Green fluorescent protein | โปรตีนเรืองแสงสีเขียว [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
พระกลด | [ กฺลด ] น. ร่มขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ขอบร่มมีระบาย คันยาวกว่าก้านร่ม ใช้ถือกั้นเจ้านาย หรือพระภิกษุที่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์, ราชาศัพท์ว่า พระกลด, เรียกร่มขนาดใหญ่มีด้าม สำหรับพระธุดงค์โดยเฉพาะ, เรียกดวงอาทิตย์หรือดวงจันทร์ที่มีแสงสีรุ้งเป็นวงกลมล้อมรอบว่า ดวงอาทิตย์ทรงกลด ดวงจันทร์ทรงกลด. (ข. กฺลส). [ศัพท์พระราชพิธี] |
Blue Light | แสงสีน้ำเงิน [การแพทย์] |
Foveal Light Reflex | จุดสะท้อนแสงสีขาวเล็กๆ [การแพทย์] |
cone cell | เซลล์รูปกรวย, เซลล์ประสาทในชั้นจอตา มีลักษณะเป็นรูปกรวย ทำหน้าที่บอกความแตกต่างของแสงสีต่าง ๆ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
colour blindness | ตาบอดสี, ความผิดปกติในการมองเห็นสีเนื่องจากไม่สามารถรับความรู้สึกจากแสงสีปฐมภูมิสีใดสีหนึ่งหรือทั้งสามสีได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
dispersion | การกระจาย, การแยกแสงที่ประกอบด้วยแสงซึ่งมีความยาวคลื่นต่าง ๆ ออกเป็นแสงที่มีความยาวคลื่นเฉพาะ โดยวิธีการหักเห เช่น เมื่อแสงสีขาวผ่านปริซึมจะเกิดการกระจายแสงสีขาวออกเป็นแสงสีต่าง ๆ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
filter | แผ่นกรองแสง, แผ่นวัสดุโปร่งแสงซึ่งมีสมบัติดูดกลืนแสงบางสีได้ ถ้านำแผ่นกรองแสงสีใดมากั้นทางเดินของแสงสีขาว แผ่นกรองแสงจะให้แสงสีนั้นทะลุผ่านไปได้โดยจะดูดกลืนแสงสีอื่นไว้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
ultraviolet rays [ black light ] | รังสีอัลตราไวโอเลต, แสงเหนือม่วง, รังสีที่มีแสงสีม่วงและรังสีเอกซ์ เป็นรังสีที่ตามองไม่เห็น เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า แสงดำ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
rainbow | รุ้ง, ปรากฏการณ์ทางแสงซึ่งปรากฏเป็นแถบสเปกตรัมรูปโค้งในอากาศเหนือพื้น รุ้งเกิดจากแสงอาทิตย์ที่มาทางด้านหลังผู้สังเกตตกกระทบละอองน้ำในอากาศแล้วเกิดการหักเหการสะท้อนภายในและกระจายออกมาเป็นแสงสีต่าง ๆ รุ้งเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นให้เห็นภายหลังฝนตก หรือ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
spectrum | สเปกตรัม, แถบรังสีของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นต่าง ๆ กัน สเปกตรัมที่มองเห็นได้คือแสง เมื่อแสงขาวผ่านปริซึมจะเกิดการหักเหเป็นแสงสีต่าง ๆ ซึ่งเรียกสเปกตรัม ตั้งแต่ความยาวคลื่นน้อยไปหามากตามลำดับดังนี้ สีม่วง คราม น้ำเงิน เขียว เหลือง แสด แดง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
solar spectrum | สเปกตรัมของแสงอาทิตย์, แถบแสงสีที่เกิดขึ้นเมื่อให้แสงอาทิตย์ผ่านปริซึม แถบแสงสีของสเปกตรัมที่มองเห็นได้คือ ม่วง คราม น้ำเงิน เขียว เหลือง แสด แดง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
complementary colour | สีเติมเต็ม, สีของแสงคู่ใดคู่หนึ่ง ซึ่งเมื่อรวมกันแล้วให้ผลเป็นแสงสีขาว เช่น แสงสีน้ำเงินกับแสงสีเหลือง ต่างก็เป็นแสงสีเติมเต็มของกันและกัน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
secondary colour | สีทุติยภูมิ, สีที่เกิดจากการผสมของแสงสีปฐมภูมิ 2 สีหรือตัวสีปฐมภูมิ 2 สี [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
cyan | สีน้ำเงินเขียว, สีทุติยภูมิของแสงสี เป็นสีผสมของแสงสีน้ำเงินกับแสงสีเขียว [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
primary colour | สีปฐมภูมิ, แสงสีใด ๆ ของแสงสีจำนวน 3 สีคือ แสงสีแดง แสงสีเขียว และแสงสีน้ำเงิน เมื่อแสงทั้งสามสีนี้มารวมกันในปริมาณที่พอเหมาะจะให้แสงสีขาว [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
neon lamp | หลอดไฟฟ้านีออน, หลอดไฟฟ้าซึ่งภายในบรรจุแก๊สนีออนความดันต่ำและมีขั้วไฟฟ้า 2 ขั้วที่ให้อิเล็กตรอนได้อย่างอิสระ เมื่อผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในหลอด อิเล็กตรอนจะถูกปล่อยออกมาจากขั้วไฟฟ้าและไปทำให้อะตอมของแก๊สนีออนรอบ ๆ ขั้วแคโทดเปล่งแสงสีแดงออกมา [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
aurora | แสงออโรรา, สีแสงที่เกิดบริเวณขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้ เนื่องจากแก๊สบริเวณขั้วโลกถูกกระตุ้นด้วยสนามแม่เหล็กที่มีพลังงานสูงในบริเวณขั้วแม่เหล็กโลก ทำให้แก๊สเหล่านั้นปล่อยรังสีออกมา มีแสงสีต่าง ๆ รูปร่างเป็นระย้าคล้ายม่าน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
pigment | สี, สารสี, สารมีสีที่ทำให้วัตถุอื่นมีสีได้ ไม่ละลายในตัวทำละลาย แต่สามารถแขวนลอยอยู่ได้ ใช้ทำสีเคลือบผิว ผงสีแต่ละชนิดมีสมบัติเฉพาะตัวในการดูดกลืนและสะท้อนแสงสี จึงทำให้เห็นเป็นสีต่าง ๆ ได้ ในเซลล์พืชหรือสัตว์จะพบสารสีได้ เช่น พบที่คลอโรฟิลล์ เป็นสารสีเขียวซึ่งท [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Light, Green | แสงสีเขียว [การแพทย์] |