ | น. การแนะนำ, การสั่งสอน | ประศาสน์ | การปกครอง, การงำเมือง, การสั่ง. | พุทธศาสนิกชน | (-สาสะนิกกะชน, -สาดสะนิกกะชน) น. ผู้ที่นับถือพระพุทธศาสนา. | รัฐประศาสน์ | (รัดถะปฺระสาด) น. การปกครองบ้านเมือง. | รัฐประศาสนนัย, รัฐ-ประศาสโนบาย | (รัดถะปฺระสาสะนะไน, รัดถะปฺระสาสะโนบาย) น. วิธีการปกครองบ้านเมือง. | รัฐประศาสนศาสตร์ | (รัดถะปฺระสาสะนะสาด) น. วิชาว่าด้วยการบริหารและการปกครองประเทศเพื่อให้สัมฤทธิผลตามนโยบายของรัฐอย่างมีประสิทธิภาพและประหยัด. | เลิกพระศาสนา | ก. ยกย่องพระพุทธศาสนาให้รุ่งเรือง. | ศาสน-, ศาสนา | (สาสะนะ-, สาดสะนะ-, สาดสะหฺนา) น. ลัทธิความเชื่อถือของมนุษย์อันมีหลัก คือแสดงกำเนิดและความสิ้นสุดของโลกเป็นต้น อันเป็นไปในฝ่ายปรมัตถ์ประการหนึ่ง แสดงหลักธรรมเกี่ยวกับบุญบาปอันเป็นไปในฝ่ายศีลธรรมประการหนึ่ง พร้อมทั้งลัทธิพิธีที่กระทำตามความเห็นหรือตามคำสั่งสอนในความเชื่อถือนั้น ๆ. | ศาสนกิจ | น. งานทางศาสนาที่ภิกษุสามเณรเป็นต้นปฏิบัติ เช่น การทำวัตรสวดมนต์และการเผยแผ่ศาสนาเป็นศาสนกิจของสงฆ์. | ศาสนจักร | (สาสะนะจัก, สาดสะนะจัก) น. อำนาจปกครองทางศาสนา เช่น ไตรภูมิโลกวินิจฉัยเป็นวรรณกรรมฝ่ายศาสนจักร, ถ้าเป็นฝ่ายพระพุทธศาสนา เรียกว่า พุทธจักร, ถ้าเป็นฝ่ายคริสต์ศาสนา เรียกว่า คริสตจักร, คู่กับ อาณาจักร ซึ่งหมายความว่า อำนาจปกครองทางบ้านเมือง. | ศาสนธรรม | น. คำสั่งสอนในศาสนา เช่น ศาสนิกชนควรปฏิบัติตามศาสนธรรมในศาสนาของตน. | ศาสนบุคคล | น. นักบวชในศาสนา เช่น ภิกษุสามเณรเป็นศาสนบุคคลของพระพุทธศาสนา. | ศาสนพิธี | น. พิธีกรรมทางศาสนา เช่น พิธีทอดกฐิน พิธีอุปสมบท เป็นศาสนพิธีของพระพุทธศาสนา. | ศาสนวัตถุ | น. วัตถุที่เกี่ยวเนื่องทางศาสนา มักเป็นสิ่งที่เคารพบูชา เช่น พระพุทธรูปเป็นศาสนวัตถุในพระพุทธศาสนา. | ศาสนศาสตร์ | น. วิชาว่าด้วยศาสนาต่าง ๆ. | ศาสนสถาน | น. สถานที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา เช่น โบสถ์ วิหาร สถูป เจดีย์ เป็นศาสนสถานทางพระพุทธศาสนา มัสยิดเป็นศาสนสถานทางศาสนาอิสลาม. | ศาสนสมบัติ | น. ทรัพย์สินของพระศาสนาทั้งที่เป็นสังหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ มี ๒ อย่าง คือ ศาสนสมบัติกลาง และศาสนสมบัติของวัด. | ศาสนสมบัติกลาง | น. ทรัพย์สินของพระศาสนาโดยส่วนรวม ส่วนใหญ่ได้แก่ ที่ดิน อาคาร และดอกผลที่เกิดขึ้นจากที่ดินและอาคารนั้น ๆ รวมทั้งที่ดินวัดร้างทั่วประเทศที่ทางการได้ประกาศยุบเลิกวัดแล้ว. | ศาสนสมบัติของวัด | น. ทรัพย์สินของวัดใดวัดหนึ่งรวมทั้งปูชนียสถานที่ตั้งอยู่ภายในบริเวณวัด เช่น พระปฐมเจดีย์เป็นศาสนสมบัติของวัดพระปฐมเจดีย์ พระธาตุพนมเป็นศาสนสมบัติของวัดธาตุพนม พระธาตุดอยสุเทพเป็นศาสนสมบัติของวัดพระธาตุดอยสุเทพ. | ศาสนิกชน | น. บุคคลที่นับถือศาสนา เช่น ศาสนิกชนของพระพุทธศาสนา เรียกว่า พุทธศาสนิกชน ศาสนิกชนของคริสต์ศาสนา เรียกว่า คริสต์ศาสนิกชน. | ศาสนูปถัมภก | (สาสะนูปะถำพก, สาดสะนูปะถำพก) น. ผู้ทะนุบำรุงศาสนา, ถ้าใช้แก่พระมหากษัตริย์ เรียกว่า องค์เอกอัคร-ศาสนูปถัมภก. | ศาสน์ | น. คำสั่ง, คำสั่งสอน, โดยปริยายหมายถึง พระราชหัตถเลขาทางราชการและลิขิตของสมเด็จพระสังฆราช เช่น พระราชศาสน์ สมณศาสน์. | ศาสนิกชน | ดู ศาสน-, ศาสนา. | ศาสนีย-, ศาสนีย์ | (สาสะนียะ-, สาสะนี) ว. สมควรจะสั่งสอน. | ศาสนูปถัมภก | ดู ศาสน-, ศาสนา. | สัตถุศาสนา | น. คำสั่งสอนของพระศาสดา คือพระพุทธศาสนา. | สืบศาสนา | ก. ต่ออายุพระศาสนาให้ยั่งยืนสืบไป. | อนุศาสน์ | น. การสอน | อนุศาสน์ | คำชี้แจง. | อนุศาสนาจารย์ | (อะนุสาสะนาจาน, อะนุสาดสะนาจาน) น. อาจารย์ผู้อบรมศีลธรรมของหน่วยราชการ. | กมัณฑลุ | (กะมันทะ-) น. กะโหลกนํ้าเต้า, เต้านํ้า, หม้อนํ้า, ภาชนะใส่นํ้าเล็ก ๆ เป็นบริขารเครื่องใช้ประจำของนักบวชนอกพระพุทธศาสนา ทำด้วยไม้หรือดิน, เช่น กมัณฑลุภาชน์ ว่า ภาชนะใส่น้ำ คือ เต้านํ้า (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์), ใช้ว่า กมัณฑลู ก็มี เช่น บัดนี้คาวียุพราชาชัยลีลา ก็เอากมัณฑลูลง (เสือโค). | กลอนสวด | น. กลอนที่อ่านเป็นทำนองสวด แต่งเป็นกาพย์ยานี ๑๑ หรือ กาพย์ฉบัง ๑๖ และกาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ ข้อความที่แต่งมักเป็นเรื่องในศาสนา. | กะดี | คำที่ใช้เรียกศาสนสถานของศาสนาอื่น เช่น กะดีเจ้าเซ็นและกะดีขาวเป็นมัสยิดของชาวมุสลิม กะดีจีนเป็นศาลเจ้าของชาวจีน, ปัจจุบันคือมัสยิดหรือสุเหร่า. (เลือนมาจาก กุฎี). | กัลปนา | (กันละปะนา) น. ที่ดินหรือสิ่งอื่นเช่นอาคารซึ่งเจ้าของอุทิศผลประโยชน์ให้แก่วัดหรือศาสนา | กำลังภายใน | น. กำลังที่เร้นอยู่ภายใน, กำลังที่เกิดจากการฝึกจิต โดยเฉพาะในลัทธิเต๋าและพระพุทธศาสนาบางนิกาย เพื่อให้จิตใจกล้าแข็งจนสามารถทำสิ่งที่คนทั่วไปทำไม่ได้. | กินบวช | ก. กินเครื่องกระยาบวชในลัทธิพิธี เช่นพิธีตรุษ, ใช้เข้าคู่กับคำ ถือศีล เป็น ถือศีลกินบวช, กินในเวลาตามกำหนดของการถือพรตในลัทธิศาสนา. | กุฎี | คำที่ใช้เรียกศาสนสถานของศาสนาอื่น เช่น กุฎีเจ้าเซ็นและกุฎีขาวเป็นมัสยิดของชาวมุสลิม กุฎีจีนเป็นศาลเจ้าของชาวจีน, โบราณเรียกว่า กะดี, ปัจจุบันคือมัสยิดหรือสุเหร่า. | เกศธาตุ | น. ผม (มักใช้ทางศาสนา) เช่น พระเกศธาตุ หมายถึง พระเกศาของพระพุทธเจ้า. | แก่น | น. เนื้อไม้แข็งและมีสีเข้ม อยู่ถัดกระพี้เข้าไป, เนื้อแท้, หลักสำคัญ เช่น แก่นพระศาสนา. | ไกรลาส, ไกลาส | (ไกฺรลาด, ไกลาด) น. ชื่อภูเขาในเทือกเขาหิมาลัย เชื่อว่าเป็นที่สถิตของพระอิศวรในศาสนาพราหมณ์. | ขงจื๊อ | น. ชื่อศาสนาสำคัญศาสนาหนึ่งของจีน มีศาสดาชื่อขงจื๊อ. | เข้าเงียบ | ก. ประพฤติสงบจิตใจอยู่ในที่สงัดตามลัทธิคริสต์ศาสนา. | เข้าฌาน | ก. ทำใจให้สงบตามหลักทางศาสนา, โดยปริยายหมายถึงนั่งหลับหรือเหม่อใจลอยไม่รับรู้อะไร. (ดู ฌาน ประกอบ). | เข้าที่ | ก. นั่งภาวนากรรมฐาน (ทางพระศาสนา) | เข้ารีต | ว. เปลี่ยนไปถือศาสนาอื่น. | เข้ารีต | น. เรียกผู้เปลี่ยนไปถือคริสต์ศาสนาส่วนใหญ่เป็นนิกายโรมันคาทอลิก ว่า ผู้เข้ารีต เช่น ญวนเข้ารีต. | เข้าสุหนัต | ก. เข้าพิธีขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายตามข้อกำหนดในศาสนาอิสลาม. |
| parish | ๑. เขตการปกครองทางศาสนา๒. เขตการปกครองส่วนท้องถิ่น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | papal encyclical | สารสันตะปาปา (ใช้ในวงการศาสนา) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | public administration | ๑. การบริหารรัฐกิจ๒. รัฐประศาสนศาสตร์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | public administration | ๑. รัฐประศาสนศาสตร์๒. การบริหารรัฐกิจ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | liberty, religious | เสรีภาพทางศาสนา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | religious object | ศาสนวัตถุ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | religious statistics | สถิติทางศาสนา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | religious use | ศาสนประโยชน์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | religion | ศาสนา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | religion | ศาสนา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | religion, advancement of | การส่งเสริมศาสนา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | religion, freedom of; religious freedom; religious liberty | เสรีภาพทางศาสนา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | religion, offences against | ความผิดต่อศาสนา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | religious corporation | องค์การทางศาสนา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | religious establishment | สถาบันศาสนา (ที่ได้รับการรับรอง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | religious freedom; religion, freedom of; religious liberty | เสรีภาพทางศาสนา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | religious freedom | เสรีภาพทางศาสนา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | religious liberty; religion, freedom of; religious freedom | เสรีภาพทางศาสนา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | religious marriage | การสมรสตามพิธีศาสนา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | religious minority | ชนกลุ่มน้อยทางศาสนา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | sacrilege | การลบหลู่ศาสนา, การเหยียดหยามศาสนา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | sacrilege | การลบหลู่สิ่งเคารพทางศาสนา, การเหยียดหยามศาสนา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | secularlization | การแยกฝ่ายอาณาจักรออกจากฝ่ายศาสนจักร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | offences relating to religion | ความผิดเกี่ยวกับศาสนา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | offences against religion | ความผิดต่อศาสนา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | administration, public | ๑. การบริหารรัฐกิจ๒. รัฐประศาสนศาสตร์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | advancement of religion | การส่งเสริมศาสนา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | anti-clericalism | คตินิยมต่อต้านศาสนจักร, ลัทธิต่อต้านศาสนจักร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | agnostic | ผู้ไม่ถือศาสนา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | blasphemy | ความผิดฐานเหยียดหยามศาสนา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | baptism | พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | baptism slip | ใบรับรองความเป็นคริสต์ศาสนิกชน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | minister | ๑. รัฐมนตรี๒. อัครราชทูต๓. ศาสนาจารย์ (คริสต์ศาสนานิกายโปรเตสแตนต์) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | minister | ๑. รัฐมนตรี (ก. รัฐธรรมนูญ)๒. อัครราชทูต (ก. ระหว่างประเทศ)๓. ศาสนาจารย์ (ก. ปกครอง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Council, Governing | คณะมนตรีประศาสน์การ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | church property | ศาสนสมบัติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | confirmation list | รายชื่อผู้ปฏิญาณตนเข้าถือศาสนา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | canon laws | ประมวลกฎหมายโรมันเกี่ยวกับศาสนา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Governing Council | คณะมนตรีประศาสน์การ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | freedom of religion; freedom, religious | เสรีภาพทางศาสนา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | freedom, religious; freedom of religion | เสรีภาพทางศาสนา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | ecclesia (L.) | ศาสนสถาน, ที่ชุมนุมศาสนิกชน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | ecclesiastical court | ศาลศาสนา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | ecclesiastical things | ศาสนสมบัติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | establishment, religious | สถาบันศาสนา (ที่ได้รับการรับรอง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | encyclical, papal | สารสันตะปาปา (ใช้ในวงการศาสนา) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | theotherapy | ศาสนบำบัด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | worship | พิธีกรรมทางศาสนา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| | บวรพุทธศาสนา | [bøwøn Phutthasatsana] (n, exp) EN: the glorious creed of Buddhism | การละทิ้งศาสนา | [kān lathing sātsanā] (n, exp) FR: abjuration [ f ] ; apostasie [ f ] | คัมภีร์ทางศาสนา | [khamphī thāng sātsanā] (n, exp) EN: Scripture FR: Écriture [ f ] ; Écritures [ fpl ] | ความขัดแย้งระหว่างศาสนา | [khwām khatyaēng rawāng sātsanā] (n, exp) FR: conflit interreligieux [ m ] | เกี่ยวกับศาสนา | [kīokap sātsanā] (adj) EN: religious FR: religieux | กรมการศาสนา | [Krom Kān Sātsanā] (org) EN: Department of Religious Affairs | ละทิ้งศาสนา | [lathing sātsanā] (v, exp) FR: abjurer | นับถือศาสนาอิสลาม | [naptheū sātsanā itsalām] (v, exp) FR: être de confession musulmane | นับถือศาสนาคริสต์ | [naptheū sātsanā Khris] (v, exp) FR: être de confession chrétienne | นับถือศาสนาพุทธ | [naptheū sātsanā Phut] (v, exp) FR: pratiquer la religion bouddhiste ; être de confession bouddhiste | นับถือศาสนายิว | [naptheū sātsanā Yiū] (v, exp) FR: être de confession judaïque | ภาษาศาสนา | [phāsā sātsanā] (n, exp) EN: religious language | พิธีทางศาสนา | [phithī thāng sātsanā] (n, exp) EN: religious rite FR: rite religieux [ m ] | พิธีทางศาสนา | [phithī thāng sātsanā] (n, exp) EN: religious ceremony ; religious rite FR: cérémonie religieuse [ f ] ; rite religieux [ m ] | พระพุทธศาสนา | [Phraphutthasātsanā] (n, prop) EN: Buddhism FR: bouddhisme [ m ] | พระศาสนา | [phrasātsanā] (n) EN: religion ; Buddhism FR: bouddhisme [ m ] | ผู้พิทักษ์ศาสนา | [phūphithak sātsanā] (n, exp) EN: protector of the faith FR: gardien de la foi [ m ] | พุทธศาสนา | [Phutthasatsana] (n, prop) EN: Buddhism FR: bouddhisme [ m ] | พุทธศาสนานิกายเถรวาท | [Phutthasatsana nikai Thērawāt] (n, prop) EN: Theravada Buddhism FR: bouddhisme theravada [ m ] | พุทธศาสนิกชน | [Phuttha sātsanikkachon] (adj) EN: buddhist FR: bouddhiste | ประกอบศาสนพิธี | [prakøp sātsanaphithī] (v, exp) EN: perform a religious rite FR: accomplir un rite religieux | สนั่น ขจรประศาสน์ | [Sanan Khajønprasāt] (n, prop) EN: Sanan kachornprasart FR: Sanan kachornprasart | สถาบันศาสนา | [sathāban sātsanā] (n, exp) EN: religious institution FR: institution religieuse [ f ] | ศาสน- | [sātsana-] (pref, (adj)) EN: religious FR: religieux | ศาสนา | [sātsanā] (n) EN: religion ; faith ; creed ; belief FR: religion [ f ] ; foi [ f ] ; culte [ m ] ; croyance [ f ] | ศาสนา | [sātsanā] (adj) EN: religious FR: religieux | ศาสนบัญญัติ | [sātsanabanyat] (n, exp) EN: religious prescriptions | ศาสนาชินโต | [sātsanā Chintō] (n, exp) EN: Shintoism FR: shintoïsme [ m ] | ศาสนาฮินดู | [sātsanā Hindū] (n, exp) EN: Hinduism FR: hindouisme [ m ] | ศาสนาอิสลาม | [sātsanā Itsalām] (n, exp) EN: Islam ; islamism ; Mohammedanism ; Muslimism ; Moslemism FR: islam [ m ] ; islamisme [ m ] | ศาสนจักร | [sātsanajak] (n) EN: religious authority | ศาสนาจารย์ | [sātsanājān] (n) EN: religious teacher ; teacher of religion | ศาสนกิจ | [sātsanakit] (n) EN: religious activity | ศาสนาคริสต์ | [sātsanā Khrit] (n, exp) EN: Christianity FR: christianisme [ m ] | ศาสนามุสลิม | [sātsanā Mutsalim] (n, exp) EN: Mohammedanism ; Muslimism ; Islam ; Islamism ; Moslemism FR: islamisme [ m ] ; mahométisme [ m ] (vx) | ศาสนพิธี | [sātsanaphithī] (n, exp) EN: religious rite FR: rite religieux [ m ] | ศาสนาพราหมณ์ | [sātsanā Phrām] (n, exp) EN: Brahmanism ; Brahminism FR: brahmanisme [ m ] | ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู | [sātsanā Phrām-Hindū] (n, exp) EN: ? FR: ? | ศาสนาพุทธ | [sātsanā Phut] (n, exp) EN: Buddhism FR: bouddhisme [ m ] | ศาสนาประจำชาติ | [sātsanā prajamchāt] (n, exp) EN: national religion | ศาสนาเปรียบเทียบ | [sātsanā prīepthīep] (n, exp) EN: comparative religion | ศาสนาโซโรอัสเตอร์ | [sātsanā Sōrōattoē] (n, exp) EN: Zoroastrianism ; Zoroastrian Religion | ศาสนสถาน | [sātsanasathān] (n) EN: religious place | ศาสนาธรรม | [sātsanatham] (n) EN: religious doctrine | ศาสนทูต | [sātsanathūt] (n) FR: prophète [ m ] | ศรัทธาศาสนามาก | [satthā sātsanā māk] (v, exp) EN: show great faith FR: témoigner sa foi profonde | ทางศาสนา | [thāng sātsanā] (adj) EN: religious FR: religieux | ถือศาสนา | [theū sātsanā] (x) FR: croyant | วรรณคดีศาสนา | [wannakhadī sātsanā] (n, exp) EN: religious literature | วันสำคัญทางศาสนาคริสต์ | [wan samkhan thāng sātsanā Khrit] (n, exp) FR: fête religieuse chrétienne [ f ] |
| metta | (n) เมตตา (จากหลักศาสนาพุทธ) | Quran | (proper, noun) คัมภีร์กุรอานของศาสนาอิสลาม, See also: Kuran, Coran, Syn. Koran | contentment | (n) สันโดษ (ความหมายทางศาสนาพุทธ) | Mardi Gras | (n) |มาจากภาษาฝรั่งเศส| วันอังคารก่อนวัน Ash Wednesday, วันฉลองก่อนวันถือบวชในศาสนาคริสต์ (หรือเรียกว่า Shrove Tuesday), วันสุดท้ายของเทศกาลคาร์นิวาลในอเมริกา โดยเฉพาะที่เมือง New Orleans, Syn. Fat Tuesday | exegete | (n) อรรถกถาจารย์ - ผู้เขียนหนังสืออธิบายข้อพระคัมภีร์ของศาสนาต่างๆ เช่นหนังสืออธิบายข้อพระคริสต์ธรรมคัมภีร์ หรือหนังสืออธิบายข้อพระธรรมเบญจบรรณ หรือหนังสืออธิบายพระไตรปิฏก หรือหนังสืออธิบายคัมภีร์พระเวท หรือหนังสืออธิบายคัมภีร์อัลกุรอ่านก็ได้ทั้งนั้น, Syn. commentator |
| Adam | (n) ชื่อบุคคลแรกของโลกตามศาสนาคริสต์ | Adventist | (n) สมาชิกของศาสนาคริสต์ที่มีความเชื่อร่วมกัน, See also: สมาชิกของศาสนาคริสต์ที่เชื่อถือว่าพระเยซูคริสต์จะมาจุติในโลกอีก | All Saints Day | (n) วันทางศาสนาเพื่อระลึกถึงนักบุญทั้งหมดคือวันที่ 1 พฤศจิกายน | Allah | (n) พระเจ้า (ศาสนาอิสลาม) | apocalypse | (n) บันทึกทางศาสนาของยิวหรือคริสเตียน (ระหว่างช่วง 200 ปี ก่อนคริสตศักราชถึงปีคริสตศักราชที่ 300) | apologetics | (n) สาขาของศาสนศาสตร์ที่เกี่ยวกับการป้องกันหรือพิสูจน์ความเป็นคริสเตียน | Apostle | (n) ผู้เผยแพร่คริสตศาสนาครั้งแรก ซึ่งมีจำนวน 12 คน | anoint with | (phrv) เจิมด้วย (ทางศาสนา) | baptise | (vt) พิธีล้างบาปในศาสนาคริสต์, See also: ทำพิธีตั้งชื่อในศาสนาคริสต์, Syn. purify, immerse | baptism | (n) พีธีล้างบาปในศาสนาคริสต์, Syn. immersion | baptismal | (n) เกี่ยวกับพิธีล้างบาปในศาสนาคริสต์ | Baptist | (n) ผู้นับถือศาสนาคริสต์นิกายโปรแตสแตนต์ | baptize | (vt) ทำพิธีล้างบาปในศาสนาคริสต์, See also: ทำพิธีตั้งชื่อในศาสนาคริสต์, Syn. purify, immerse | benefice | (n) ตำแหน่งพระสอนศาสนา | Bible | (n) คัมภีร์ไบเบิ้ล, See also: คัมภีร์ของศาสนาคริสต์, Syn. Holy Writ | blaspheme | (vt) พูดดูหมิ่นหรือสบประมาทศาสนา, See also: กล่าวถ้อยคำหยาบคาย, Syn. defile, desecrate, Ant. honor, revere | blaspheme | (vi) พูดดูหมิ่นศาสนาหรือสิ่งศักดิ์สิทธ์, Syn. defile, desecrate, profane, Ant. honor, revere | blasphemy | (n) การสบประมาทหรือการดูหมิ่น, See also: การสบประมาทศาสนา, Syn. desecration, profanation | born-again | (adj) ซึ่งเชื่อแรงกล้าในศาสนาและต้องการให้ผู้อื่นเชื่อเหมือนกัน | Buddhism | (n) พุทธศาสนา, See also: ศาสนาพุทธ, พระพุทธศาสนา | Buddhist | (n) ผู้ที่นับถือศาสนาพุทธ | caliph | (n) ผู้นำทางศาสนาของประเทศมุสลิม | canonic | (adj) ที่เกี่ยวกับหลักทางศาสนา, Syn. canonical | canonical | (adj) ที่เกี่ยวกับหลักทางศาสนา, Syn. canonic | cant | (n) การพูดอย่างไม่จริงใจ (โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับศาสนาหรือศีลธรรม), Syn. insincere talk, hypocrisy | cantata | (n) การเล่นดนตรีและร้องเพลงที่มีเนื้อหาทางศาสนา | Canterbury | (n) แคนเทอเบอรี่ (ประเทศอังกฤษ), See also: เมืองหนึ่งในประเทศอังกฤษ เป็นที่ตั้งของโบสถ์ในศาสนาคริสต์นิกาย Church of England | Canterbury | (n) เมืองแคนเทอเบอรี่ (ประเทศอังกฤษ), See also: เมืองหนึ่งในประเทศอังกฤษ เป็นที่ตั้งของโบสถ์ในศาสนาคริสต์นิกาย Church of England | canticle | (n) เพลงทางศาสนาสั้นๆ เนื้อร้องนำมาจากคัมภีร์ไบเบิ้ล | cardinal | (n) พระในศาสนาคริสต์ที่มีลำดับชั้นสูงสุด | cardinal sin | (n) หนึ่งในบาปที่ร้ายแรง 7 ประการในศาสนาคริสต์ (หยิ่งยโส, ราคะ, อิจฉา, โมหะ, โลภ, ตะกละ, เกียจคร้าน) | carol service | (n) พิธีทางศาสนาที่มีการร้องเพลงในศาสนาคริสต์ | caste | (n) วรรณะในศาสนาฮินดู, See also: ชนชั้นในศาสนาฮินดู | catechise | (vt) สอนหลักการของศาสนาคริสต์โดยการถามตอบ, Syn. catechize | catechism | (n) คำถามและคำตอบที่ใช้ในการสอนถึงหลักการของศาสนาคริสต์ | catechize | (vt) สอนหลักการของศาสนาคริสต์โดยการถามตอบ, Syn. catechise | celibate | (adj) ที่ไม่แต่งงานและไม่มีความสัมพันธ์ทางเพศ (โดยเฉพาะบุคคลทางศาสนา เช่น พระ แม่ชี), Syn. continent, virginal, unmarried | celibate | (n) ผู้ที่ไม่แต่งงานและไม่มีความสัมพันธ์ทางเพศ (โดยเฉพาะบุคคลทางศาสนา เช่น พระ แม่ชี) | chalice | (n) ถ้วยเงินหรือทองสำหรับใส่ไวน์ในงานพิธีทางศาสนาคริสต์, Syn. goblet | chaplain | (n) อนุศาสนาจารย์, See also: บาทหลวงในโรงเรียน, โรงพยาบาล, คุกหรือกองทัพ, Syn. clergyman | Christian | (n) คริสตศาสนิกชน, See also: ผู้ที่นับถือศาสนาคริสต์ | Christianity | (n) ศาสนาคริสต์, Syn. religion of Christ | christianize | (vt) เปลี่ยนเป็นนับถือศาสนาคริสต์ | clergy | (n) ผู้ที่ทำเกี่ยวกับศาสนา | clergyman | (n) ผู้ที่เป็นสมาชิกองค์กรทางศาสนา | cleric | (adj) ที่เกี่ยวกับบุคคลในศาสนา | clerical | (adj) ที่เกี่ยวกับงานศาสนา | cloister | (n) ที่อยู่ทางศาสนา (เช่น วัด), Syn. religious residence | convent | (n) สังคมของหญิงผู้ที่อุทิศตนให้ศาสนา | conversion | (n) การเปลี่ยนความเชื่อ, See also: การเปลี่ยนศาสนา |
| al sirat | (แอลไซราท') ทางที่ถูกของศาสนา (อิสลาม) สะพานสวรรค์ (แคบเหมือนใบมีดโกน) | all saints' day | วันทางศาสนาที่ระลึกถึงนักบุญทั้งหมด คือวันที่ พฤศจิกายน. Allhallows | amos | (เอ' มอส) n. ผู้เผยแพร่ศาสนา, บทหนังสือในพระคัมภีร์ (a minor Prophet) | anathema | (อะแนธ' ธีมะ) n. บุคคลหรือสิ่งที่คนสาปแช่งหรือเกลียด, การขับไล่ออกจากศาสนา, การสาปแช่ง, การประณามอย่างรุนแรง. -anathema tic (al) adj., Syn. curse, execration, Ant. blessing, approval | apocalypse | (อะพอด'คะลิพซ) n. บันทึกทางศาสนาของยิวหรือคริสเตียนพบระหว่างปี 200 B.C.A.D. 350 การค้นพบ, การเปิดเผย. -apocalyptic (al) adj. (revelation; discovery) | apocrypha | (อะพอค'ระฟะ) n. กลุ่ม 14 บทหนังสือของพระคัมภีร์เก่า Old Testment ของคริสเตียน, บทหนังสือศาสนาที่หาแปล่งมาไม่แน่ชัดและไม่เป็นที่ยอมรับกันมาก (shorten) | apologetics | (อะพอล'ละเจท'ทิคซฺ) n. สาขาของศาสนาศาสตร์ที่เกี่ยวกับการป้องกันหรือพิสูจน์ความเป็นคริสเตียน | apostasy | (อะพอส'ทะซี) n. การผละออกจากศาสนาหลักการณ์ พรรคหรืออื่น ๆ | apstate | (อะพอส'เทท) n. บุคคลที่ผละออกจากศาสนา หลักการพรรคหรืออื่น ๆ (convert) apostatise, apostatize (อะพอส'ทะไทซ) n. กระทำการ apostasy (commit apostasy) | ash wednesday | วันแรกของฤดูถือบวชในศาสนาคริสต์ (first day of lent) | ashram | (แอช'แรม) n. สถานที่สอนศาสนาฮินดู., Syn. ashama | auto-da-fe | (ออโทคะเฟ') n. การตัดสินคดีของศาสนาโรมันคาธอลิคในยุคกลางที่เผด็จการ มีการลงโทษใช้ไฟเผาพวกต่างศาสนา | avatar | (แอฟวะทาร์') n. อวตาร, การจุติลงมาเกิดของเทพในศาสนาพราหมณ์, ร่างอวตาร, ร่างที่แบ่งภาค | axiology | (แอคซิออล'โลจี) n. สาขาปรัชญาที่เกี่ยวกับคุณค่าต่าง ๆ ศีลธรรมจรรยา ความสวยงามและศาสนา. -axiological adj. -axiologist n. (branch of philosophy) | baccalaureate | (แบคคะลอ'รีเอท) n. บัณฑิตปริญญาตรี, พิธีศาสนาสำหรับบัณฑิตจบใหม่, คำสวดมนต์ในพิธีดังกล่าว | ban | (แบน) { banned, banning, bans } vt., n. ห้าม, ประกาศห้าม, สั่งห้าม, ขับออกนอกศาสนา, ประณาม, สาปแช่ง | baptism | (แบพ'ทิสซีม) n. วิธีจุ่มหรือพรมน้ำเพื่อล้างบาปในศาสนาคริสเตียน, See also: baptismal adj. | belief | (บิลีฟ') n. ความเชื่อ, ความเชื่อถือ, ศรัทธา, ข้อบัญญัติทางศาสนา, Syn. faith | benefice | (เบน'นิฟิส) n. ตำแหน่งที่มีรายได้, ตำแหน่งบาทหลวงที่มีเงินเดือน, ตำแหน่งพระสอนศาสนา, ที่ดินที่ให้ครอบครอง | biblical | (บิบ'บิเคิล) adj. เกี่ยวกับคัมภีร์ศาสนาคริสต์, Syn. biblical | blaspheme | (แบลสฟีม') { blasphemed, blaspheming, blasphemes } v. ดูหมิ่น, สบประมาท, กล่าวร้าย, ด่า , ดูหมิ่นศาสนา, See also: blasphemer n. ดูblaspheme | blasphemous | (แบลส'ฟิมัส) adj. adj. ซึ่งดูหมิ่น, ซึ่งสบประมาทหรือดูหมิ่นศาสนา, หยาบคาย, อัปมงคล | blasphemy | (แบลส'ฟะมี) n. การสบประมาท, การดูหมิ่น, การสบประมาทศาสนา, Syn. impiety | bonze | (บอนซ) n. พระจีนหรือพระญี่ปุ่น (พุทธศาสนา) | brahmanism | (บรา'มะนิสซึม) n. ระบบ พราหมณ์, ศาสนาพราหมณ์, Syn. Brahminism, Brahmanist, Brahminist n. | brahmin | (บรา'มิน) n., พราหมณ์, ผู้ที่มีความรู้และวัฒนธรรมสูง, ผู้มีความรู้ที่ชอบอยู่ห่าง ๆ -Brahminism n. ศาสนาพราหมณ์ | breviary | (บรี'วิเออรี่) n. หนังสือบทสวดมนต์และอธิษฐานทุกวันของศาสนาคาทอลิก, ใจความสำคัญ | broad church | n. ศาสนาประจำชาติของอังกฤษ | buddhism | (บูด'ดิซึม) n. ศาสนาพุทธ., See also: buddhist n. ชาวพุทธ buddhistic adj. เกี่ยวกับศาสนาพุทธ. | caliph | (แคล'ลิฟ) n. กาหลีบ, ผู้นำฝ่ายปกครองและศาสนาในประเทศอิสลาม, See also: caliphal adj. ดูcaliph, Syn. calif, kalif, khalif | candlemas | n. งานทางศาสนาคริสต์ | canon | (แคน'เนิน) n. วินัยศาสนา, ศีล, มาตรการ, หลักการ, คัมภีร์พระ, Syn. law | canon law | n. วินัยศาสนา (โดยเฉพาะของโรมันคาทอลิก), See also: canon-lawyer n. ดู canon law | canoness | (แคน'นะนิส) n. คริสเตียนหญิงที่ยึดถือวินัยศาสนา | canonic | (คะนอน'นิค, -เคิล) adj. เกี่ยวกับวินัยศาสนา, เป็นที่ยอมรับ, แท้จริง, เกี่ยวกับแบบที่ง่ายที่สุดหรือได้มาตรฐาน, See also: cannonicals n. เสื้อคลุมพิธีศาสนา, canonicity n. ดู canonic | canonical | (คะนอน'นิค, -เคิล) adj. เกี่ยวกับวินัยศาสนา, เป็นที่ยอมรับ, แท้จริง, เกี่ยวกับแบบที่ง่ายที่สุดหรือได้มาตรฐาน, See also: cannonicals n. เสื้อคลุมพิธีศาสนา, canonicity n. ดู canonic | canonicate | (แคน'นิสท) n. ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับวินัยศาสนา | celebrant | (เซล'ละบรันทฺ) n. ผู้ร่วมพิธีศาสนา, ผู้ร่วมการฉลอง, ผู้สรรเสริญคนที่ตายไปแล้ว | chapel | (แชพ'เพิล) n. โบสถ์เล็ก, พิธีทางศาสนา, โรงพิมพ์, ห้องในโรงพิมพ์, โรงสวด, ห้องสวดมนต์ในโรงเรียน, โรงพยาบาล | chaplain | (แชพ'เลน) n. อนุศาสนาจารย์, พระคริสเตียน, See also: chaplaincy, chaplainship, chaplainry n. | children of god | n. คริสต์ศาสนานิกายหนึ่งที่เคร่งครัดมีระเบียบวินัยมากและอยู่กันเป็นชุมชน | christening | (คริส'เซินนิง) n. พิธีชำระล้าง (baptism) ของศาสนาคริสต์, พิธีตั้งเรือและปล่อยเรือลงน้ำ, พิธีตั้งชื่อ | christian | (คริส'เชิน) adj. เกี่ยวกับพระเยซูคริสต์, เกี่ยวกับศาสนาคริสต์, เกี่ยวกับคริสเตียน, ถูกต้องตามจารีตประเพณี. -n. คริสเตียน, นับถือศาสนาคริสต์, Syn. of Christ, respectable | christian science) | n. ศาสนา (ตามพระคัมภีร์ไบเบิล) ที่สอนเกี่ยวกับการรักษาโรคโดยวิธีทางจิตริเริ่มโดยMary Baker Eddy | christianism | (คริส'ชันมิสซึม) n. พระคัมภีร์และพิธีของคริสต์ศาสนิกชน | christianity | (คริส'ชีแอน'นิที) n. ศาสนาคริสต์ (ทุกนิกาย) , คริสต์ศาสนิกชน, การเป็นคริสเตียน, โลกของคริสต์ศาสนิกชน, Syn. Christian religion | christology | (คริสทอล'โลจี) n. คริสต์ศาสนาวิทยา | church | (เชิร์ชฺ) { churched, churching, churchs } n. โบสถ์, วัด, ศาสนจักร, ฝ่ายศาสนจักร, การไปโบสถ์, การบวชเป็นพระ vt. นำเข้าประกอบพิธีศาสนาในโบสถ์. | church of england | n. ศาสนาคริสเตียนประจำชาติของอังกฤษ ไม่นับถือสันตะปาปาเป็นผู้นำศาสนา | churchism | (เชิร์ช'อิสซึม) n. ความเคร่งครัดในพิธีศาสนา |
| apostasy | (n) การปลีกตัวออกจากพวกพ้อง, การละทิ้งศาสนา | apostate | (n) ผู้ปลีกตัวจากพวกพ้อง, ผู้ละทิ้งศาสนา | apostle | (n) สาวก, ผู้เผยแพร่ศาสนา, ผู้เผยแพร่ลัทธิ | apostolic | (adj) เกี่ยวกับผู้เผยแพร่ศาสนา | bigot | (n) คนคลั่งศาสนา, คนหัวดื้อ, คนมีทิฐิมานะ, คนดันทุรัง | bigoted | (adj) คลั่งศาสนา, หัวดื้อ, หัวรั้น, มีทิฐิมานะ, ดันทุรัง | bigotry | (n) ความคลั่งศาสนา, ความดื้อรั้น, ความดันทุรัง | blaspheme | (vt) ดูหมิ่นศาสนา | blasphemous | (adj) ซึ่งดูหมิ่นศาสนา | blasphemy | (n) การดูหมิ่นศาสนา | Brahminism | (n) ศาสนาพราหมณ์ | Buddhism | (n) พุทธศาสนา, ศาสนาพุทธ | Buddhist | (n) พุทธศาสนิกชน, ชาวพุทธ, พุทธมามกะ | canon | (n) ศีล, วินัยศาสนา, ข้อบัญญัติศาสนา | canticle | (n) เพลงสวดในพิธีศาสนา | catechise | (vt) สอนศาสนาโดยวิธีถาม-ตอบ | catechism | (n) การสอนศาสนาโดยวิธีถาม-ตอบ | catechize | (vt) สอนศาสนาโดยวิธีถาม-ตอบ | Catholicism | (n) ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก | chant | (n) การร้องเพลงในศาสนา, การสวดมนต์ | chaplain | (n) พระคริสต์, อนุศาสนาจารย์ | christen | (vt) ทำพิธีเป็นคริสต์ศาสนิกชน, ทำพิธีศีลจุ่ม, ให้ชื่อ, ขนานนาม | Christendom | (n) คริสต์จักร, ศาสนาคริสต์ | Christian | (adj) เกี่ยวกับศาสนาคริสต์, เกี่ยวกับคริสเตียน | Christian | (n) คริสต์ศาสนิกชน, คริสเตียน, ชาวคริสต์ | Christianity | (n) ศาสนาคริสต์, คริสต์ศาสนิกชน | christianize | (vt) ทำให้เป็นคริสต์ศาสนิกชน, ทำให้เป็นคริสเตียน | church | (n) โบสถ์, ศาสนจักร, การสวดมนต์, การฟังเทศน์, การบวชเรียน | clergyman | (n) พระคริสต์, หมอสอนศาสนา, บาทหลวง, พระ, สาธุคุณ | communion | (n) กลุ่มคนที่นับถือศาสนาเดียวกัน, พิธีศีลมหาสนิท | consistory | (n) สภาศาสนา, ศาลศาสนา, คณะสงฆ์ | conversion | (n) การเปลี่ยนแปลง, การแปลงหนี้, การเปลี่ยนศาสนา, การแลกเปลี่ยน | convert | (vt) แปรผัน, เปลี่ยนแปลง, ทำให้เปลี่ยนศาสนา, แปลง, กลายเป็น | converter | (n) ผู้เปลี่ยนศาสนา, เตาหลอมเหล็ก | convertor | (n) ผู้เปลี่ยนศาสนา, เตาหลอมเหล็ก | convocation | (n) การชุมนุมทางศาสนา, การเรียกประชุม, ที่ประชุม, ความสนุกสนาน | creed | (n) ลัทธิ, หลักความเชื่อ, ข้อบัญญัติศาสนา | Crusade | (n) สงครามศาสนา, สงครามครูเสด | crusader | (n) ผู้ทำสงครามศาสนา | cult | (n) การบูชา, พิธีกรรมทางศาสนา | curate | (n) พระสอนศาสนา, ผู้บำบัดวิญญาณ | desecrate | (vt) ทำให้เสื่อมความศักดิ์สิทธิ์, ทำลายศาสนา, ดูหมิ่นศาสนา | desecration | (n) การทำให้เสื่อมความศักดิ์สิทธิ์, การทำลายศาสนา, การดูหมิ่นศาสนา | divinity | (n) ศาสนศาสตร์, พระเจ้า, เทพเจ้า, เทววิทยา, ความศักดิ์สิทธิ์ | doctrine | (n) หลักคำสอน, วินัย, ลัทธิ, ศาสนา | dogma | (n) กฎเกณฑ์, หลักเกฎท์, ความเชื่อ, คำสอน, ลัทธิศาสนา | ecclesiastic | (adj) เกี่ยวกับศาสนา, เกี่ยวกับพระ, เกี่ยวกับสงฆ์ | ecclesiastical | (adj) เกี่ยวกับศาสนา, เกี่ยวกับโบสถ์, เกี่ยวกับพระ, เกี่ยวกับสงฆ์, ของสงฆ์ | enthusiast | (n) คนที่กระตือรือร้น, คนที่มีศรัทธาอย่างแรงกล้า, ผู้คลั่งศาสนา | evangelism | (n) การสอนศาสนา, การเผยแพร่คำสอน, การเผยแพร่ศาสนา |
| Adam | [อาดัม] (n) อาดัม เป็นชื่อชายคนแรกของโลกที่พระเจ้าทรงสร้างมาตามความเชื่อของศาสนาคริสต | altarpiece | [อัลตาร์พีส] (n) ฉากแท่นบูชาที่อาจจะเป็นบานภาพพับ, ภาพเขียน, งานแกะสลักไม้ หรืองานสถาปัตยกรรมที่ตั้งเป็นฉากหลังแท่นบูชาในวัดคริสต์ศาสนา (Wikipedia.org) | Apostle | (n) อัครทูตในศาสนาคริสต์ มีอยู่ทั้งหมด 12 คน | cathedral | (n) วัดของคริสต์ศาสนาที่มีสังฆราช (bishop) เป็นประมุขและที่เป็นทีตั้งของ “อาสนะสังฆราช” (bishop's cathedra) เป็นสถานที่ทางศาสนาที่ใช้ในการสักการะบูชา (โดยเฉพาะสำหรับนิกายที่มีระบบฐานันดรการปกครองเช่นนิกาย นิกายโรมันคาทอลิก นิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์ นิกายอังกลิคัน และ นิกายลูเทอรัน มหาวิหารจะเป็นวัดที่เป็นที่นั่งของสังฆราช (วัดประจำตำแหน่ง) ที่ใช้เป็นศูนย์กลางของสังฆมณฑล (Diocese หรือ See) ที่อยู่ใต้การปกครองของสังฆราชที่กำหนดไว้ | chancel screen | [แชน-เซล-สครีน] (n) ฉากกางเขนเป็นฉากที่ใช้แบ่งบริเวณพิธีที่เป็นที่ตั้งของแท่นบูชาเอก จากบริเวณของฆราวาสที่เข้าร่วมพิธีในวัดคริสต์ศาสนาที่นิยมสร้างกันในยุคกลาง ฉากกางเขนอาจจะทำด้วยไม้, หิน หรือเหล็ดดัด ในยุุคกลางเหนือฉากอาจจะเป็นที่ตั้งของรูปแกะของพระเยซูบนกางเขนโดยมีนักบุญจอห์นและพระแม่มารีสองข้าง ซึ่งทำให้เป็นที่มาของการเรียกว่าฉากกางเขน (Wikipedia.org), See also: rood screen, Syn. choir screen | chancel screen | [แชน-เซล-สครีน] (n) ฉากกางเขนเป็นฉากที่ใช้แบ่งบริเวณพิธีที่เป็นที่ตั้งของแท่นบูชาเอก จากบริเวณของฆราวาสที่เข้าร่วมพิธีในวัดคริสต์ศาสนาที่นิยมสร้างในยุคกลาง ฉากกางเขนอาจจะทำด้วยไม้, หิน หรือเหล็ดดัด ในยุุคกลางเหนือฉากอาจจะเป็นที่ตั้งของรูปแกะของพระเยซูบนกางเขนโดยมีนักบุญจอห์นและพระแม่มารีสองข้าง ซึ่งทำให้เป็นที่มาของการเรียกว่าฉากกางเขน (Wikipedia.org), See also: rood screen, Syn. choir screen | church | (n) ศาสนจักร | cross | [ครอส] (n) ไม้กางเขน เป็นไม้กางเขน ที่ทหารโรมันตรึงพระเยซู ตามความเชื่อของศาสนาคริสต | east-west schism | [อีสต์ เวสต์ ชิส เซิม] (n) ความแตกแยกระหว่างคริสต์ศาสนจักรตะวันออกและตะวันตก. การแตกแยกระหว่างคริสต์ศาสนจักรเป็นสองสาขา: คริสต์ศาสนจักรตะวันออก (กรีก) และคริสต์ศาสนจักรตะวันตก (โรมัน) ที่ต่อมากลายเป็นนิกายอีสเติร์นออร์ธอด็อกซ์ และนิกายโรมันคาทอลิค (en.wikipedia.org/wiki/East-West_Schism) | Eve | [อิฟ] (n) เอวา ชื่อพู้หญิงคนแรกของโลก ที่พระเจ้า้้้้้้ทรงสร้างมา โดยกระดูกซิ่โครงของอาดัมตามความเชื่อของศาสนาคริสต | fundamentalist | [げんりしゅぎしゃ] (n) ผู้คนที่ยึดถือหลักความเชื่อดั้งเดิมของคริสต์ศาสนา | Goddism | (n) ศาสนาที่รักเทิดทูน, ศาสนาเเห่งความรักของพระเจ้ากับมนุษยชาติ, ลัทธิความเชื่อที่เกี่ยวกับความรักของพระเจ้า | hierarchy of genres | [ไฮ-รา-คี-ออฟ-เจ็น-เรส] (n) การจัดลำดับคุณค่าของศิลปะ เป็นทฤษฎีการจัดประเภทของศิลปะ (genre) ตามระดับความสำคัญที่ระบุไว้เช่นในการจัดของสมาคมศิลปะแห่งฟลอเรนซ์ และในคริสต์ศตวรรษที่ 17 โดยอังเดร เฟลิเบียงแห่งสถาบันศิลปะฝรั่งเศสที่ลำดับเป็นห้าลำดับ: ภาพประวัติศาสตร์และศาสนา, ภาพเหมือน, ภาพชีวิตประจำวัน, ภาพภูมิทัศน์ และภาพนิ่ง (Source: visual-arts-cork.com) | His Eminence | (pron) พระคุณเจ้า เป็นคำสรรพนามสำหรับเรียกพระสงฆ์มีสมณศักดิ์ในศาสนาคริสต์ | His Grand Eminence | (jargon) พระคุณเจ้าสูงสุด เป็นคำสรรพนามสำหรับเรียกพระสงฆ์มีสมณศักดิ์ชั้นพิเศษในศาสนาคริสต์ | history painting | [ฮิส-ตรี-เพ้น-ทิง] (n) จิตรกรรมประวัติศาสตร์ เป็นประเภทของจิตรกรรม (genre) ที่เป็นจิตรกรรมเป็นภาพเขียนของเนื้อหาจากประวัติศาสตร์กรีกและโรมัน, ประวัติศาสตร์คริสต์ศาสนา และตำนานเทพ/ปรัมปราวิทยา และรวมทั้งเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นเมื่อไม่นานก่อนที่งานจะเขียน (Source: wikipedia.org) | Lazarus | [ลาซารัส] (n) นักบุญลาซารัส หรือ นักบุญลาซารัสแห่งเบทธานีเป็นนักบุญในคริสต์ศาสนาของคริสต์ศตวรรที่ 1 ผู้เป็นพี่น้องกับนักบุญแมรี แม็กดาเลน และเป็นผู้ได้รับการชุบชีวิตโดยพระเยซู (Wikepedia.org), See also: Lazarus of Bethany, Syn. Saint Lazarus | lifesaver | [ชีบ-พะ-รัก-สิก] lifesaver [ 1 ] - (N) - ชีพรักษิก คำอ่าน :: ชีบ-พะ-รัก-สิก คำขยาย :: อิก (สระ อิ + ก ไก่) หมายถึง คน หรือ ผู้(ที่เป็น) เช่น สถาปนิก สมาชิก ศาสนิก ปาราชิก ความหมาย :: อาสาสมัครที่ได้เรียนรู้ และได้รับการฝึกอบรมทักษะการว่ายน้ำ การปฐมพยาบาล การกู้ชีพ กู้ภัยทางน้ำ เบื้องต้น แต่ไมได้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพดูแลความปลอดภัยทางน้ำ โดยตรง, See also: Lifesaving, Lifeguard | Lucifer | [ลูซิเฟอร] (n) ลูซีเฟอร หรือซาตาน เป็นคนที่ก่อเหตชั่วร้ายให้กับมนุษย์ เป็นบิคาแห่งความชั่ว ตามความเชื่อศาสนาคริสต มันมีหลายชื่อ เช่น ดาวประจำกลางวัน มาร พญามาร งูดึกดำบรรณ ซาตาน | overlapping territorial claims area | (n) พื้นที่ทับซ้อน, พื้นที่ทางบกหรือทางทะเลซึ่งมีประเทศมากกว่า ๑ ประเทศ อ้างสิทธิ์เหนือพื้นที่ดังกล่าว เนื่องจากปัจจัยต่าง ๆ เช่น ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ สงคราม ความเชื่อทางศาสนา ที่ตั้งของชุมชนทางชาติพันธุ์หรือชนกลุ่มน้อย หรือผลประโยชน์แห่งรัฐ เช่น พื้นที่บริเวณปราสาทพระวิหารที่มีปัญหาการอ้างสิทธิ์เหนือพื้นที่ดังกล่าว ระหว่างประเทศไทยกับประเทศกัมพูชา. หมู่เกาะสแปรตลีที่เป็นพื้นที่ทับซ้อน มีหลายประเทศต่างอ้างสิทธิเหนือหมู่เกาะทั้งหมดหรือบางส่วนของหมู่เกาะ ได้แก่ จีน เวียดนาม ฟิลิปปินส์ ไต้หวัน บูรไน และ มาเลเซีย | pastor | [พาส เตอร์] (n) ศาสนนาจารย์ ประจำโบสถ์ในคริสเตียน | persecution | (n) การไล่ทำร้ายและสังหาร เช่นการไล่ทำร้ายและสังหารชาวยิว หรือการไล่ทำร้ายและสังหารผู้นับถือคริสต์ศาสนาในสมัยคริสเตียนยุคแรก | prejudice | (n) ความรู้สึกไม่ชอบโดยไม่มีเหตุผล (โดยมากมักเกี่ยวข้องกับ เชื้อชาติ, ศาสนา, สีผิว ฯลฯ), อคติ | priest | (n) ปุโรหิต (เป็นตำแหน่งหนึ่งของฐานะปุโรหิตที่แต่งตั้งให้ผู้ชายและเป็นส่วนประกอบหนึ่งของฐานะปุโรหิตแห่งอาโรน ส่วนใหญ่ใช้ในศาสนามอรมอน), See also: Priesthood Mormon | priesthood | (n) ฐานะปุโรหิต(ตำแหน่งทางศาสนาใช้สำหรับผู้ชายในศาสนามอรมอนเท่านั้น), Syn. priest | rood screen | [รูด สครีน] (n) ฉากกางเขนเป็นฉากที่ใช้แบ่งบริเวณพิธีที่เป็นที่ตั้งของแท่นบูชาเอกจากบริเวณของฆราวาสที่เข้าร่วมพิธีในวัดคริสต์ศาสนา ที่นิยมสร้างกันในยุคกลาง ฉากกางเขนอาจจะทำด้วยไม้, หิน หรือเหล็ดดัด ในยุุคกลางเหนือฉากอาจจะเป็นที่ตั้งของรูปแกะสลักของพระเยซูบนกางเขนโดยมีนักบุญจอห์นและพระแม่มารีสองข้าง ซึ่งทำให้เป็นที่มาของการเรียกว่าฉากกางเขน (Wikipedia.org), See also: choir screen, chancel screen | triptych | [ทริพ-ติค] (n) บานภาพพับที่แบ่งเป็นสามแผงที่เป็นศิลปะที่นิยมสร้างกันในศิลปะยุคกอธิคของศิลปะตะวันตก และมักจะใช้เป็นฉากแท่นบูชาในวัดคริสต์ศาสนา หรือถ้ามีขนาดเล็กก็อาจจะใช้ในชาเปลส่วนตัว (Wikipedia.org), See also: diptych, polyptych, altarpiece | Vaishnavism | (n) ไวษณพนิกาย, ลัทธิไวษณพ, นิกายในศาสนาฮินดูที่นับถือพระวิษณุเป็นพระเจ้าสูงสุด | Vaishnavism | (n) ไวษณพนิกาย, ลัทธิไวษณพ, นิกายในศาสนาฮินดูที่นับถือพระวิษณุเป็นพระเจ้าสูงสุด | vigil | (n) พิธีสวดภาวนา ทางคริสตศาสนา | ทุกขอริยสัจ | [ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4 | ทุกขอริยสัจ | [ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4 | ทุกขอริยสัจ | [ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4 | ทุกขอริยสัจ | [ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4 | ปรัตถะ | (n) ประโยชน์เพื่อคนอื่น, ประโยชน์ผู้อื่น มาจากพจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตโต) หน้า 152 |
| イスラム教 | [いすらむきょう, isuramukyou] (n) ศาสนาอิสลาม | キリスト教 | [キリストきょう, kirisuto kyou] (n) คริสตศาสนา | ヒンズー教 | [ひんずーきょう, hinzu-kyou] (n) ศาสนาฮินดู | 一神教 | [いっしんきょう, isshinkyou] (n) ศาสนาประเภทเอกเทวนิยม (นับถือพระเจ้าองค์เดียว) | 仏教 | [ぶっきょう, bukkyou] (n) พระพุทธศาสนา | 伝道師 | [でんどうし, dendoushi] (n) นักประกาศ (ศาสนาคริสต์) | 多神教 | [たしんきょう, tashinkyou] (n) ศาสนาประเภทพหุเทวนิยม (นับถือพระเจ้าหลายองค์) | 宗教 | [しゅうきょう, shuukyou] (n) ศาสนา | 寺 | [てら, tera] (n) วัดของศาสนาพุทธ | 寺院 | [じんいん, jin'in] (n) วัด(ในพุทธศาสนา) | 牧師 | [ぼくし, bokushi] (n) บาทหลวง, ผู้สอนศาสนา | 礼拝する | [れいはいする, reihaisuru] นมัสการ (สำหรับศาสนาคริสต์) | 礼拝堂 | [れいはいどう, reihaidou] สถานที่นมัสการทางศาสนา, คริสต์จักรหรือโบสถ์ในศาสนาคริสต์ | 神社 | [じんじゃ, jinja] (n) วัดของศาสนาชินโต | 行政学 | [ぎょうせいがく, gyouseigaku] (n) รัฐประศาสนศาสตร์, บริหารรัฐกิจ | 釈義 | [しゃくぎ, shakugi] หนังสืออธิบายพระคัมภีร์ของศาสนาต่างๆ, Syn. 訢詁 |
| 訢詁 | [くアぢ, ku a ji] (n) หนังสืออธิบายพระคัมภีร์ในศาสนาต่างๆ (exegesis), See also: S. 釈義 | 三昧 | [さんまい, sanmai] (n) สมาธิ (คำว่า สัมไม เป็นคำศัพท์ทางศาสนาที่ได้รับอิทธิพลมาจากภาษาบาลีสันสกฤตของอินเดียอย่างเดียวกับที่ภาษาไทยใช้ ที่อินเดียจะออกเสียงว่า สะ-มา-ดิ๊) | 智慧 | [ちえ, chie] (n) ปัญญา (คำว่า จิเอ เป็นศัพท์ทางศาสนาตรงกับคำว่าปัญญา), See also: R. 三昧 | 準備 | [じゅんび, junbi] (n) (เพรพพะเร'เชิน) n. การเตรียม, การเตรียมการ, วิธีการเตรียมการ, สิ่งที่เตรียม, ตัวอย่างสำหรับตรวจ วินิจฉัยหรืออื่น ๆ , (พระคัมภีร์ไบเบิล) วันก่อนวันSabbath, the Preparation บทสวดมนต์น้ำในพิธีศาสนาหรือ Mass (ดู) | 法華経 | [ほけきょう, hokekyou] (n) สัทธรรมปุณฑรีกสูตร The Lotus Sutra คัมภีร์ของพุทธศาสนานิกายมหายาน มี 28 บท |
| Kirche | (n) |die, pl. Kirchen| โบสถ์ทางศาสนาคริสต์ | Christentum | (n) |das, nur Sg.| ศาสนาคริสต์ | Buddhismus | (n) |der, nur Sg.| ศาสนาพุทธ | Glaubensfreiheit | (n) |die| การมีอิสระในการเชื่อ หรือ นับถือศาสนา | sakral | (adj) ที่มาจากเหตุผลทางศาสนา, ที่มีจุดมุ่งหมายทางศาสนา เช่น ein sakraler Gesang, See also: A. weltlich, profan, Syn. heilig | prägen | (vt) |prägte, hat geprägt| มีอิทธิพลอย่างมาก เช่น Die Menschen und das Leben in Thailand sind stark vom Bhuddismus geprägt. ผู้คนและชีวิตในเมืองไทยได้รับอิทธิพลอย่างมากจากศาสนาพุทธ, Syn. beeinflussen | Koran | (n) |der, nur Sg.| คัมภีร์กุรอ่าน, คัมภีร์โกหร่านของศาสนาอิสลาม | Ostern | (n, uniq) |das, pl. Ostern, ส่วนใหญ่ใช้เป็น Pl.| เทศกาลอีสเตอร์ มีความสำคัญทางศาสนาคริสต์ กล่าวคือ เป็นเทศกาลที่ชาวคริสต์ระลึกถึงการฟื้นคืนชีพของพระเยซู นอกจากนี้ Ostern ยังจัดเป็นเทศกาลฉลองความเขียวชอุ่มและความอุดุมสมบูรณ์ที่ฤดูใบไม้ผลินำมาด้วย | Schöpfung | (n) |die| การก่อเกิดของสิ่งมีชีวิต(เชิงศาสนา) | Ordination | (n) |die, pl. Ordinationen| การบวชเป็นพระทางศาสนาพุทธ เช่น Er konnte erst mit zwanzig Jahren die volle Ordination empfangen., See also: die Priesterweihe, die Primiz | Kaste | (n) |die, pl. Kasten| วรรณะในศาสนาฮินดู, ชนชั้นวรรณะ เช่น Diese Menschen standen noch unterhalb der untersten Kaste. | Papst | (n) |der| พระสังฆราชในศาสนาคริสต์ เช่น Papst Benedikt XVI. hat die universelle Vorrangstellung der katholischen Kirche bekräftigt und damit einen Sturm der Entrüstung entfacht. |
| torah | (n) หนังสือเบญจบรรณ หรือหนังสือโทราห์ เป็นชื่อเรียกหนังสือ 5 เล่มแรกของพระคริสต์ธรรมคัมภีร์ ซึ่งเป็นจุดศูนย์กลางของหลักข้อเชื่อศาสนายิว, See also: The Old Testament, Syn. Pentateuch |
| éxgèse | (n) หนังสืออธิบายพระคัมภีร์ของศาสนาต่างๆ อย่างเช่น พระคริสต์ธรรมคัมภีร์ หนังสือเบญจบรรณ พระคัมภีร์อัลกุรอ่าน พระไตรปิฏก หรือคัมภีร์พระเวท เป็นต้น |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |