ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: นิติ, -นิติ- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ |
| นิติ | (n) law, See also: rule, regulation, Syn. กฎหมาย, กฎปฏิบัติ, Example: น้องของเขาเรียนนิติอยู่ที่ธรรมศาสตร์ปี 4 แล้ว, Count Unit: วิชา, Notes: (บาลี) | นิติเวช | (n) forensic laboratory, Example: เจ้าหน้าที่ได้ส่งศพของจ่าฤทธิ์ไปยังนิติเวช โรงพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี | โดยนิตินัย | (adv) legally, See also: lawfully, according to the law, Syn. ตามกฎหมาย, Example: เขาเป็นสามีของเธอโดยนิตินัย | ตำหนิติเตียน | (v) reprimand, See also: blame, reprove, reproach, rebuke, condemn, censure, Syn. ติเตียน, ตำหนิ, ว่ากล่าว, Ant. สรรเสริญ, ชมเชย, Example: เขาตำหนิติเตียนรัฐบาลด้วยถ้อยคำอันแหลมคม ในคอลัมน์ของเขา, Thai Definition: ว่ากล่าวตักเตือน, ยกโทษขึ้นพูด | คณะนิติศาสตร์ | (n) Faculty of Law, Example: คณะนิติศาสตร์จะเริ่มนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานระบบข้อมูลด้านกฎหมายอย่างเต็มที่เร็วๆ นี้, Count Unit: คณะ, Thai Definition: ภาควิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องกฎหมาย | บรรลุนิติภาวะ | (v) become one's legal age, See also: reach the one's majority, Example: เขายังไม่บรรลุนิติภาวะเลยต้องให้ฝ่ายมารดาเป็นผู้ดูแล, Thai Definition: มีอายุถึงกำหนดที่กฎหมายให้พ้นจากภาวะผู้เยาว์และให้มีความสามารถใช้สิทธิตามกฎหมายได้ด้วยตนเอง เช่น บุคคลย่อมพ้นจากภาวะผู้เยาว์และบรรลุนิติภาวะเมื่อมีอายุ 20 ปีบริบูรณ์ หรือโดยการสมรสเมื่อชายและหญิงมีอายุ 17 ปีบริบูรณ์แล้ว | สภานิติบัญญัติ | (n) legislative assembly, See also: legislature, Example: เกษตรกรไม่เชื่อว่าร่างที่ผ่านสภานิติบัญญัติจะให้ประโยชน์สูงสุดแก่พวกเขา, Thai Definition: สภาซึ่งมีหน้าที่และบัญญัติเรื่องกฎหมายและพระราชบัญญัติ | นิติศาสตรบัณฑิต | (n) Bachelor of Laws, See also: LL.B., Syn. น.บ. | อำนาจนิติบัญญัติ | (n) legislative power, Example: หลักการแยกหน้าที่กันระหว่างส.ส. ผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติออกจากรัฐมนตรีผู้ใช้อำนาจบริหารนั้น เป็นหลักการที่มีเหตุผลทางวิชาการ, Notes: (กฎหมาย) | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | (n) Master of Laws, See also: LL.M., Syn. น.ม. | นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต | (n) Doctor of Laws, See also: LL.D., Syn. น.ด. |
| ดอกผลนิตินัย | น. ทรัพย์หรือประโยชน์อย่างอื่นที่ได้มาเป็นครั้งคราวแก่เจ้าของทรัพย์จากผู้อื่นเพื่อการที่ได้ใช้ทรัพย์นั้น และสามารถคำนวณและถือเอาได้เป็นรายวันหรือตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ เช่น ดอกเบี้ย กำไร ค่าเช่า เงินปันผล. | นิติ | (นิ-ติ, นิด) น. นีติ, กฎหมาย, กฎปฏิบัติ, แบบแผน, เยี่ยงอย่าง, ขนบธรรมเนียม, ประเพณี, วิธีปกครอง, เครื่องแนะนำ, อุบายอันดี. | นิติกร | น. ชื่อตำแหน่งผู้มีหน้าที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับกฎหมาย. | นิติกรณ์ | น. การรับรองของเจ้าพนักงานว่าเป็นตราสารที่ถูกต้องตามกฎหมาย. | นิติกรรม | น. การใด ๆ อันทำลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัคร มุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ. | นิติกรรมอำพราง | น. นิติกรรมอันหนึ่งที่ทำขึ้นด้วยเจตนาลวง เพื่อปิดบังนิติกรรมอีกอันหนึ่งที่ทำขึ้นด้วยเจตนาอันแท้จริง ซึ่งกฎหมายให้บังคับตามกฎหมายเกี่ยวกับนิติกรรมที่ถูกอำพรางนั้น. | นิติการ | น. สายงานที่มีหน้าที่ปฏิบัติงานทางกฎหมาย. | นิติการณ์ | น. เหตุการณ์หรือการเป็นไป ซึ่งมีผลตามกฎหมาย, ปัจจุบันใช้ว่า นิติเหตุ. | นิติธรรม | น. หลักพื้นฐานแห่งกฎหมายที่บุคคลทุกคนต้องอยู่ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายอย่างเท่าเทียมกัน (อ. rule of law). | นิตินัย | น. แง่มุมและผลในทางกฎหมาย (ล. de jure), ต่างกับ พฤตินัย คือ แง่มุมในทางความเป็นจริง (ล. de facto). | นิติบัญญัติ | น. กระบวนการในการตรากฎหมาย. | นิติบุคคล | น. บุคคลซึ่งจัดตั้งขึ้นโดยกฎหมายหรือตามกฎหมายแยกต่างหากจากบุคคลธรรมดา โดยมีสิทธิและหน้าที่เช่นเดียวกับบุคคลธรรมดา เว้นแต่สิทธิและหน้าที่ซึ่งโดยสภาพจะพึงมีพึงเป็นได้เฉพาะแก่บุคคลธรรมดาเท่านั้น เช่น กระทรวง ทบวง กรม บริษัทจำกัด สมาคม มูลนิธิ. | นิติภาวะ | น. ความมีความสามารถใช้สิทธิตามกฎหมายโดยสมบูรณ์ได้ด้วยตนเอง. (ดู บรรลุนิติภาวะ ประกอบ). | นิติวิทยาศาสตร์ | น. วิชาที่ว่าด้วยการนำหลักวิทยาศาสตร์สาขาต่าง ๆ มาประยุกต์เพื่อแก้ปัญหาทางกฎหมาย และการพิสูจน์ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับคดีความ. | นิติเวชศาสตร์ | น. วิชาที่ว่าด้วยการใช้หลักทางการแพทย์ช่วยแก้ปัญหาทางกฎหมาย และการพิสูจน์ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับคดีความ. | นิติศาสตร์ | น. วิชากฎหมาย. | นิติสมมติ | น. ความที่สมมุติขึ้นในกฎหมาย. | นิติสัมพันธ์ | น. ความเกี่ยวพันทางกฎหมาย. | นิติเหตุ | น. เหตุที่เกิดขึ้นซึ่งมีผลในทางกฎหมายอันมิใช่นิติกรรม เช่น การละเมิด, โบราณใช้ว่า นิติการณ์. | บรรลุนิติภาวะ | ก. มีอายุถึงกำหนดที่กฎหมายให้พ้นจากภาวะความเป็นผู้เยาว์และให้มีความสามารถใช้สิทธิตามกฎหมายทั้งปวงได้โดยสมบูรณ์ด้วยตนเอง โดยกฎหมายกำหนดให้บุคคลพ้นจากภาวะผู้เยาว์และบรรลุนิติภาวะเมื่อมีอายุ ๒๐ ปีบริบูรณ์ หรือเมื่อผู้เยาว์ทำการสมรสโดยชอบด้วยกฎหมาย. | บุคคลนิติสมมติ | (บุกคนนิติสมมด) น. นิติบุคคล. | ผู้แทนของนิติบุคคล | น. บุคคลธรรมดาคนเดียวหรือหลายคนตามที่กฎหมาย ข้อบังคับ หรือตราสารจัดตั้งได้กำหนดไว้ให้เป็นผู้แสดงออกถึงเจตนาของนิติบุคคล. | ภูมิลำเนาของนิติบุคคล | น. ถิ่นอันเป็นที่ตั้งสำนักงานใหญ่หรือถิ่นอันเป็นที่ตั้งที่ทำการ หรือถิ่นที่ได้เลือกเอาเป็นภูมิลำเนาเฉพาะการตามข้อบังคับหรือตราสารจัดตั้งนิติบุคคลนั้น. | กฎหมายแพ่ง | น. กฎหมายที่วางระเบียบความเกี่ยวพันระหว่างบุคคลเกี่ยวกับสถานภาพ สิทธิ และหน้าที่ของบุคคลตามกฎหมาย เช่น กฎหมายว่าด้วยนิติกรรม ละเมิด ทรัพย์สิน ครอบครัว มรดก. | กบฏ | เป็นฐานความผิดอาญา ที่เกี่ยวกับการล้มล้างรัฐธรรมนูญ อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร อำนาจตุลาการ และการแบ่งแยกราชอาณาจักรหรือยึดอำนาจปกครอง. | กรม ๓ | ส่วนราชการในราชการบริหารส่วนกลาง ในระดับรองจากกระทรวงและทบวง ที่มีฐานะเป็นนิติบุคคล | กระทด | ว. คด, ไม่ตรง, เช่น คอกระทดคดคอดหยัก รวดท้าย (ตำราช้างคำโคลง), ไม้กระทดกระทำทอน ทุกที่ กงนา (โลกนิติ). | กระทรวง ๒ | (-ซวง) น. ส่วนราชการสูงสุดของราชการบริหารส่วนกลางมีฐานะเป็นนิติบุคคล มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเป็นหัวหน้า | กระทู้ถาม | น. คำถามในข้อเท็จจริงหรือนโยบายที่สมาชิกสภาที่ทำหน้าที่นิติบัญญัติตั้งถามฝ่ายบริหารให้ตอบในที่ประชุมแห่งสภานั้น ๆ หรือตอบเป็นหนังสือ. | กระเหว่า | (-เหฺว่า) น. นกดุเหว่า เช่น กระเหว่าเสียงเพราะแท้ แก่ตัว (โลกนิติ), กาเหว่า ก็ว่า. (ดู ดุเหว่า). | กฤตยา ๒, กฤติยา | (กฺริดตะ-, กฺริดติ-) น. เสน่ห์, อาถรรพณ์, เช่น มนตร์กฤตยานั้นซั้น เสื่อมสิ้นทุกอัน (โลกนิติ), หาแม่มดถ้วนหน้า หมู่แก้ กฤติยา (ลอ). | กลฉ้อฉล | (กน-) น. การใช้อุบายหลอกลวงด้วยการแสดงข้อความอันเป็นเท็จ หรือการจงใจปิดบังซ่อนเร้นข้อความจริงเพื่อให้ผู้อื่นหลงผิดจนเข้าทำนิติกรรม หรือจนคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งยอมรับข้อกำหนดอันเป็นภาระอันหนักขึ้นกว่าที่คู่กรณีฝ่ายนั้นจะยอมรับโดยปรกติ. | กลบกล้ำ | (-กฺล้ำ) ก. ลบล้าง เช่น มีโทษอันหนึ่งไซร้ กลบกล้ำพันคุณ (โลกนิติ). | กล้ำแกล่ | ก. กลืน, กิน, เช่น คือดั่งปากเว้นกลํ้า แกล่เหมี้ยงหมากพลู (โลกนิติ). | ก่อมก้อ | ว. ค่อม, เตี้ย, เช่น มีเจ่งตาบอดพลาย ก่อมก้อ (โลกนิติ). | กะพ้อ ๒ | น. ชื่อปาล์มขนาดย่อมในสกุล Licuala วงศ์ Palmae มีหลายชนิด เช่น ชนิด L. spinosa Thunb. มักขึ้นเป็นกออยู่ริมทะเล หรือในที่ซึ่งนํ้าเค็มขึ้นถึง ลำต้นสูงถึง ๔ เมตร ใบกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง ๖๐-๑๑๐ เซนติเมตร เว้าเป็นแฉกลึก ก้านใบยาว ขอบก้านมีหนาม, ชนิด L. peltata Roxb. ขึ้นตามป่าดอนในที่ชุ่มชื้นและที่แฉะ ลักษณะคล้ายชนิดแรก แต่ก้านใบลํ้าอยู่ใต้โคนใบ ทั้ง ๒ ชนิดใบใช้ห่อทำไต้ ห่อของ เย็บเป็นร่ม มุงหลังคาชั่วคราว ใบอ่อนใช้มวนบุหรี่, กะชิง ก็เรียก, ปักษ์ใต้เรียก ชิง หรือ ชิ่ง, ปาล์มพวกนี้เรียก พ้อ ก็มี เช่น ใบพ้อพันห่อหุ้ม กฤษณา (โลกนิติ). | กัทลี | (กัดทะลี) น. กล้วย เช่น คิดพ่างผลกัทลี ฆ่ากล้วย (โลกนิติ). | ก้าน ๒ | น. ก่าน, กล้า, เช่น รู้ไป่ทันแก่ก้าน กล่าวถ้อยกลางสนาม (โลกนิติ). | การเปิดอภิปรายทั่วไป | น. กลไกที่ฝ่ายนิติบัญญัติใช้ควบคุมฝ่ายบริหาร เช่น การเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรี หรือฝ่ายบริหารจะรับฟังความคิดเห็นของฝ่ายนิติบัญญัติ เช่น การเปิดอภิปรายทั่วไปที่คณะรัฐมนตรีร้องขอให้มีขึ้นเพื่อรับฟังความคิดเห็นเรื่องใดเรื่องหนึ่งจากสมาชิกสภา. | กุณฑี | (-ที) น. คนที, หม้อนํ้า, หม้อนํ้ามีหู, เต้านํ้า, เช่น พลูกัดชลกุณฑี ลูกไม้ (โลกนิติ). | เกลียง | (เกฺลียง) น. หญ้า เช่น เกลียงอ่อนห่อนโคลด ละไว้ (โลกนิติ). | เกี้ยว ๑ | ก. รัด, พันแน่น, ติดแน่น, เช่น เพราะประพฤติมันเกี้ยว เกี่ยงร้ายแกมดี (โลกนิติ) | แกล่ | (แกฺล่) ว. ใกล้, เกือบ, เช่น สามลักษณะนี้ใกล้ แกล่แม้นไป่มี (โลกนิติ). | โกญจ- , โกญจา | (โกนจะ-) น. นกกระเรียน เช่น แขกเต้าดุเหว่าแก้ว โกญจา (โลกนิติ). | ขบ ๑ | กัด เช่น หมาใดตัวร้ายขบ บาทา (โลกนิติ) | ขุก ๑ | ก. คิดขึ้นได้ทันที, เกิดขึ้นในปัจจุบันทันด่วน, เช่น อาวุธอย่าวางไกล ขุกคํ่า คืนแฮ (โลกนิติ). | เขตเลือกตั้ง | น. ท้องที่ที่กำหนดเป็นเขตสำหรับจัดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาที่ทำหน้าที่นิติบัญญัติหรือผู้บริหารท้องถิ่น. | คณ-, คณะ | หน่วยงานในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันที่เทียบเท่าซึ่งรวมภาควิชาต่าง ๆ ที่จัดการเรียนการสอนวิชาในสายเดียวกัน เช่น คณะนิติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ | คฤหา | น. เรือน เช่น มักเที่ยวสู่คฤหา แห่งท่าน นะพ่อ (โลกนิติ). | คละคลุ้ง | (-คฺลุ้ง) ก. คลุ้ง, เหม็นคล้ายกลิ่นของเค็มปนกับของเน่า, เช่น ใบก็เหม็นคาวปลา คละคลุ้ง (โลกนิติ). |
| Parliament, legislative supremacy of | อำนาจสูงสุดทางนิติบัญญัติของรัฐสภา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | parliamentary committee | คณะกรรมาธิการของสภา (นิติบัญญัติ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | power, investigative | อำนาจสืบสวน (ของสภานิติบัญญัติ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | power, legislative | อำนาจนิติบัญญัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | pharmaceutical jurisprudence | เภสัชนิติศาสตร์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | psychiatry, forensic | นิติจิตเวชศาสตร์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | psychiatry, forensic | นิติจิตเวชศาสตร์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | person, juristic; person, legal | นิติบุคคล [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | person, legal; person, juristic | นิติบุคคล [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | personality, legal | สภาพนิติบุคคล [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | privilege, breach of | การละเมิดเอกสิทธิ์ (ของฝ่ายนิติบัญญัติ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | legal medicine | นิติเวชศาสตร์ [ ดู forensic medicine และ medical jurisprudence ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | legal medicine | นิติเวชศาสตร์ [ ดู forensic medicine และ medical jurisprudence ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legal person | นิติบุคคล [ ดู juristic person ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | legal person | นิติบุคคล [ ดู juristic person ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legal personality | สภาพนิติบุคคล [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | legal personality | สภาพนิติบุคคล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legal relation | นิติสัมพันธ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | lex loci actus (L.) | กฎหมายแห่งถิ่นที่ทำนิติกรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legal medicine; medicine, forensic | นิติเวชศาสตร์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | legal death | การตายโดยนิตินัย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | law, rule of | หลักนิติธรรม, หลักบังคับแห่งกฎหมาย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | law, rule of | หลักบังคับแห่งกฎหมาย, หลักนิติธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | lawful age | อายุที่บรรลุนิติภาวะ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legal ubiquity | การสถิตอยู่ทั่วไปโดยนิตินัย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legislative power | อำนาจนิติบัญญัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | legislative power | อำนาจนิติบัญญัติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legislative supremacy | อำนาจสูงสุดของฝ่ายนิติบัญญัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | legislative veto | การยับยั้งของฝ่ายนิติบัญญัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Legislative, the | ฝ่ายนิติบัญญัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | legislator | ผู้บัญญัติกฎหมาย, สมาชิกสภานิติบัญญัติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legislature | สภานิติบัญญัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | legislature | สภานิติบัญญัติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legistative supremacy of Parliament | อำนาจสูงสุดทางนิติบัญญัติของรัฐสภา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legitimacy | ๑. ความชอบธรรม๒. นิติธรรม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | legal cause | นิติเหตุ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legal fiction | นิติสมมุติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | legal fiction | เรื่องสมมุติทางกฎหมาย, นิติสมมติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legal fruit | ดอกผลนิตินัย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legal sense | นิตินัย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legislative council | คณะกรรมการที่ปรึกษาฝ่ายนิติบัญญัติ (อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legislative counsel | ที่ปรึกษาฝ่ายนิติบัญญัติ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | legislative court | ศาลฝ่ายนิติบัญญัติ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | legislative court | ศาลฝ่ายนิติบัญญัติ (อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legislative day | ๑. วันในสมัยประชุมสภานิติบัญญัติ๒. วันประชุมสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | legislative function | อำนาจหน้าที่ทางนิติบัญญัติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legislative immunity | ความคุ้มกันฝ่ายนิติบัญญัติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legislative investigation | การสืบสวนทางนิติบัญญัติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legislative jurisdiction | เขตอำนาจของฝ่ายนิติบัญญัติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legislative act | บทบัญญัติที่ออกโดยผ่านสภานิติบัญญัติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Corporate heading (Cataloging) | รายการนิติบุคคล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Corporation tax | ภาษีเงนิได้นิติบุคคล [เศรษฐศาสตร์] | Forensic psychiatry | นิติจิตเวชศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Medical jurisprudence | นิติเวชวิทยา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Chain principle | การครอบงำกิจการผ่านนิติบุคคลอื่น, Example: กรณีที่ถือว่าเป็นการเข้าครอบงำกิจการผ่านนิติบุคคลอื่นซึ่งทำให้ต้องทำคำเสนอซื้อ คือ การได้หุ้นหรือมีอำนาจควบคุม ตั้งแต่ 50% ในนิติบุคคลอื่น รวมถึงการส่งบุคคลเข้าไปเป็นกรรมการในจำนวนที่มีนัยสำคัญ และนิติบุคคลอื่นทุกทอดจนถึงทอดสุดท้ายที่ถือหุ้นในกิจการรวมกับบุคคลตามมาตรา 258 ของนิติบุคคลดังกล่าวถือหุ้นในกิจการ ตั้งแต่ 25% [ตลาดทุน] | Annulment | การบอกล้าง, การบอกล้าง (นิติกรรม) [TU Subject Heading] | Corporate headings (Cataloging) | รายการนิติบุคคล (การทำรายการ) [TU Subject Heading] | Criminal liability of juristic persons | ความรับผิดทางอาญาของนิติบุคคล [TU Subject Heading] | Forensic accounting | การบัญชีนิติเวชศาสตร์ [TU Subject Heading] | Forensic dentistry | นิติทันตวิทยา [TU Subject Heading] | Forensic medicine | นิติเวชศาสตร์ [TU Subject Heading] | Forensic pathology | นิติพยาธิวิทยา [TU Subject Heading] | Forensic psychiatry | นิติจิตเวชศาสตร์ [TU Subject Heading] | Forensic sciences | นิติวิทยาศาสตร์ [TU Subject Heading] | Incorporation | การก่อตั้งนิติบุคคล [TU Subject Heading] | Juristic acts | นิติกรรม [TU Subject Heading] | Juristic persons | นิติบุคคล [TU Subject Heading] | Legislative bodies | องค์กรนิติบัญญัติ [TU Subject Heading] | Legislative power | อำนาจนิติบัญญัติ [TU Subject Heading] | Parliamentary practice | กฎและระเบียบปฏิบัติทางการนิติบัญญัติ [TU Subject Heading] | Prevarication (Law) | นิติธรรมอำพราง (กฎหมาย) [TU Subject Heading] | Rule of law | หลักนิติธรรม [TU Subject Heading] | Legal Residence | การอยู่ตามนิตินัย, Example: ภูมิลำเนา เป็นการระบุที่ตามกฏหมายที่บุคคลนั้นๆอาศัยอยู่ [สิ่งแวดล้อม] | De Jure Population | ประชากรนิตินัย หรือ ประชากรอาศัย (resident population), Example: ประชากรที่มีชื่อว่าอาศัยอยู่ในเขตนั้นในวันทำ สำมะโน [สิ่งแวดล้อม] | ASEAN Charter | กฎบัตรอาเซียน เป็นความตกลงระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ที่จะให้สถานะทางกฎหมายหรือนิติฐานะแก่อาเซียน และวางกรอบโครงสร้างองค์กรใหม่เพื่อทำให้อาเซียนเป็นหน่วยงานที่ยึดมั่นมาก ยิ่งขึ้นต่อกติกาและกฏเกณฑ์ต่าง ๆ ที่ประเทศสมาชิกร่วมกันกำหนดขึ้น อันจะนำมาซึ่งการเป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ กฎบัตรอาเซียนยังมีเป้าหมายเพื่อเปลี่ยนให้อาเซียนเป็นองค์กรที่มีประชาชน เป็นศูนย์กลางของความร่วมมือมากยิ่งขึ้นด้วยการจัดตั้งองค์กรใหม่ๆ เพื่อปกป้องและส่งเสริมผลประโยชน์ของประชาชนอาเซียน เช่น องค์กรสิทธิมนุษยชนอาเซียน เป็นต้น ทั้งนี้ ผู้นำประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ได้ร่วมลงนามกฎบัตรฯ เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 และเริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2551 [การทูต] | Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต] | Consul | ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งอย่างถูกต้องและได้รับ มอบหมายให้ไปประจำยังต่างประเทศ เพื่อทำหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของประเทศทั้งในด้าน พาณิชย์ การเดินเรือ คุ้มครองความเป็นอยู่อันดีของพลเมืองของประเทศตน พร้อมทั้งปฏิบัติหน้าที่บางอย่างด้านธุรการ หรือวางระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ ตลอดจนด้านการเป็นสักขีพยานการลงนามในเอกสาร เพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทางกฎหมาย (Notary) การให้การตรวจลงตรา รวมทั้งการรับรองเอกสารที่แท้จริง (มิใช่เอกสารปลอม) และจัดการการสัตย์สาบานตนหรืออีกนัยหนึ่ง ภาระหน้าที่ของกงสุลอาจแบ่งออกได้เป็น 5 ประการ ดังต่อไปนี้1 ทำหน้าที่ส่งเสริมผลประโยชน์ในทางพาณิชย์ของประเทศที่ตนเป็นผู้แทนอยู่2 ควบคุมดูแลผลประโยชน์ด้านการเดินเรือ3 คุ้มครองผลประโยชน์ของคนชาติของประเทศที่แต่งตั้งให้ตนไปประจำอยู่4 ทำหน้าที่สักขีพยานในการลงนามในเอกสารเพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทาง กฎหมาย5 ทำหน้าที่ธุรการเบ็ดเตล็ดอื่นๆ หรือระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ เช่น การออกหนังสือเดินทาง การให้การตรวจลงตรา (Visas) การจดทะเบียนคนเกิด คนตาย ฯลฯอนุสัญญากรุงเวียนนา ภาคที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลข้อที่ 5 ได้กำหนดภาระหน้าที่ของฝ่ายกงสุลไว้ดังต่อไปนี้ ก. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่ง และของคนในชาติของรัฐผู้ส่ง ทั้งเอกชนและบรรษัทในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดที่กฎหมายระหว่างประเทศอนุญาตข. เพิ่มพูนการพัฒนาความสัมพันธ์ทางด้านการพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาการ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างกันในทางอื่น ตามบทแห่งอนุสัญญานี้ค. สืบเสาะให้แน่โดยวิถีทางทั้งปวงอันชอบด้วยกฎหมายถึงภาวะและความคลี่คลายใน ทางพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและวิทยาการของรัฐผู้รับ แล้วรายงานผลของการนั้นไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่ง และให้ข้อสนเทศแก่บุคคลที่สนใจง. ออกหนังสือเดินทางและเอกสารการเดินทางให้แก่คนในชาติของรัฐผู้ส่ง ตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่งจ. ช่วยเหลือคนในชาติของรัฐผู้ส่งทั้งเอกชนและบรรษัทฉ. ทำหน้าที่นิติกรและนายทะเบียนราษฎร์ และในฐานะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ปฏิบัติการหน้าที่บางประการอันมีสภาพทางธุรการ หากว่าการหน้าที่นั้นไม่ขัดกับกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับช. พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของผู้เยาว์ และบุคคลไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง ภายในขีดจำกัดที่ได้ตั้งบังคับไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ โดยเฉพาะในกรณีที่จำเป็นต้องมีความปกครองหรือภาวะทรัสตีใดๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลเหล่านั้นฌ. แทนคนชาติของรัฐผู้ส่ง หรือจัดให้มีการแทนอย่างเหมาะสมในองค์กรตุลาการ และต่อเจ้าหน้าที่ที่อื่นของรัฐผู้รับ เพื่อความมุ่งประสงค์ที่จะให้ได้มา ซึ่งมาตรการชั่วคราวสำหรับการรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของคนในชาติเหล่านี้ ไว้ตามกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ ในกรณีที่คนในชาติเหล่านี้ไม่สามารถเข้าทำการป้องกันสิทธิและผลประโยชน์ของ ตนในเวลาอันเหมาะสมได้ เพราะเหตุของการไม่อยู่หรือเหตุอื่นใด ทั้งนี้ ให้อยู่ภายในข้อบังคับแห่งทางปฏิบัติ และวิธีดำเนินการซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับญ. ส่งเอกสารทางศาล หรือเอกสารที่มิใช่ทางศาล หรือปฏิบัติตาม หนังสือของศาลของรัฐผู้ส่งที่ขอให้สืบประเด็น หรือตามการมอบหมายให้สืบพยานให้แก่ศาลของรัฐผู้ส่งนั้น ตามความตกลงระหว่างประเทศที่ใช้บังคับอยู่ หรือเมื่อไม่มีความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่านั้น โดยทำนองอื่นใดที่ต้องด้วยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับด. ใช้สิทธิควบคุมดูแลและตรวจพินิจตามที่ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายและข้อบังคับของ รัฐผู้ส่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับเรือที่มีสัญชาติของของรัฐผู้ส่ง หรืออากาศยานที่จดทะเบียนในรัฐนั้น รวมทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับลูกเรือของเรือและอากาศยานดังกล่าวต. ให้ความช่วยเหลือแก่เรือและอากาศยานที่ระบุไว้ในอนุวรรค (ด) ของข้อนี้ รวมทั้งลูกเรือของเรือและอากาศยานนั้น บันทึกถ้อยคำเกี่ยวกับการเดินทางของเรือ ตรวจดูและประทับตรากระดาษเอกสารของเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใด ๆ ที่ได้เกิดขึ้นในระหว่างนายเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใดๆ ที่ได้เกิดขั้นในระหว่างนายเรือ เจ้าพนักงาน และกะลาสี ตราบเท่าที่การนี้อาจได้อนุมัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง ทั้งนี้ จะต้องไม่เป็นการเสื่อมเสียแก่อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับถ. ปฏิบัติการหน้าที่อื่นใดที่รัฐผู้ส่งมอบหมายแก่สถานีทำการทางกงสุล ซึ่งมิได้ต้องห้ามโดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ หรือซึ่งไม่มีการแสดงข้อคัดค้านโดยรัฐผู้รับ หรือซึ่งมีอ้างถึงไว้ในความตกลงระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับ [การทูต] | Consulate-General | สถานกงสุลใหญ่ " ที่ทำการซึ่งมีหัวหน้าสำนักงานเป็นกงสุลใหญ่ และมีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านหนังสือเดินทาง คุ้มครองคนไทย ตลอดจนด้านเอกสาร นิติกรรมต่าง ๆ ในต่างประเทศ ตำแหน่งต่าง ๆ ประจำสถานกงสุลใหญ่ มีดังนี้ Consul-General กงสุลใหญ่ Deputy Consul-General รองกงสุลใหญ่ Consul กงสุล Vice-Consul รองกงสุล Chancellor ผู้ช่วยกงสุล " [การทูต] | de jure | โดยนิตินัย [การทูต] | Foreign Policy | นโยบายต่างประเทศ คือแผนการดำเนินการในกิจการระหว่างประเทศ ซึ่งผู้กำหนดนโยบายในคณะรัฐบาลเป็นผู้จัดขึ้น ในประเทศที่มีรัฐบาลประชาธิปไตยในรูปรัฐสภา ผู้ที่จะชี้ขาดเรื่องนโยบายต่างประเทศได้แก่คณะรัฐมนตรี อันมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะ และจะได้รับความเห็นชอบจากผู้แทนของประชาชนที่ได้รับการเลือกตั้ง ส่วนรัฐบาลประชาธิปไตยในรูปประธานาธิบดี ตัวประธานาธิบดีเองซึ่งโดยปกติแล้วจะได้รับคำแนะนำจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวง การต่างประเทศ และบุคคลชั้นผู้นำฝ่ายนิติบัญญัติ จะเป็นผู้กำหนดนโยบายต่างประเทศ [การทูต] | Heads of State | ผู้แทนที่สำคัญที่สุดของรัฐ หรือประมุขของรัฐ ในบางกรณีอาจทำหน้าที่เป็นตัวแทนของรัฐ ในการเจริญความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ โดยมีอำนาจเต็มที่จะประกอบการใด ๆ ได้ ประมุขของรัฐนั้นอาจได้แก่ พระจักรพรรดิ (Emperor) พระเจ้าแผ่นดิน (King) พระราชินี (Queen) และประธานาธิบดี (President)ประมุขของรัฐย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการเคารพ และการยอมรับนับถือจากประเทศอื่นๆ ในสังคมนานาประเทศ ในแง่พิธีการทูต ผู้ที่เป็นกษัตริย์อาจได้รับเกียรติแตกต่างกับผู้ที่เป็นประธานาธิบดี แต่ความแตกต่างเช่นนี้หามีความสำคัญในแง่กฎหมายอย่างใดไม่ เมื่อประมุขของรัฐเดินทางไปเยือนต่างประเทศ ตัวประมุขพร้อมด้วยบุคคลในครอบครัวและบริวารทั้งหลาย ตลอดจนถึงทรัพย์สินของประมุขจะไดรับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งในทางแพ่งและอาญาคำว่าประมุขของรัฐอาจหมายถึงหัวหน้าของรัฐบาลก็ได้ เช่น ในกรณีสหรัฐอเมริกา แต่ในบางประเทศ เช่น อังกฤษ ประมุขของรัฐมิได้เป็นหัวหน้าของรัฐบาล ผู้ที่เป็นหัวหน้าของรัฐบาลได้แก่ นายกรัฐมนตรี (Prime Minister) ในประเทศที่มีการปกครองในรูปสาธารณรัฐ (Republic) ถือว่าอำนาจอธิปไตยตกอยู่กับประชาชน แม้แต่ตัวประธานาธิบดีของประเทศก็ไม่มีอำนาจอธิปไตย หากแต่เป็นประชาชนพลเมืองคนหนึ่ง ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้เข้าไปบริหารประเทศตามกำหนดระยะเวลาหนึ่งภายใต้ รัฐธรรมนูญ และตัวประธานาธิบดี เช่น ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ก็อาจถูกฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่งโดยรัฐสภา หรือสภานิติบัญญัติได้ เรียกว่า Impeachment [การทูต] | juridical personality | สภาพนิติบุคคล [การทูต] | jurisprudence | นิติธรรม [การทูต] | juristic person, legal person | นิติบุคคล [การทูต] | legal age | บรรลุนิติภาวะ [การทูต] | legalisation | นิติกรณ์ " กระบวนการรับรองความถูกต้อง คำแปลหรือลายมือชื่อผู้มีอำนาจ ลงนามในเอกสาร โดยเจ้าหน้าที่กระทรวงการต่างประเทศ สถานทูต สถานกงสุล หรือหน่วยงานตามที่กฎหมายกำหนด เพื่อให้ได้รับการยอมรับและสามารถนำไปใช้ได้ในทางการระหว่างประเทศ " [การทูต] | Legalisation (legalization) | นิติกรณ์ กระบวนการรับรองความถูกต้อง คำแปลหรือลายมือชื่อผู้มีอำนาจลงนามในเอกสาร โดยเจ้าหน้าที่กระทรวงการต่างประเทศ สถานฑูต สถานกงสุล หรือหน่วยงานตามที่กฎหมายกำหนด เพื่อให้ได้รับการยอมรับและสามารถนำไปใช้ได้ในทางการระหว่างประเทศ [การทูต] | North Atlanitc Treaty Organization | องค์การนาโต้ หรือองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ ซึ่งได้ลงนามกันเมื่อวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 1949 ประเทศสมาชิกขณะเริ่มตั้งองค์การครั้งแรก ได้แก่ ประเทศเบลเยี่ยม แคนาดา เดนมาร์ก ฝรั่งเศส ไอซ์แลนด์ อิตาลี ลักแซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ ปอร์ตุเกส อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา ต่อมาประเทศกรีซและตรุกีได้เข้าร่วมเป็นภาคีของสนธิสัญญาเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1952 และเยอรมนีตะวันตก ( ในขณะนั้น) เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1955 สนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือเริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม ค.ศ. 1949ในภาคอารัมภบทของสนธิสัญญา ประเทศภาคีได้ยืนยันเจตนาและความปรารถนาของตน ที่จะอยู่ร่วมกันโดยสันติกับประเทศและรัฐบาลทั้งหลาย ที่จะปกป้องคุ้มครองเสรีภาพมรดกร่วม และอารยธรรมของประเทศสมาชิกทั้งมวล ซึ่งต่างยึดมั่นในหลักการของระบอบประชาธิปไตย เสรีภาพส่วนบุคคลหลักนิติธรรม ตลอดจนจะใช้ความพยายามร่วมกันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพื่อป้องกันประเทศ และเพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงในสนธิสัญญาดังกล่าว บทบัญญัติที่สำคัญที่สุดคือข้อ 5 ซึ่งระบุว่า ประเทศภาคีสนธิสัญญาทั้งหลายต่างเห็นพ้องต้องกันว่า หากประเทศภาคีหนึ่งใดหรือมากกว่านั้น ในทวีปยุโรปหรือในอเมริกาเหนือ ถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธ จักถือว่าเป็นการโจมตีต่อประเทศภาคีทั้งหมด ฉะนั้น ประเทศภาคีจึงตกลงกันว่า หากมีการโจมตีด้วยกำลังอาวุธเช่นนั้นเกิดขึ้นจริง ประเทศภาคีแต่ละแห่งซึ่งจะใช้สิทธิในการป้องกันตนโดยลำพังหรือร่วมกัน อันเป็นที่รับรองตามข้อ 51 ของกฎบัตรสหประชาชาติ จะเข้าช่วยเหลือประเทศภาคีแห่งนั้นหรือหลายประเทศซึ่งถูกโจมตีด้วยกำลัง อาวุธในทันทีองค์กรสำคัญที่สุดในองค์การนาโต้เรียกว่า คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศภาคีสนธิสัญญานาโต้ คณะมนตรีนี้จะจัดตั้งองค์กรย่อยอื่น ๆ หลายแห่ง รวมทั้งกองบัญชาการทหารสูงสุดฝ่ายสัมพันธมิตรภาคพื้นยุโรปและภาคพื้น แอตแลนติก สำนักงานใหญ่ขององค์การนาโต้ตั้งอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส [การทูต] | Income tax | ภาษีเงินได้นิติบุคคล [การบัญชี] | Amanitins | สารพิษอะมานิติน [การแพทย์] | Androgenetic Origin | ต้นเหตุอยู่ที่แอนโดรเจนนิติค [การแพทย์] | Carnitine | คาร์นิตีน, สาร;คาร์นิติน;คาร์นิตีน [การแพทย์] | Coroners and Medical Examiners | นิติพยาธิแพทย์, ผู้ไต่สวนและแพทย์ผู้ไต่สวนการตายผิดธรรมชาติ [การแพทย์] | De Jure | วิธีนิตินัย [การแพทย์] | De-Jure | วิธีนิตินัย [การแพทย์] | Forensic Chemistry | นิติเคมี [การแพทย์] | Forensic Dentistry | นิติทันตแพทย์ศาสตร์, นิติทันตศาสตร์ [การแพทย์] | Forensic Medicine | นิติเวชศาสตร์วิทยา, นิติเวชศาสตร์, การชันสูตรพลิกศพ [การแพทย์] | Forensic Psychiatry | นิติจิตเวชศาสตร์ [การแพทย์] | Forensic Sciences | นิติวิทยาศาสตร์ [การแพทย์] |
| อำนาจนิติบัญญัติ | [amnāt nitibanyat] (n, exp) EN: legislative power FR: pouvoir législatif [ m ] | บรรลุนิติภาวะ | [banlunitiphāwa] (v) EN: become one's legal age ; reach the one's majority ; become sui juris FR: acquérir la majorité | บรรลุนิติภาวะ | [banlunitiphāwa] (adj) FR: majeur | โดยนิตินัย | [dōi nitinai] (adv) EN: legally ; de jure ; by right | คณะนิติศาสตร์ | [khana nitisāt] (n, exp) EN: Faculty of Law ; law school FR: Faculté de Droit [ f ] | คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | [Khana Nitisāt Julālongkøn Mahāwitthayālai] (org) FR: Faculté de Droit de l'université Chulalongkorn [ f ] | คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | [Khana Nitisāt Mahāwitthayālai Thammasāt] (org) FR: Faculté de Droit de l'université Thammasat [ f ] | กฎหมายลักษณะนิติกรรม | [kotmāi laksana nitikam] (n, exp) EN: juristic act | หลักนิติศาสตร์ | [lak nitisāt] (n, exp) EN: jurisprudence FR: jurisprudence [ f ] | นิติ | [niti] (n) EN: law ; rule ; regulation ; statute FR: loi [ f ] ; règlement [ m ] ; statut [ m ] | นิติ- | [niti-] (pref, (adj)) EN: legal ; juristic FR: légal ; juridique | นิติบัญญัติ | [nitibanyat] (n) EN: legislation ; statute FR: législation [ f ] | นิติบัญญัติ | [nitibanyat] (adj) EN: legislative FR: législatif | นิติบุคคล | [nitibukkhon] (n) EN: juristic person ; legal entity ; corporate body FR: personne juridique [ f ] | นิติเหตุ | [nitihēt] (n) EN: legal cause ; causative event | นิติกรรม | [nitikam] (n) EN: legal act ; juristic act : legal transaction FR: acte légal [ m ] | นิติกรรมฝ่ายเดียว | [nitikam fāi dīo] (n, exp) EN: unilateral juristic act ; unilateral act | นิติกรรมสองฝ่าย | [nitikam søng fāi] (n, exp) EN: bilateral juristic act ; bilateral act | นิติกรรมที่มีผลเมื่อผู้ทำตาย | [nitikam thī mī phon meūa phū tham tāi] (n, exp) EN: mortis causa | นิติการณ์ | [nitikān] (n) EN: cause in law | นิติกร | [nitikøn] (n) EN: lawyer FR: juriste [ m ] | นิติกรณ์ | [nitikøn] (n) EN: legalization ; certification ; authentification ; attestation FR: légalisation [ f ] | นิตินัย | [nitinai] (adv) EN: legally ; by law ; de jure FR: légalement ; juridiquement | นิติภาวะ | [nitiphawa] (n) EN: majority ; maturity ; sui juris status ; sui juris ; legal age ; legal capacity FR: majorité [ f ] ; âge légal [ m ] | นิติปรัชญา | [nitipratyā = nitipratchayā] (n, exp) EN: philosophy of law | นิติสัมพันธ์ | [nitisamphan] (n, exp) EN: legal relations ; juristic relations | นิติศาสตร์ | [nitisāt] (n) EN: jurisprudence | นิติศาสตร์บัณฑิต | [nitisātbandit] (n) EN: Bachelor of Law (B.L.) | นิติสมมติ = นิติสมมต | [nitisommot] (n, exp) EN: presumption of law | นิติธรรม | [nititham] (n) EN: legal principle ; principle of law ; legality ; legitimacy | นิติเวชศาสตร์ | [nitiwētchasāt] (n, exp) EN: forensic medicine FR: médecine légale [ f ] | นิติวิทยาศาสตร์ | [nitiwitthayāsāt] (n, exp) EN: forensic science | องค์การนิติบุคคล | [ongkān nitibukkhon] (n, exp) EN: juristic organization | ภาษีเงินได้นิติบุคคล | [phāsī ngoendāi nitibukkhon] (n, exp) EN: corporation tax ; corporate income tax | สภานิติบัญญัติ | [saphānitibanyat] (n, exp) EN: legislative assembly ; legislature | สภานิติบัญญัติ | [saphā nitibanyat] (n, exp) EN: legislative assembly FR: assemblée législative [ f ] |
| rule of law | (n) หลักนิติธรรม | CIFS | (org) สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ กระทรวงยุติธรรม (Central Institute of Forensic Science) | leviticus | (n) หนังสือเลวีนิติ หนังสือเล่มที่ 3 ของพระคริสต์ธรรมคัมภีร์(พันธสัญญาเก่า), See also: The Old Testament |
| adult | (n) ผู้ที่บรรลุนิติภาวะ | age | (n) การเป็นผู้ใหญ่ตามกฎหมาย, See also: นิติภาวะ | attorney | (n) ทนาย, See also: ทนายความ, นักกฎหมาย, นิติกร, Syn. lawyer | contract | (n) นิติกรรมสัญญา | Faculty of Law | (n) คณะนิติศาสตร์ | instrument | (n) เอกสาร, See also: นิติกรรม, Syn. document | jurisprudence | (n) ศาสตร์เกี่ยวกับกฎหมาย, See also: นิติศาสตร์, หลักวิชากฎหมาย | law | (n) วิชากฎหมาย, See also: นิติศาสตร์ | lawyer | (n) ทนายความ, See also: ทนาย, นิติกร, นักกฎหมาย, Syn. counseler, barrister | legally | (adv) อย่างถูกต้องตามกฎหมาย, See also: ทางนิตินัย, อย่างชอบด้วยกฎหมาย, อย่างถูกกฎหมาย, Syn. lawfully, de jure | legislative | (adj) เกี่ยวกับสภานิติบัญญัติ | legislator | (n) สมาชิกของสภานิติบัญญัติ | legislature | (n) สภานิติบัญญติ | LL.B. | (abbr) นิติศาสตรบัณฑิต (คำย่อของ Bachelor of Laws), Syn. LLB | LL.D. | (abbr) นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต (คำย่อของ Doctor of Laws), Syn. LLD | LL.M. | (abbr) นิติศาสตรมหาบัณฑิต (คำย่อของ Master of Laws), Syn. LLM | LLB | (abbr) นิติศาสตรบัณฑิต (คำย่อของ Bachelor of Laws), Syn. LL.B | LLD | (abbr) นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต (คำย่อของ Doctor of Laws), Syn. LL.D | LLM | (abbr) นิติศาสตรมหาบัณฑิต (คำย่อ Master of Laws), Syn. LL.M | lobby | (n) กลุ่มผู้รณรงค์หาเสียงสนับสนุนเกี่ยวกับนิติบัญญัติ | minor | (adj) ซึ่งยังไม่บรรลุนิติภาวะ, See also: ซึ่งยังไม่เป็นผู้ใหญ่ | minor | (n) ผู้เยาว์, See also: เด็ก, เยาวชน, ผู้ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ, Syn. boy, girl, child, lad | nonage | (n) วัยที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ, Syn. minority | person | (n) นิติบุคคล | reprehensively | (adv) อย่างตำหนิติเตียน | reprobative | (adj) ซึ่งตำหนิติเตียน, See also: ซึ่งไม่อยมรับ | reproof | (n) การตำหนิติเตียน, Syn. censure, rebuke, reprimand | sui juris | (adj) ซึ่งบรรลุนิติภาวะ, Syn. legally competent | underage | (adj) ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ, See also: ที่อายุยังไม่ถึงเกณฑ์ |
| age | (เอจฺ) n., vi., vt. อายุ, วัยชรา, แก่เข้า, เก่า, ยุค, สมัย, นิติภาวะ, ทำให้เก่า, ทำให้สุกงอม, Syn. lifetime, period, ripen, grow | alienism | (เอ' เลียนนิสซึม, แอล' ยันนิสซึม) n. alienage, การศึกษาหรือรักษาโรคจิต (โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับปัญหากฎหมาย) นิติจิตเวชศาสตร์. ภาวะวิกลจริต (alienage) | alienist | (เอ' เลียนนิสทฺ, แอล' เยินนิสทฺ) แพทย์ผู้รักษาโรคจิต (โดยเฉพาะผู้ที่รู้เรื่องกฎหมาย) นิติจิตแพทย์ physcian who treats mental disorders) | assize | (อะไซซ') n. สภานิติบัญญัติ, ศาลอังกฤษที่พิจารณาความโดยข้าหลวงพิเศษ, คำสั่งหรือคำพิพากษาของศาลชนิดนี้, การไตร่สวน, การนั่งพิจารณาคดี, มาตราการกำหนดราคาสินค้า | astrict | (แอสทริคท') vt. ผูกมัด, จำกัด, ผูกพัน (ทางใจหรือนิตินัย) . -astriction n. | authority | (ออธอ'ริที) n. เจ้าหน้าที่, อำนาจ (ในหน้าที่ตำแหน่ง) , ผู้มีอำนาจ, ผู้เป็นต้นตำรับ, ทางราชการ, แหล่งข้อมูลหรือคำแนะนำที่เชื่อถือได้, ความเชื่อถือได้, ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง, อำนาจทางนิตินัย, อำนาจการเป็นตัวแทน, ความเชี่ยวชาญ, พยาน, การให้การ (คำที่มีความหมายเหมือนก | capitol | (แคพ'พิทอล) n. อาคารรัฐสภาของสหรัฐอเมริกา, อาคารนิติบัญญัติของรัฐ, ศาลากลาง | civil death | n. การตายในแง่นิตินัย | congress | (คอง'เกรส) { congressed, congressing, congresses } n. รัฐสภา, สภานิติบัญญัติ, การชุมนุม, การสังวาส. vi. รวมกลุ่ม, ชุมนุม, See also: congressional adj. ดูcongress congressionalist n. ดูcongress, Syn. council, assembly, concourse | corporate | (คอร์'เพอริท) adj. เกี่ยวกับหมู่คณะ/สมาคม นิติบุคคล/บริษัทหรืออื่น ๆ , ซึ่งรวมกันเป็นหมู่, ทั้งหมู่, ทั้งคณะ, Syn. collective | corporation | (คอร์พะเร'เชิน) n. บริษัท, หมู่, คณะ, สมาคม, นิติบุคคล, สโมสร, วิสหกิจ, เทศบาล | council | (เคา'เซิล) n. สภา, คณะกรรมการ, คณะกรรมาธิการ, กลุ่มคณะนิติบัญญัติ, กลุ่มคณะที่ปรึกษา, การประชุม, องค์กรร่วม, คณะมนตรี -Conf. counsel | cutcherry | n. สถาบันบริหารการปกครอง, สภานิติบัญญัติ | cutchery | n. สถาบันบริหารการปกครอง, สภานิติบัญญัติ | diet | (ได'เอท) n. อาหาร, อาหารพิเศษ, สภานิติบัญญัติ vt. ควบคุมอาหาร, See also: dieter n. dietary adj. | forensic medicine | n. นิติเวชศาสตร์., Syn. medical jurisprudence | gemot | (กะโมท') n. สภานิติบัญญัติ | gemote | (กะโมท') n. สภานิติบัญญัติ | general assembly | n. สมัชชาใหญ่ของสหประชาชาติ, สภานิติบัญญัติ | immature | (อิมมะเทียว'เออ) adj. ยังไม่เจริญเติบโตเต็มที่, ยังไม่สมบูรณ์, ยังไม่บรรลุนิติภาวะ, ยังเยาว์วัย, ยังอ่อน, See also: immaturity n., Syn. green, unripe, crude | jural | (จัว'เริล) adj. เกี่ยวกับกฎหมาย, ด้านนิตินัย, Syn. legal | jurisprudence | (จัวริสพรูด'เดินซฺ) n. นิติศาสตร์, ธรรมศาสตร์, ระบบกฎหมาย, การตัดสินอรรถคดีของศาล, See also: jurisprudential adj. | juristic act | n. นิติกรรม, การกระทำของบุคคลเพื่อเปลี่ยนแปลงยุติหรือมีผลต่อนิติ, สัมพันธ์ | juristic person | n. นิติบุคคล, Syn. person | lawmaker | (ลอ'เมเคอะ) n. ผู้บัญญัติกฎหมาย, สมาชิกสภานิติบัญญัติ., See also: lawmaking n., adj. การ บัญญัติกฎหมาย, Syn. legislator | legal | (ลี'เกิล) adj. ถูกต้องตามกฎหมาย, ชอบด้วยกฎหมาย, ตามกฎหมาย, แห่งนิตินัย., See also: legals n. สิทธิตามกฎหมาย, พันธบัตรที่นำมาลงทุนได้ตามกฎหมาย. | legislation | (เลจจิสเล'เชิน) n. การบัญญัติกฎหมาย, นิติบัญญัติ, กฎหมาย | legislative | (เลจ'จิสเลทิฟว) adj. เกี่ยวกับกฎหมาย, เกี่ยวกับสภานิติบัญญัติ. n. สภานิติบัญญัติ., Syn. constitutional | legislator | (เลจ'จิสเลเทอะ) n. ผู้บัญญัติกฎหมาย, สมาชิกสภานิติบัญญัติ, See also: legislatorship n. ดูlegislator | legislatorial | (เลจจิสละทอ'เรียล) adj. เกี่ยวกับกฎหมาย, เกี่ยวกับสมาชิกหรือสภานิติบัญญัติ, นิตินัย | legislature | (เลจ'จิสเลเชอะ) n. สภานิติบัญญัติ, หน่วยนิติกรของรัฐบาล, Syn. congress | lobby | (ลอบ'บี) { lobbied, lobbying, lobbies } n. ห้องพักแขก, ระเบียง, ห้องพักผ่อนของสภา, ห้องรับรอง, กลุ่มคนผู้รณรงค์หาเสียงสนับสนุนเกี่ยวกับนิติบัญญัติ. vt., vi. พยายามวิ่งเต้นให้สมาชิกนิติบัญญัติสนับสนุนการออกกฎหมายฉบับใดฉบับหนึ่ง, See also: lobbyer n. ดูlobb | major | (เม'เจอะ) n. พันตรี, ผู้บรรลุนิติภาวะ, วิชาเอกadj. ใหญ่, สำคัญ, ส่วนใหญ่, บรรลุนิติภาวะ vi. เรียนวิชาเอก, Syn. larger, leading | majority | (มะจอ'ริที) n., adj. ส่วนใหญ่, ส่วนมาก, คะแนนเสียงข้างมาก, ตำแหน่งพันตรี, นิติภาวะ. | order | (ออร์'เดอะ) n. คำสั่ง, ใบสั่ง, ตั๋วแลกเงิน, ธนาณัติ, หนังสือมอบอำนาจ, ระดับ, ลำดับ, ขั้น, นิกาย, คณะสงฆ์, อนุกรม, ชนิด, แบบแผน, ระเบียบ, สมณศักดิ์, เครื่องอิสริยาภรณ์, การลงมติในที่ประชุมนิติบัญญัติ. -Phr. (in order เหมาะสม, เป็นระเบียบ) -Phr. (in order that เพื่อว่า) vt.ออกคำสั่ง, สั่งซื้อ, ทำให้เป็นระเบียบ, บรรพชา, แต่งตั้งให้เป็นพระ | person | (เพอ'เซิน) n. บุคคล, คน, ร่าง, ร่างกาย, องค์, ตัว, ผู้, นิติบุคคล, บุคลิกลักษณะ, บุรุษ, (ในไวยากรณ์), Syn. individual, human being | speaker | (สพี'เคอะ) n. ผู้พูด, ผู้บรรยาย, ประธานสภานิติบัญญัติ, เครื่องขยายเสียง, หนังสือฝึกพูด., See also: speakership n., Syn. lecturer, orator | speciality | (สเพชชิแอล'ที) n. ความชำนาญพิเศษ, สิ่งที่ชำนาญเป็นพิเศษ, ลักษณะเฉพาะ, ลักษณะเฉพาะสาขา, เรื่องที่ทำได้ดีเป็นพิเศษ, เรื่องใหม่, สิ่งใหม่, เรื่องเฉพาะกิจ, นิติกรรม, สัญญาที่ประทับตรา, ข้อปลีกย่อย. adj. แสดงลักษณะเฉพาะ, เอกเทศ, Syn. specialty | supreme council | n. สภานิติบัญญัติของโซเวียตสมัยก่อน | supreme soviet | n. สภานิติบัญญัติของโซเวียตสมัยก่อน | underage | (อันเดอะเอจฺ') adj. ยังไม่บรรลุนิติภาวะ, ต่ำกว่ากำหนดอายุ, ยังไม่เป็นผู้ใหญ่ n. ความขาดแคลน, ความไม่พอเพียง, การยังไม่บรรลุนิติภาวะ |
| alienist | (n) จิตแพทย์, นิติจิตแพทย์ | congress | (n) ที่ประชุม, รัฐสภา, สภานิติบัญญัติ, สภาคองเกรส | congressional | (adj) ซึ่งเกี่ยวกับรัฐสภา, เกี่ยวกับสภานิติบัญญัติ | contract | (n) สัญญา, ข้อตกลง, นิติกรรมสัญญา, หนังสือสัญญา, ไพ่ | corporation | (n) บริษัท, บรรษัท, คณะ, สโมสร, สมาคม, นิติบุคคล, เทศบาล | council | (n) สภา, คณะมนตรี, สภาองคมนตรี, คณะกรรมการ, กลุ่มคณะนิติบัญญัติ | diet | (n) อาหาร, อาหารพิเศษ, โภชนาการ, สภานิติบัญญัติ | immature | (adj) ยังอ่อน, ยังไม่สุก, ยังไม่บรรลุนิติภาวะ | jurisprudence | (n) ธรรมศาสตร์, นิติศาสตร์, ระบบกฎหมาย | lawyer | (n) ทนายความ, หมอความ, นิติกร, นักกฎหมาย | legislation | (n) นิติบัญญัติ, การออกกฎหมาย, การบัญญัติกฎหมาย | legislative | (adj) ในทางนิติบัญญัติ, เกี่ยวกับกฎหมาย | legislator | (n) สมาชิกสภานิติบัญญัติ, ผู้ออกกฎหมาย, ผู้แทนราษฎร, ผู้บัญญัติกฎหมาย | legislature | (n) สภานิติบัญญัติ, รัฐสภา | major | (n) พันตรี, วิชาเอก, คนส่วนมาก, ผู้บรรลุนิติภาวะ | parliament | (n) รัฐสภา, สภานิติบัญญัติ | person | (n) คน, ตัว, บุคคล, ร่างกาย, องค์, นิติบุคคล, บุรุษ |
| | | 未成年 | [みせいねん, miseinen] (n) ผู้ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ |
| 法人 | [ほうじん, houjin] TH: นิติบุคคล EN: juristic person | 法学 | [ほうがく, hougaku] TH: นิติศาสตร์ |
| Jura | (n) |die| วิชากฎหมาย, นิติศาสตร์ เช่น Sie studiert Jura. = หล่อนเรียนนิติศาสตร์ | Verwaltungswissenschaft | (n) |die, pl. Verwaltungswissenschaften| ศาสตร์หรือการศึกษาเกี่ยวกับการเมือง นิติศาสตร์และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ |
| maîtrise | (n) |f, pl. maîtrises| ปริญญาโททางศิลปศาสตร์หรือนิติศาสตร์, ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต เช่น maître des arts |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |