Hydrogen as fuel | ไฮโดรเจน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Hydrogen peroxide | ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Butane | ไฮโดรคาร์บอนที่ประกอบด้วยคาร์บอน 4 อะตอม และไฮโดรเจน 10 อะตอม, Example: ปรกติอยู่ในสภาพก๊าซ แต่ทำให้เหลวได้ง่ายเพื่อการขนส่งและจัดเก็บ ใช้เป็นเชื้อเพลิงในครัวเรือน รถยนต์ และอุตสาหกรรมบางประเภท [ปิโตรเลี่ยม] |
Petroleum | สารไฮโดรคาร์บอนที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ, สารไฮโดรคาร์บอนที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติโดยมีธาตุสองชนิดเป็นองค์ประกอบหลัก ได้แก่คาร์บอนและไฮโดรเจน โดยอาจมีหรือไม่มีธาตุอโลหะอื่นๆ เช่น กำมะถัน ออกซิเจน ไนโตรเจน ฯลฯ ปนอยู่ด้วยก็ได้, Example: ปิโตรเลียมเป็นได้ทั้งของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซ ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของปิโตรเลียมเอง และความร้อน ตลอดจนความกดดันตามสภาพแวดล้อมที่ปิโตรเลียมนั้นถูกกักเก็บไว้ แบ่งตามสถานะสำคัญทางธรรมชาติได้ 2 ชนิด คือ น้ำมันดิบ และ ก๊าซธรรมชาติ [ปิโตรเลี่ยม] |
Sour Gas | ก๊าซธรรมชาติที่มีไฮโดรเจนซัลไฟล์, Example: ก๊าซธรรมชาติที่มีไฮโดรเจนซัลไฟล์ปนอยู่ในปริมาณมากเกินเกณฑ์มาตรฐานการซื้อขาย ซึ่งจะให้มีได้ประมาณ 0.25 กรัม/100 ลูกบาศก์ฟุต หรือ 4 ppm sour gas จะมีกลิ่นเหม็นเหมือนไข่เน่าและมีสภาพเป็นกรด ซึ่งเป็นอันตรายต่ออุปกรณ์การเจาะและการผลิต โดยทั่วไปจะใช้สาร alkanolamine เพื่อกำจัดธาตุกำมะถันก่อนที่จะนำก๊าซมาใช้หรือก่อนการขนส่ง [ปิโตรเลี่ยม] |
Sour Oil | น้ำมันดิบที่มีไฮโดรเจนซัลไฟล์, Example: น้ำมันดิบที่มีไฮโดรเจนซัลไฟล์ปนอยู่ ซึ่งปริมาณขั้นต่ำของกำมะถันที่อนุญาตให้มีได้ในน้ำมัน จะแตกต่างกันไปแล้วแต่โรงกลั่นและกฎระเบียบของแต่ละประเทศ แต่โดยทั่วไปมากกว่า 1% โดยน้ำหนัก [ปิโตรเลี่ยม] |
Sweet Oil or Sweet Gas | น้ำมันที่แยกเอาก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟล์ออก, Example: น้ำมันหรือก๊าซธรรมชาติที่ผ่านขบวนการแยกเอาก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟล์ออกแล้ว [ปิโตรเลี่ยม] |
Hydrocarbon | ส่วนประกอบสำคัญของปิโตรเลียม, ส่วนประกอบสำคัญของปิโตรเลียมไม่ว่าจะเป็นก๊าซธรรมชาติหรือน้ำมันดิบ คือ คาร์บอน (C) และ ไฮโดรเจน (H) ในรูปของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน (hydrocarbon) นอกจากนี้ก็มีสารอื่นๆที่เป็นส่วนประกอบของปิโตรเลียม เช่น กำมะถัน (S) ไนโตรเจน (N) และอื่นๆ, Example: สารที่นอกเหนือจากไฮโดรคาร์บอนถือเป็นสิ่งแปลกปลอมและไม่เป็นที่ต้องการ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญของปิโตรเลียมนั้น อาจอยู่ในสภาพของก๊าซ ของเหลว หรือของแข็ง ที่อุณหภูมิและความดันบรรยากาศ ขึ้นอยู่กับจำนวนและการจัดตัวของอะตอมของคาร์บอนในโมเลกุล โดยทั่วไปโมเลกุลของไฮโดรคาร์บอนที่มีคาร์บอนไม่เกิน 4 อะตอมจะมีสถานะเป็นก๊าซ ถ้ามีคาร์บอนระหว่าง 5-19 อะตอม จะมีสถานะเป็นของเหลว และถ้ามีคาร์บอนตั้งแต่ 20 อะตอมขึ้นไป จะมีสถานะเป็นของแข็ง [ปิโตรเลี่ยม] |
Hydrogen | ไฮโดรเจน, Example: ธาตุเคมีH และมีเลขอะตอมเท่ากับ 1 ที่อุณหภูมิ (อุณหภูมิห้อง)และความดันมาตรฐาน(ความดันบรรยากาศ) ไฮโดรเจนเป็นก๊าซที่โมเลกุลมี 2 อะตอม ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ติดไฟง่าย ไม่เป็นโลหะ และมีอิเล็กตรอนชั้นนอกสุด (วาเลนซ์อิเล็กตรอน) ตัวเดียว เป็นธาตุที่เบาที่สุด [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Antimatter | ปฏิสสาร, สสารที่มีอะตอมประกอบด้วยปฏิยานุภาค เช่น อะตอมของแอนติไฮโดรเจนประกอบด้วยนิวเคลียสที่มีแอนติโปรตอนจำนวน 1 อนุภาค และมีโพซิตรอน 1 อนุภาคโคจรอยู่รอบๆ (ดู antiparticle ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Element | ธาตุ , สารที่ประกอบด้วยอะตอมที่มีเลขเชิงอะตอมเดียวกัน และไม่สามารถแบ่งแยกเป็นสารอื่นได้ด้วยวิธีทางเคมี เช่น ไฮโดรเจน ตะกั่ว ยูเรเนียม [นิวเคลียร์] |
Radiolysis | การแยกสลายด้วยรังสี, การแตกตัว หรือสลายตัว ของโมเลกุลด้วยรังสี เช่น ขณะเดินเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์จะมีน้ำส่วนหนึ่งที่อยู่ภายในแกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เกิดการแตกตัวเป็นไฮโดรเจนและออกซิเจน [นิวเคลียร์] |
Nucleus | นิวเคลียส, แกนกลางของอะตอม มีประจุเป็นบวก และขนาดเล็กประมาณ 10-15 เมตร หรือประมาณ 1 ใน 10, 000 ของเส้นผ่าศูนย์กลางของอะตอม เป็นที่รวมของมวลเกือบทั้งหมดของอะตอม ทุกนิวเคลียสประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอน ยกเว้นนิวเคลียสของไฮโดรเจนธรรมดาที่มีเพียงโปรตอนหนึ่งอนุภาค [นิวเคลียร์] |
Nuclear bomb | ลูกระเบิดนิวเคลียร์, ลูกระเบิดที่แรงระเบิดเกิดจากปฏิกิริยาการหลอมนิวเคลียสของธาตุเบา เช่น ลูกระเบิดไฮโดรเจน หรือจากการแบ่งแยกนิวเคลียสของธาตุหนัก เช่น ลูกระเบิดอะตอม, Example: [นิวเคลียร์] |
Neutron bomb | ลูกระเบิดนิวตรอน, ลูกระเบิดไฮโดรเจนขนาดเล็ก ออกแบบเป็นพิเศษให้มีผลทำลายน้อยที่สุดจากแรงระเบิดและความร้อนในวงจำกัดรัศมีสองร้อยถึงสามร้อยเมตร แต่มีผลในวงกว้างทำให้สิ่งมีชีวิตถึงตายได้จากอนุภาคนิวตรอนและรังสีแกมมา ลูกระเบิดนิวตรอนนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำลายรถถังและกองทหารในสนามรบโดยไม่เป็นอันตรายต่อตัวเมืองและย่านชุมชนที่อยู่ห่างออกไป <br>(ดู H-bomb ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
Neutron | นิวตรอน, อนุภาคมูลฐานที่ไม่มีประจุ มีมวลมากกว่าโปรตอนเล็กน้อย และพบในนิวเคลียสของทุกอะตอมยกเว้นอะตอมไฮโดรเจนธรรมดา นิวตรอนอิสระไม่เสถียร มีครึ่งชีวิต 10.3 นาที สลายเป็นอิเล็กตรอน โปรตอน และนิวทริโน [นิวเคลียร์] |
Isotope | ไอโซโทป, อะตอมของธาตุเดียวกัน ซึ่งในนิวเคลียสมีจำนวนโปรตอนเท่ากัน แต่จำนวนนิวตรอนต่างกัน เช่น ธาตุไฮโดรเจนมี 3 ไอโซโทป ได้แก่ $ ^{ 1 }_{ 1 } H $ , $ ^{ 2 }_{ 1 } H $ , $ ^{ 3 }_{ 1 } H $ ไอโซโทปของธาตุเดียวกัน จะมีสมบัติทางเคมีเหมือนกัน แต่สมบัติทางฟิสิกส์ต่างกัน [นิวเคลียร์] |
ICRU sphere | ทรงกลมไอซีอาร์ยู, ทรงกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 30 เซนติเมตร ทำจากวัสดุที่มีการตอบสนองต่อรังสีเทียบเท่ากับเนื้อเยื่อมนุษย์ โดยมีความหนาแน่น 1 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร และมีองค์ประกอบของออกซิเจนร้อยละ 76.2 คาร์บอนร้อยละ 11.1 ไฮโดรเจนร้อยละ 10.1 และไนโตรเจนร้อยละ 2.6 เป็นทรงกลมที่ใช้อ้างอิงสำหรับการหาค่าปริมาณรังสีสมมูล [นิวเคลียร์] |
Hydrogen bomb | ลูกระเบิดไฮโดรเจน, ลูกระเบิดที่แรงระเบิดเกิดจากปฏิกิริยาการหลอมนิวเคลียสของไอโซโทปของไฮโดรเจนภายใต้อุณหภูมิสูงมากจากการจุดระเบิดด้วยปฏิกิริยาการแบ่งแยกนิวเคลียส, Example: [นิวเคลียร์] |
Hydrogen | ไฮโดรเจน, ธาตุที่เบาที่สุดและเป็นธาตุลำดับที่ 1 ในตารางพีริออดิก ประกอบด้วยไอโซโทป 3 ชนิด โดย 2 ชนิด พบในธรรมชาติ ได้แก่ ไฮโดรเจนหรือไฮโดรเจนมวลเบาซึ่งมีเลขมวลเท่ากับ 1 และดิวเทอเรียมหรือไฮโดรเจนมวลหนักซึ่งมีเลขมวลเท่ากับ 2 ส่วนชนิดที่ 3 ได้แก่ ทริเทียม มีเลขมวลเท่ากับ 3 เป็นไอโซโทปกัมมันตรังสีที่มนุษย์ผลิตขึ้น [นิวเคลียร์] |
Heavy water | น้ำมวลหนัก, น้ำที่มีองค์ประกอบของอะตอมไฮโดรเจนมวลหนัก ต่ออะตอมไฮโดรเจนธรรมดาสูงกว่าสัดส่วนตามธรรมชาติ (1 ส่วนต่อ 6, 500 ส่วน) อย่างมีนัยสำคัญ ใช้เป็นตัวลดความเร็วนิวตรอนในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์บางชนิด [นิวเคลียร์] |
Heavy hydrogen | ไฮโดรเจนมวลหนัก, ไอโซโทปของไฮโดรเจนที่มีเลขมวลเท่ากับ 2 นิวเคลียสประกอบด้วยโปรตอน 1 อนุภาคและนิวตรอน 1 อนุภาค มีชื่อเฉพาะเรียกว่า ดิวเทอเรียม <br>(ดู deuterium, <sup>2</sup>H, D ประกอบ)</br>, Example: [นิวเคลียร์] |
Deuterium | ดิวเทอเรียม ไอโซโทปของไฮโดรเจน, นิวเคลียยสประกอบด้วยโปรตรอน และ นิวตรอน อย่างละ 1 อนุภาคมีมวลเป็นสองเท่าของไฮโดรเจน [นิวเคลียร์] |
คาร์โบไฮเดรต | ชื่อกลุ่มสารประกอบอินทรีย์ ซึ่งประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ คาร์โบไฮเดรท [คำที่มักเขียนผิด] |
Dehydrogenation | การลดไฮโดรเจน [TU Subject Heading] |
Hydrogen as fuel | ไฮโดรเจนที่ใช้เป็นเชื้อเพลิง [TU Subject Heading] |
Hydrogen bomb | ระเบิดไฮโดรเจน [TU Subject Heading] |
Hydrogenation | การเติมไฮโดรเจน [TU Subject Heading] |
Hydrogenolysis | การแยกสลายด้วยไฮโดรเจน [TU Subject Heading] |
tritium | ไอโซโทปกัมมันตรังสีของไฮโดรเจนที่มนุษย์ผลิตขึ้น, ไอโซโทปกัมมันตรังสีของไฮโดรเจนที่มนุษย์ผลิตขึ้นมีเลขมวลเท่ากับ 3 และครึ่งชีวิตเท่ากับ 12.32 ปี ทริเทียมสลายให้อนุภาคบีตาพลังงาน 18 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์ ใช้เป็นสารกัมมันตรังสีตามรอยในทางการแพทย์และอุตสาหกรรม (ดู hydrogen, H และ deuterium, $^2$H, D ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Hydrogen-Ion Concentration | ความเข้มข้นของประจุไฮโดรเจน, Example: น้ำหนักของไฮโดรเจนเป็นโมลต่อลิตรของสารละลาย, ปกติแสดง ในรูปพีเอช ซึ่งเป็นค่าลอกการิธึมของส่วนกลับของความเข้มข้น ประจุไฮโดรเจน [สิ่งแวดล้อม] |
ก๊าซธรรมชาติ | สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดหนึ่ง เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจนและคาร์บอนทีเกิดจากการทับถาม ของซากพืชและสัตว์ จำพวกจุลินทรีย์ที่อาศัยในโลกมานานนับร้อยล้านปี สามารถผลิตได้จากแหล่งใต้พื้นพิภพโดยตรงหรือติดมากับน้ำมันดิบจากหลุมน้ำมัน ดิบ โดยส่วนใหญ่จะมีก๊าซมีเทนตั้งแต่ 70% ขึ้นไป [ปิโตรเลี่ยม] |
ปิโตรเลียม | สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจนและคาร์บอน มักพบอยู่ในชั้นหินตะกอน ทั้งในสภาพของแข็ง ของเหลวและก๊าซ [ปิโตรเลี่ยม] |
Constant viscosity rubber | ยางธรรมชาติที่มีการเติมสารเคมี เช่น hydroxylamine ลงไปในน้ำยางก่อนที่จะเติมกรดเพื่อทำให้ยางจับตัว สารดังกล่าวจะเข้าไปทำปฏิกิริยากับหมู่อัลดีไฮด์ ป้องกันไม่ให้เกิดพันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลของยางดิบที่เก็บไว้ก่อนนำมา ใช้แปรรูป ทำให้ค่าความหนืดคงที่ ไม่เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลาการเก็บรักษา [เทคโนโลยียาง] |
Hydrogen bond | แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมีขั้วที่ประกอบด้วยอะตอมไฮโดรเจนกับ โมเลกุลอื่นที่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว [เทคโนโลยียาง] |
Dehydrogenation | การดึงไฮโดรเจนออก, ปฏิกิริยาแบบดีฮัยโดรจิเนชั่น [การแพทย์] |
Electrodes, Hydrogen, Standard | ขั้วไฟฟ้าไฮโดรเจนมาตรฐาน [การแพทย์] |
Ethyl Hydrogen Sulfate | เอธีลไฮโดรเจนซัลเฟท [การแพทย์] |
carbohydrate | คาร์โบไฮเดรต, สารอาหารประเภทให้พลังงาน ประกอบด้วยธาตุคาร์บอน (C) ไฮโดรเจน (H) และออกซิเจน (O) มีสูตรทั่วไปคือ (CH2O)n พบทั่วไปในพืชและสัตว์ เช่น แป้ง น้ำตาล เซลลูโลส [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
nicotinamide adenine dinucleotide (NAD) | นิโคตินาไมด์อะดีนีนไดนิวคลีโอไทด์, สารอินทรีย์ชนิดหนึ่ง ทำหน้าที่เป็นตัวรับไฮโดรเจนในกระบวนการหายใจระดับเซลล์ซึ่งเมื่อรับไฮโดรเจนแล้ว จะอยู่ในรูปของ NADH2 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
nicotinamide adenine dinucleotide phosphate (NADP) | นิโคตินาไมด์อะดีนีนไดนิวคลีโอไทด์ ฟอสเฟต, สารอินทรีย์ชนิดหนึ่ง ทำหน้าที่เป็นตัวรับไฮโดรเจนในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ซึ่งเมื่อรับไฮโดรเจนแล้วจะอยู่ในรูปของ NADPH2 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
acid | กรด, 1. สารที่แตกตัวให้ไฮโดรเจนไอออน(H+)ในสารละลาย 2. โมเลกุลหรือไอออนที่สามารถให้โปรตอนได้ 3. สารที่ละลายน้ำแล้วได้สารละลายที่มีความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออน(H3O+) มากกว่าไฮดรอกไซด์ไอออน(OH-) สารที่มีสมบัติเป็นกรดนั้นจำเป็นต้องสามารถทดสอบสมบัติต่าง ๆ ได้เช่น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
inorganic acid [ mineral acid ] | กรดอนินทรีย์, กรดซึ่งประกอบด้วยไฮโดรเจนกับธาตุอื่น หรืออาจมีออกซิเจนรวมอยู่ด้วย เช่น กรดซัลฟิวริก (H2SO4) กรดไฮโดรคลอริก (HCl) เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Haber process | กระบวนการฮาเบอร์, กระบวนการในอุตสาหกรรมการเตรียมแก๊สแอมโมเนีย จากปฏิกิริยารวมตัวระหว่างแก๊สไนโตรเจนกับแก๊สไฮโดรเจน โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาและสภาวะที่เหมาะสม [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
adsorption | การดูดซับ, กระบวนการที่สารซึ่งอยู่ในรูปของโมเลกุล อะตอม ไอออน หรืออนุภาคถูกดูดติดอยู่กับผิวของสารอื่น เช่น โลหะแพลเลเดียมดูดซับแก๊สไฮโดรเจน เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
decompose | การสลายตัว, กระบวนการที่ทำให้โมเลกุลของสารแตกตัวออกเป็นโมเลกุลเล็ก ๆ หรืออะตอม เช่น การแยกสลายโมเลกุลของน้ำจะได้โมเลกุลของแก๊สไฮโดรเจนกับออกซิเจน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
salt | เกลือ, สารประกอบที่เกิดจากกรดทำปฏิกิริยากับเบสหรือโลหะแทนที่ไฮโดรเจนในกรด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
standard electrode [ reference electrode ] | ขั้วไฟฟ้ามาตรฐาน, ขั้วไฟฟ้าที่กำหนดขึ้นให้เป็นมาตรฐานสำหรับเปรียบเทียบหาค่าศักย์ไฟฟ้าของครึ่งเซลล์ต่าง ๆ บางครั้งเรียกว่าขั้วไฟฟ้าอ้างอิง เช่น ขั้วไฟฟ้าไฮโดรเจนมาตรฐาน ขั้วไฟฟ้าคาโลเมลอิ่มตัว เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
standard hydrogen electrode | ขั้วไฟฟ้าไฮโดรเจนมาตรฐาน, ขั้วไฟฟ้าที่ใช้เป็นมาตรฐานสำหรับเปรียบเทียบหาศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์อื่น ๆ โดยกำหนดค่าศักย์ไฟฟ้าของครึ่งเซลล์นี้ให้เท่ากับศูนย์โวลต์ ขั้วไฟฟ้านี้ประกอบ ด้วยแผ่นแพลทินัมบาง ๆ ที่เคลือบด้วยแพลทินัมแบลก จุ่มอยู่ในสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 1 mol/d [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
fuel cell | เซลล์เชื้อเพลิง, อุปกรณ์ที่ใช้เปลี่ยนพลังงานเคมีให้เป็นพลังงานไฟฟ้า โดยใส่สารเคมีเข้าไปทำปฏิกิริยากันแล้วได้กระแสไฟฟ้าออกมา เซลล์เชื้อเพลิงแบบง่ายได้จากปฏิกิริยาเคมีระหว่าง แก๊สไฮโดรเจนกับออกซิเจนโดยมีแผ่นนิกเกิลเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเคมี และมีสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ เ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |