Cation | แคตไอออน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Ion-permeable membrane | เมมเบรนแลกเปลี่ยนไอออน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Ion exchange | การแลกเปลี่ยนไอออน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Absorber | สารดูดกลืน, วัสดุใดๆ ที่สามารถดูดกลืนหรือลดความเข้มของ<em>รังสีชนิดก่อไอออน</em> ตัวอย่างของสารดูดกลืน<em>นิวตรอน</em> เช่น แฮฟเนียม หรือ แคดเมียม ใช้เป็นแท่งควบคุมใน<em>เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์</em> สารดูดกลืนรังสีแกมมา เช่น คอนกรีตและเหล็ก ใช้เป็นวัสดุกำบังรังสีในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ แผ่นกระดาษหรือแผ่นโลหะบางสามารถดูดกลืนหรือลดความเข้มของรังสีแอลฟาได้ [นิวเคลียร์] |
As Low As Reasonably Achievable | อะลารา, การดำเนินการใดๆ ในทางปฏิบัติที่ทำให้งานสำเร็จตามวัตถุประสงค์โดยได้รับรังสีชนิดก่อไอออนน้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ [นิวเคลียร์] |
Counter | เครื่องนับรังสี, อุปกรณ์ตรวจหาการแผ่รังสี หรือเครื่องสำรวจรังสี ซึ่งตรวจหาและวัดการแผ่รังสี จากการแตกตัวเป็นไอออน โดยแสดงเป็นผลรวมสะสม หรืออัตราการแผ่รังสี [นิวเคลียร์] |
Dose rate | อัตราปริมาณรังสี, ปริมาณรังสีชนิดก่อไอออนต่อหนึ่งหน่วยเวลา เช่น เรมต่อชั่วโมง ซีเวิร์ตต่อชั่วโมง [นิวเคลียร์] |
Treatment, waste | การบำบัดกากกัมมันตรังสี, การดำเนินการเปลี่ยนแปลงลักษณะของกากกัมมันตรังสีให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสมต่อการเก็บรักษาและการขจัด โดยมีหลักพื้นฐาน 3 ประการ คือ 1. ลดปริมาตร เช่น การกดอัด 2. แยกสารกัมมันตรังสีออกจากกาก เช่น การตกตะกอน การแลกเปลี่ยนไอออน 3. เปลี่ยนองค์ประกอบ เช่น การเผา การระเหย [นิวเคลียร์] |
Source | ต้นกำเนิดรังสี, แหล่งกำเนิดรังสี, วัสดุหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่สามารถแผ่รังสีชนิดก่อไอออนออกมา ไม่ว่าจะเป็นการแผ่รังสีด้วยการแปลงนิวเคลียสของตัวเองหรือด้วยวิธีอื่นๆ เช่น สารกัมมันตรังสีและเครื่องกำเนิดรังสีชนิดต่างๆ [นิวเคลียร์] |
Radiation source | ต้นกำเนิดรังสี, แหล่งกำเนิดรังสี, วัสดุหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่สามารถแผ่รังสีชนิดก่อไอออนออกมา ไม่ว่าจะเป็นการแผ่รังสีด้วยการแปลงนิวเคลียสของตัวเองหรือด้วยวิธีอื่นๆ เช่น สารกัมมันตรังสีและเครื่องกำเนิดรังสีชนิดต่างๆ, Example: [นิวเคลียร์] |
Scintillator | ตัวเปล่งแสงวับ, วัสดุโปร่งแสง ทั้งของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ซึ่งเปล่งแสงวับเมื่อทำอันตรกิริยากับรังสีชนิดก่อไอออน เช่น ผลึกโซเดียมไอโอไดด์ ส่วนผสมของไทรเอทิลเบนซีนกับเทอร์เฟนิล แก๊สซีนอน [นิวเคลียร์] |
Scintillation counter | เครื่องนับรังสีจากแสงวับ, อุปกรณ์ตรวจวัดรังสีชนิดก่อไอออน ประกอบด้วยวัสดุที่เปล่งแสงวับเมื่อถูกกระทำโดยรังสี หลอดทวีคูณแสง และเครื่องบันทึกสัญญาณ ที่แสดงปริมาณและพลังงานของรังสีที่ตรวจวัด [นิวเคลียร์] |
Scintillation | แสงวับ, แสงที่เปล่งออกมาอย่างรวดเร็ว เมื่อรังสีชนิดก่อไอออนทำอันตรกิริยากับวัสดุบางชนิด เช่น รังสีแกมมากระทำต่อผลึกโซเดียมไอโอไดด์ [นิวเคลียร์] |
Roentgen equivalent man | หน่วยเดิมที่ใช้วัดปริมาณรังสีสมมูล, เป็นผลคูณระหว่างปริมาณรังสีดูดกลืนที่มีหน่วยเป็นแร็ด กับค่าปรับเทียบที่แตกต่างกันตามชนิดและพลังงานของรังสี (อาร์บีอี) สำหรับรังสีเอกซ์หรือแกมมา ค่าปรับเทียบมีค่าใกล้เคียงกับ 1 (ในทางปฏิบัติใช้ค่า 1) นั่นคือ เมื่อรังสีก่อไอออนชนิดใดก็ตามที่ก่อให้เกิดผลทางชีวภาพต่อเซลล์ที่มีชีวิตเทียบเท่ากับการรับรังสีเอกซ์หรือแกมมา 1 แร็ด เรียกว่าได้รับปริมาณรังสีสมมูล 1 เรม ปัจจุบันหน่วยเรมนี้ใช้หน่วยซีเวิร์ตแทน โดย 1 ซีเวิร์ตเท่ากับ 100 เรม (ดู equivalent dose, H$_T$ และ sievert, Sv ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Radiotherapy | รังสีรักษา, การบำบัดด้วยรังสี, การใช้รังสีชนิดก่อไอออนบำบัดรักษาโรค มี 4 วิธี คือ <br> 1. การฉายรังสีไปยังอวัยวะเป้าหมาย (Teletherapy) เช่น ต่อมน้ำเหลือง กล่องเสียง ปอด โดยใช้รังสีเอกซ์จากเครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น หรือใช้รังสีแกมมาจากต้นกำเนิดรังสีโคบอลต์-60</br> <br> 2. การฝังสารกัมมันตรังสี ในเนื้อเยื่อหรือโพรงอวัยวะ (Brachy therapy) เช่น ปากมดลูก และช่องปาก โดยใช้ซีเซียม-137, อิริเดียม-192 หรือ ทอง-198</br> <br> 3. การให้สารกัมมันตรังสีทางปาก เช่น การรับประทานสารประกอบไอโอดีน-131 (Na<sup>131I</sup>) เพื่อรักษามะเร็งต่อมไทรอยด์</br> <br> 4. การฉีดสารกัมมันตรังสีทางเส้นเลือด เช่น สารประกอบไอโอดีน-131 (Lipiodol-<sup>131</sup>I) ใช้รักษามะเร็งตับ</br> [นิวเคลียร์] |
Radiography | การถ่ายภาพรังสี, การใช้รังสีชนิดก่อไอออน เช่น รังสีเอกซ์ หรือ รังสีแกมมา ถ่ายภาพวัตถุบนแผ่นฟิล์มโดยอาศัยหลักการดูดกลืนรังสี ส่วนของวัตถุที่ดูดกลืนรังสีไว้น้อยกว่าจะปรากฏภาพเงาบนฟิล์มทึบกว่าส่วนของวัตถุที่ดูดกลืนรังสีไว้มากกว่า [นิวเคลียร์] |
Radiobiology | ชีววิทยารังสี, วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาผลของรังสีชนิดก่อไอออนต่อสิ่งมีชีวิต ตั้งแต่การดูดกลืนรังสีจนถึงผลที่แสดงออกมาทั้งในระยะสั้น และระยะยาว รวมถึงศึกษาปฏิกิริยาและความเสียหายที่เกิดขึ้นเมื่อได้รับรังสี [นิวเคลียร์] |
Radioactive source | ต้นกำเนิดรังสี, วัสดุหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่สามารถแผ่รังสีชนิดก่อไอออนออกมา ไม่ว่าจะเป็นการแผ่รังสีด้วยการแปลงนิวเคลียสของตัวเองหรือด้วยวิธีอื่นๆ เช่น สารกัมมันตรังสีและเครื่องกำเนิดรังสีชนิดต่างๆ [นิวเคลียร์] |
Radioactive material | วัสดุกัมมันตรังสี, วัสดุที่มีนิวไคลด์กัมมันตรังสีเป็นองค์ประกอบ ทำให้มีการแผ่รังสีชนิดก่อไอออนออกมา, Example: [นิวเคลียร์] |
Radiation worker | ผู้ปฏิบัติงานรังสี, ผู้มีหน้าที่ปฏิบัติงานในบริเวณรังสีชนิดก่อไอออน เช่น ผู้ปฏิบัติงานผลิตสารไอโซโทปรังสี ผู้ปฏิบัติงานฉายรังสี ผู้ปฏิบัติงานกับเครื่องวัดเชิงนิวเคลียร์ และเครื่องมือวิเคราะห์ต่างๆ <br>ผู้ปฏิบัติงานรังสีอาจรวมถึงผู้ที่ไม่ได้ปฏิบัติงานด้านเทคนิค แต่มีความจำเป็นต้องมีส่วนเกี่ยวข้องกับบริเวณรังสีหรือรังสีดังกล่าวเป็นประจำ ทำให้มีโอกาสได้รับรังสีมากกว่าประชาชนทั่วไป เช่น พนักงานทำความสะอาด พนักงานขับรถขนส่งสารกัมมันตรังสี ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของเจ้าหน้าที่ป้องกันอันตรายจากรังสีจะกำหนดให้บุคคลใดเป็นผู้ปฏิบัติงานทางรังสีตามกฎระเบียบ หรือแล้วแต่กรณี</br> <br>ผู้ปฏิบัติงานรังสีดังกล่าวข้างต้น ย่อมมีโอกาสได้รับรังสีจากการปฏิบัติงานเป็นปริมาณแตกต่างกัน กล่าวคือ ผู้ปฏิบัติงานผลิตสารไอโซโทปรังสี หรือผู้ปฏิบัติงานฉายรังสี จะมีโอกาสได้รับรังสีมากกว่าผู้ปฏิบัติงานกับเครื่องวัดเชิงนิวเคลียร์ และเครื่องมือวิเคราะห์ต่างๆ</br> [นิวเคลียร์] |
Radiation therapy | รังสีรักษา, การบำบัดด้วยรังสี, การใช้รังสีชนิดก่อไอออนบำบัดรักษาโรค มี 4 วิธี คือ <br> 1. การฉายรังสีไปยังอวัยวะเป้าหมาย (Teletherapy) เช่น ต่อมน้ำเหลือง กล่องเสียง ปอด โดยใช้รังสีเอกซ์จากเครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น หรือใช้รังสีแกมมาจากต้นกำเนิดรังสีโคบอลต์-60</br> <br> 2. การฝังสารกัมมันตรังสี ในเนื้อเยื่อหรือโพรงอวัยวะ (Brachy therapy) เช่น ปากมดลูก และช่องปาก โดยใช้ซีเซียม-137, อิริเดียม-192 หรือ ทอง-198</br> <br> 3. การให้สารกัมมันตรังสีทางปาก เช่น การรับประทานสารประกอบไอโอดีน-131 (Na<sup>131I</sup>) เพื่อรักษามะเร็งต่อมไทรอยด์</br> <br> 4. การฉีดสารกัมมันตรังสีทางเส้นเลือด เช่น สารประกอบไอโอดีน-131 (Lipiodol-<sup>131</sup>I) ใช้รักษามะเร็งตับ</br> [นิวเคลียร์] |
Radiation protection | การป้องกันรังสี, การดำเนินการตามกฎหมาย กฎระเบียบ มาตรการ และวิธีปฏิบัติ ซึ่งกำหนดขึ้นตามเกณฑ์มาตรฐานความปลอดภัย เพื่อควบคุมให้ผู้ปฏิบัติงานทางรังสีและประชาชนทั่วไปได้รับรังสีชนิดก่อไอออนน้อยที่สุดเท่าที่จะทำได้ (ALARA: as low as reasonably achievable) [นิวเคลียร์] |
Radiation biology | ชีววิทยารังสี, วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาผลของรังสีชนิดก่อไอออนต่อสิ่งมีชีวิต ตั้งแต่การดูดกลืนรังสีจนถึงผลที่แสดงออกมาทั้งในระยะสั้น และระยะยาว รวมถึงศึกษาปฏิกิริยาและความเสียหายที่เกิดขึ้นเมื่อได้รับรังสี [นิวเคลียร์] |
Proportional counter | เครื่องนับรังสีแบบสัดส่วน, เครื่องวัดรังสีที่ใช้หลักการนับจำนวนสัญญาณไฟฟ้า ซึ่งเป็นสัดส่วนโดยตรงกับจำนวนของไอออนที่เกิดขึ้นเมื่อมีรังสีชนิดก่อไอออนผ่านเข้าไปในหัววัดชนิดบรรจุแก๊ส [นิวเคลียร์] |
Kinetic energy released in matter | เคอร์มา, ผลรวมของพลังงานจลน์เริ่มต้นของอนุภาคที่มีประจุซึ่งเกิดจากรังสีชนิดก่อไอออนที่ไม่มีประจุทำปฏิสัมพันธ์กับวัตถุ มีหน่วยเป็นเกรย์ [นิวเคลียร์] |
Ionizing radiation | รังสีชนิดก่อไอออน, รังสีหรืออนุภาคใดๆ ที่สามารถก่อให้เกิดการแตกตัวเป็นไอออนได้ทั้งโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อมในตัวกลางที่ผ่านไป เช่น รังสีแอลฟา รังสีบีตา รังสีแกมมา รังสีเอกซ์ อนุภาคนิวตรอน อิเล็กตรอนที่มีความเร็วสูง โปรตอนที่มีความเร็วสูง รังสีเหล่านี้อาจทำให้เกิดอันตรายต่อเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต <br>(ดู beta particle ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
Ion pair | คู่ไอออน, ไอออนบวกและไอออนลบที่มีขนาดประจุเท่ากัน เกิดจากการแตกตัวของอะตอมหรือโมเลกุลที่เป็นกลางเมื่อได้รับรังสี โดยอิเล็กตรอนที่หลุดออกจากอะตอมหรือโมเลกุลจะเป็นไอออนลบ ส่วนอะตอมหรือโมเลกุลที่อิเล็กตรอนหลุดออกไปนั้นจะเป็นไอออนบวก [นิวเคลียร์] |
Ion | ไอออน, อะตอมหรือโมเลกุลที่มีประจุไฟฟ้าจากการสูญเสียหรือได้รับอิเล็กตรอนหนึ่งอนุภาคหรือมากกว่า อะตอมหรือโมเลกุลที่สูญเสียอิเล็กตรอนจะเป็นไอออนบวก ถ้าได้รับอิเล็กตรอนเข้ามาจะเป็นไอออนลบ [นิวเคลียร์] |
Ion exchange processes | ขบวนการแลกเปลี่ยนไอออน [TU Subject Heading] |
Ion exchange resins | เรซินแลกเปลี่ยนไอออน [TU Subject Heading] |
Ion exchant | การแลกเปลี่ยนไอออน [TU Subject Heading] |
Ions | ไอออนส์ [TU Subject Heading] |
Plasma (Ionized gases) | พลาสมา (ก๊าซที่เป็นไอออน) [TU Subject Heading] |
Exchangeagle Anion | แอนไอออนแลกเปลี่ยนได้, Example: แอนไอออนที่คอลลอยด์ดินดูดซับไว้ และสามารถถูกแทนที่ได้ [สิ่งแวดล้อม] |
Ionization | การแตกตัวประจุ, ไอออน [สิ่งแวดล้อม] |
Ion Exchange | การแลกเปลี่ยนประจุ, ไอออน [สิ่งแวดล้อม] |
Cation Exchange Capacity | ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออน, Example: ผลรวมของแคตไอออนที่แลกเปลี่ยนได้ซึ่งดิน หรือแร่ดินเหนียวหรือวัสดุอื่น ๆ ดูดซับไว้ได้ ปัจจุบันนี้ใช้หน่วย เซนติโมห์/กิโลกรัมของดิน หรือวัสดุอื่น ๆ [สิ่งแวดล้อม] |
ionisingradiation | รังสีชนิดก่อไอออน, คือ พลังงานในรูปแม่เหล็กไฟฟ้า หรืออนุภาครังสีใดๆ ที่สามารถก่อให้เกิดการแตกตัวเป็นไอออนได้ ทั้งโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อมในตัวกลางที่ผ่านไป เช่น รังสีแอลฟา รังสีบีตา รังสีแกมมา รังสีเอกซ์ อนุภาคนิวตรอน อิเล็กตรอนที่มีความเร็วสูง โปรตรอนที่มีความเร็วสูง รังสีชนิดนี้อาจทำให้เกิดอันตรายต่อเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต [พลังงาน] |
source | ต้นกำเนิดรังสี (แหล่งกำเนิดรังสี), หมายถึง วัสดุหรือสิ่งหนึ่งสิ่งใดที่สามารถก่อให้เกิดการแผ่รังสีชนิดที่ก่อไอออนออกมา ไม่ว่าจะเป็นการแผ่รังสีด้วยการแปลงนิวเคลียสของตัวเองหรือด้วยวิธีอื่นๆ ตัวอย่างเช่น สารกัมมันตรังสีและเครื่องกำเนิดรังสีชนิดต่างๆ [พลังงาน] |
sterile insect technique | การควบคุมจำนวนแมลงด้วยแมลงที่เป็นหมัน, คือ วิธีการควบคุมประชากรแมลง โดยใช้แมลงชนิดเดียวกันที่เป็นหมันด้วยรังสี โดยมีหลักการคือ นำแมลงม ทำให้เป็นหมันด้วยรังสีชนิดก่อไอออน แล้วปล่อยไปในธรรมชาติ แมลงตัวเมียที่ได้รับการผสมพันธุ์กับแมลงตัวผู้ที่เป็นหมัน จะไม่สามารถขยายพันธุ์ต่อไปได้ การควบคุมแมลงวิธีนี้ จะต้องปล่อยแมลงที่เป็นหมันจำนวนมากหลายรุ่นต่อเนื่องกัน จนกว่าประชากรแมลงลดลงหรือหมดไป ข้อดีของวิธีการนี้เมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการใช้ยาฆ่าแมลง คือ ไม่มีสารพิษตกค้างในผลิตผลการเกษตร และไม่ทำลายแมลงที่เป็นประโยชน์ ประเทศไทยมีการใช้วิธีการนี้ควบคุมแมลงวันผลไม้ (Oriental fruit fly) ที่ดอยอ่างขาง อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ อำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง และ อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา [พลังงาน] |
Acetate Ions | อาซีเตทไอออน, อาซีเตตอิออน [การแพทย์] |
Adsorption of Ions, Specific | การเลือกดูดซับไอออนส์ [การแพทย์] |
Anions | ประจุลบ, อิออนลบ, อิออนที่มีประจุลบ, ไอออนประจุลบ, อนุภาคที่มีประจุลบ, อิออนประจุลบ, แอนไอออน, แอนไออ้อน, ไอออนลบ, แอนอิออน, อีออนลบ [การแพทย์] |
Antibiotics, Ion Conduction | ยาปฎิชีวนะเป็นตัวนำไอออน [การแพทย์] |
Carban Ion | คาร์แบนไอออน [การแพทย์] |
Carboxylate Ion | ไอออนคาร์บอกซิเลต [การแพทย์] |
Cation Exchange | การแลกเปลี่ยนแคทไออ็อนการแลกเปลี่ยนแคทไอออน [การแพทย์] |
Cations | อิออนบวก, ไอออนประจุบวก, แคทไอออน, แคทอิออน, แคทไออ้อน, แคตไอออน, ประจุบวก, ไอออนบวก, อิออนที่มีประจุบวก, อีออนบวก, แคตอิออน, อานุภาคที่มีประจุบวก, อิออนประจุบวก [การแพทย์] |
Cations, Divalent | ไดวาเลนต์แคตไอออน [การแพทย์] |
Cations, Intracellular | แคตไอออนภายในเซลล์ [การแพทย์] |