ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -ยง ๒-, *ยง ๒* |
(เนื่องจากผลลัพธ์จากการค้นหา ยง ๒ มีน้อย ระบบได้ทดลองค้นหาใหม่โดยใส่ดอกจันทน์ (wild-card) ให้โดยอัตโนมัติ: *ยง ๒*) |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ยง ๒ | ว. ยั่งยืน, มั่นคง, คงทน, ยืนนาน, เช่น อยู่ยงคงกระพัน ยืนยง. | เกรียง ๒ | (เกฺรียง) ว. ใหญ่, ยิ่ง, มาก, เช่น มีศัพท์สำเนียงเกรียงระงม (ม. คำหลวง กุมาร). | เกลี้ยง ๒ | น. ส้มเกลี้ยง. (ดู ส้ม ๑). | เกาเหลียง ๒ | (-เหฺลียง) น. ชื่อดินชนิดหนึ่ง ใช้ปั้นทำเครื่องเคลือบดินเผาได้ดี, ดินเกาลิน ก็เรียก. | เกี๋ยง ๒ | ก. ขีดกา, ขีดไขว้. | แขยง ๒ | (ขะแหฺยง) ก. เกลียดเมื่อได้เห็นหรือถูกต้องสิ่งที่สกปรก น่ารังเกียจ หรือน่าเกลียดน่ากลัว หรือเมื่อนึกถึงสิ่งนั้น, ขยะแขยง ก็ว่า. | เงี่ยง ๒ | น. กระโถน. | เฉียง ๒ | น. ต้นไม้ใช้ใบทำยา. | เดียง ๒ | ก. ตีลง, ทุบลง, ฟาดลง, เช่น ถ้ามันโกรธกูจะกรูเข้าคร่า ถ้ามันด่ากูจะดื้อเข้าเดียง ถ้ามันเถียงกูจะถูเข้าถอง (ม. ร่ายยาว ชูชก). | ตะเกียง ๒ | น. หน่อสับปะรดที่แตกออกจากโคนขั้วของผล, หน่อกล้วยไม้ประเภทหวายที่แตกออกจากข้อ. | เถียง ๒ | น. เรือนพักชั่วคราวในทุ่งนา สำหรับอยู่เฝ้าข้าว. | เนียง ๒ | น. ชื่อไม้ต้นชนิด Archidendron jiringa (Jack) I.C. Nielsen ในวงศ์ Leguminosae ฝักบิดเป็นวง เมล็ดค่อนข้างแบน กินได้, พะเนียง ก็เรียก, จันทบุรีเรียก ชะเนียง. | เปรียง ๒ | (เปฺรียง) น. นํ้ามัน โดยเฉพาะใช้สำหรับนํ้ามันไขข้อของวัว. | พะเนียง ๒ | ดู เนียง ๒. | เพรียง ๒ | (เพฺรียง) น. ชื่อสัตว์ทะเลไม่มีกระดูกสันหลังในชั้น Cirripedie ส่วนใหญ่มีเปลือกหุ้มตัวซึ่งเป็นแผ่นหินปูน มีหลายพวก เช่น เพรียงหินหรือเพรียงสนับหรือสนับทึบ วงศ์ Balanidae, เพรียงก้านหรือเพรียงคอห่าน วงศ์ Lepadidae. | เมี่ยง ๒ | น. ของกินเล่นที่ใช้ใบไม้บางชนิด เช่น ใบชาหมัก ใบชะพลู ใบทองหลาง ห่อเครื่อง มีถั่วลิสง มะพร้าว กุ้งแห้ง หัวหอม ขิง เป็นต้น มีหลายชนิด เรียกชื่อต่าง ๆ กัน เช่น เมี่ยงคำ เมี่ยงลาวเมี่ยงส้ม. | แยง ๒ | ก. เยง, กลัว, เกรง. | โยง ๒ | ก. เอาไม้แซะข้าวให้สุกทั่วกัน, ทำให้โหย่ง, คุ้ย, เช่น โยงข้าว โยงข้าวเม่า. | เลียง ๒ | ว. เย็น เช่น นํ้าล้นเลียงเอมโอช (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | เวียง ๒ | ดู กรมเมือง. | เสี่ยง ๒ | ก. ลองเผชิญดู, ลองทำดูในสิ่งที่อาจให้ผลได้ ๒ ทาง คือ ดีหรือไม่ดี แต่หวังว่าจะได้ผลทางดี เช่น งานนี้ไม่แน่ใจว่าจะสำเร็จหรือไม่ ต้องเสี่ยงทำดู. | ชะเนียง | น. ต้นเนียง. (ดู เนียง ๒). | ทวาบรยุค | (ทะวาบอระ-) น. ชื่อยุคที่ ๓ ของจตุรยุคตามคติของพราหมณ์ ในยุคนี้ธรรมะและอายุของมนุษย์ลดลงเหลือเพียง ๒ ใน ๔ ส่วนเมื่อเทียบกับในสมัยกฤดายุค. (ดู จตุรยุค). | มาตราพฤติ | น. ฉันท์ที่กำหนดด้วยมาตรา คือ กำหนดคำในฉันท์แต่ละคำเป็นมาตราส่วน เช่น คำครุ กำหนดเป็นความยาวของเสียง ๒ มาตรา คำลหุ กำหนดเป็นความยาวของเสียง ๑ มาตรา. | ยางหนังสติ๊ก | น. แถบยางยาว ๆ มักทำจากยางในรถจักรยาน เวลานำมาผูกกับง่ามหนังสติ๊กจะใช้ยางเพียง ๒ เส้น โดยผูกปลายด้านหนึ่งของแต่ละเส้นกับปลายสิ่งที่เป็นง่าม ซึ่งมักเป็นไม้ แล้วเอาปลายอีกด้านหนึ่งของแต่ละเส้นผูกกับแผ่นหนังรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าชิ้นเล็ก ๆ ที่อยู่ตรงกลางสำหรับรองรับลูกกระสุนที่ใช้ยิง. | สนธิ | การเปลี่ยนแปลงเสียงซึ่งเกิดจากการเชื่อมเสียง ๒ เสียง ที่อยู่ชิดกันให้กลมกลืนกัน ในภาษาบาลีและสันสกฤตมีพยัญชนะสนธิ เช่น ทุส + ชน เป็น ทุรชน สระสนธิ เช่น พจน + อนุกรม เป็น พจนานุกรม และนิคหิตฺสนธิ เช่น เอวํ + เม เป็น เอวมฺเม ในภาษาอื่น ๆ ที่มีวรรณยุกต์เช่นภาษาจีนมีวรรณยุกต์สนธิ เช่น เกี๊ยม + ฉ่าย เป็น เกี่ยมฉ่าย. | หีบเพลงปาก | น. เครื่องดนตรีประเภทเครื่องลม ใช้ปากเป่า ลักษณะแบนยาวประกอบด้วยลิ้นเสียง ๒ แถว แถวหนึ่งดังเมื่อเป่าลมออก อีกแถวหนึ่งดังเมื่อดูดลมเข้า. |
| เกรียง ๒ | (เกฺรียง) ว. ใหญ่, ยิ่ง, มาก, เช่น มีศัพท์สำเนียงเกรียงระงม (ม. คำหลวง กุมาร). | เกลี้ยง ๒ | น. ส้มเกลี้ยง. (ดู ส้ม ๑). | เกาเหลียง ๒ | (-เหฺลียง) น. ชื่อดินชนิดหนึ่ง ใช้ปั้นทำเครื่องเคลือบดินเผาได้ดี, ดินเกาลิน ก็เรียก. | เกี๋ยง ๒ | ก. ขีดกา, ขีดไขว้. | แขยง ๒ | (ขะแหฺยง) ก. เกลียดเมื่อได้เห็นหรือถูกต้องสิ่งที่สกปรก น่ารังเกียจ หรือน่าเกลียดน่ากลัว หรือเมื่อนึกถึงสิ่งนั้น, ขยะแขยง ก็ว่า. | เงี่ยง ๒ | น. กระโถน. | เฉียง ๒ | น. ต้นไม้ใช้ใบทำยา. | เดียง ๒ | ก. ตีลง, ทุบลง, ฟาดลง, เช่น ถ้ามันโกรธกูจะกรูเข้าคร่า ถ้ามันด่ากูจะดื้อเข้าเดียง ถ้ามันเถียงกูจะถูเข้าถอง (ม. ร่ายยาว ชูชก). | ตะเกียง ๒ | น. หน่อสับปะรดที่แตกออกจากโคนขั้วของผล, หน่อกล้วยไม้ประเภทหวายที่แตกออกจากข้อ. | เถียง ๒ | น. เรือนพักชั่วคราวในทุ่งนา สำหรับอยู่เฝ้าข้าว. | เนียง ๒ | น. ชื่อไม้ต้นชนิด Archidendron jiringa (Jack) I.C. Nielsen ในวงศ์ Leguminosae ฝักบิดเป็นวง เมล็ดค่อนข้างแบน กินได้, พะเนียง ก็เรียก, จันทบุรีเรียก ชะเนียง. | เปรียง ๒ | (เปฺรียง) น. นํ้ามัน โดยเฉพาะใช้สำหรับนํ้ามันไขข้อของวัว. | พะเนียง ๒ | ดู เนียง ๒. | เพรียง ๒ | (เพฺรียง) น. ชื่อสัตว์ทะเลไม่มีกระดูกสันหลังในชั้น Cirripedie ส่วนใหญ่มีเปลือกหุ้มตัวซึ่งเป็นแผ่นหินปูน มีหลายพวก เช่น เพรียงหินหรือเพรียงสนับหรือสนับทึบ วงศ์ Balanidae, เพรียงก้านหรือเพรียงคอห่าน วงศ์ Lepadidae. | เมี่ยง ๒ | น. ของกินเล่นที่ใช้ใบไม้บางชนิด เช่น ใบชาหมัก ใบชะพลู ใบทองหลาง ห่อเครื่อง มีถั่วลิสง มะพร้าว กุ้งแห้ง หัวหอม ขิง เป็นต้น มีหลายชนิด เรียกชื่อต่าง ๆ กัน เช่น เมี่ยงคำ เมี่ยงลาวเมี่ยงส้ม. | ยง ๒ | ว. ยั่งยืน, มั่นคง, คงทน, ยืนนาน, เช่น อยู่ยงคงกระพัน ยืนยง. | แยง ๒ | ก. เยง, กลัว, เกรง. | โยง ๒ | ก. เอาไม้แซะข้าวให้สุกทั่วกัน, ทำให้โหย่ง, คุ้ย, เช่น โยงข้าว โยงข้าวเม่า. | เลียง ๒ | ว. เย็น เช่น นํ้าล้นเลียงเอมโอช (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | เวียง ๒ | ดู กรมเมือง. | เสี่ยง ๒ | ก. ลองเผชิญดู, ลองทำดูในสิ่งที่อาจให้ผลได้ ๒ ทาง คือ ดีหรือไม่ดี แต่หวังว่าจะได้ผลทางดี เช่น งานนี้ไม่แน่ใจว่าจะสำเร็จหรือไม่ ต้องเสี่ยงทำดู. | ชะเนียง | น. ต้นเนียง. (ดู เนียง ๒). | ทวาบรยุค | (ทะวาบอระ-) น. ชื่อยุคที่ ๓ ของจตุรยุคตามคติของพราหมณ์ ในยุคนี้ธรรมะและอายุของมนุษย์ลดลงเหลือเพียง ๒ ใน ๔ ส่วนเมื่อเทียบกับในสมัยกฤดายุค. (ดู จตุรยุค). | มาตราพฤติ | น. ฉันท์ที่กำหนดด้วยมาตรา คือ กำหนดคำในฉันท์แต่ละคำเป็นมาตราส่วน เช่น คำครุ กำหนดเป็นความยาวของเสียง ๒ มาตรา คำลหุ กำหนดเป็นความยาวของเสียง ๑ มาตรา. | ยางหนังสติ๊ก | น. แถบยางยาว ๆ มักทำจากยางในรถจักรยาน เวลานำมาผูกกับง่ามหนังสติ๊กจะใช้ยางเพียง ๒ เส้น โดยผูกปลายด้านหนึ่งของแต่ละเส้นกับปลายสิ่งที่เป็นง่าม ซึ่งมักเป็นไม้ แล้วเอาปลายอีกด้านหนึ่งของแต่ละเส้นผูกกับแผ่นหนังรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าชิ้นเล็ก ๆ ที่อยู่ตรงกลางสำหรับรองรับลูกกระสุนที่ใช้ยิง. | สนธิ | การเปลี่ยนแปลงเสียงซึ่งเกิดจากการเชื่อมเสียง ๒ เสียง ที่อยู่ชิดกันให้กลมกลืนกัน ในภาษาบาลีและสันสกฤตมีพยัญชนะสนธิ เช่น ทุส + ชน เป็น ทุรชน สระสนธิ เช่น พจน + อนุกรม เป็น พจนานุกรม และนิคหิตฺสนธิ เช่น เอวํ + เม เป็น เอวมฺเม ในภาษาอื่น ๆ ที่มีวรรณยุกต์เช่นภาษาจีนมีวรรณยุกต์สนธิ เช่น เกี๊ยม + ฉ่าย เป็น เกี่ยมฉ่าย. | หีบเพลงปาก | น. เครื่องดนตรีประเภทเครื่องลม ใช้ปากเป่า ลักษณะแบนยาวประกอบด้วยลิ้นเสียง ๒ แถว แถวหนึ่งดังเมื่อเป่าลมออก อีกแถวหนึ่งดังเมื่อดูดลมเข้า. |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |