ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: เณร, -เณร- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ เณร | (n) Buddhist novice, See also: novice, Syn. สามเณร, Example: เณรเดินตามหลวงพ่อเพื่อขอรับบิณฑบาตจากชาวบ้าน, Count Unit: รูป | เณร | (n) novice, Syn. สามเณร, Example: เพราะความเป็นเด็กทำให้เณรน้อยรูปนักที่จะเรียนรู้ธรรมได้อย่างลึกซึ้ง และอยู่ในกฎระเบียบตลอด, Count Unit: รูป, Thai Definition: ผู้ดำรงเพศอย่างภิกษุ แต่สมาทานศีล 10 | เณร | (n) recruit, See also: private, (armed force) recruit, Syn. ไอ้เณร, พลทหาร, Thai Definition: เรียกพลทหารที่เข้าประจำการใหม่, Notes: (สำนวน) | สามเณร | (n) novice, See also: neophyte, Syn. เณร, Ant. พระ, พระสงฆ์ | สามเณร | (n) novice, Syn. เณร, Example: สามเณรชูก็ตัดสินใจลาเพศบรรพชิต ด้วยความรู้สึกเป็นห่วงพี่สาวร่วมมารดาที่ต้องต่อสู้ชีวิตด้วยความลำบาก, Count Unit: รูป, Thai Definition: ผู้ดำรงเพศอย่างภิกษุ แต่สมาทานศีล 10, Notes: (บาลี) | การบวชเณร | (n) ordination, See also: becoming a novice, Example: การบวชเณรมีหลายวัตถุประสงค์ อาจจะบวชเพื่อแก้บน บวชหน้าศพ บวชเพื่อศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัย, Thai Definition: การถือเพศเป็นสามเณร | เณรหน้าไฟ | (n) novice to become on one's funeral, Count Unit: รูป, Thai Definition: สามเณรที่บรรพชาเนื่องในพิธีเผาศพ | เณรหน้าไฟ | (n) novice to become on one's funeral, Count Unit: รูป, Thai Definition: สามเณรที่บรรพชาเนื่องในพิธีเผาศพ | เณรหางนาค | (n) novice called, Count Unit: รูป, Thai Definition: สามเณรที่บวชพร้อมกับผู้บวชเป็นภิกษุ โดยบวชต่อท้ายพิธีบวชพระ | เณรหางนาค | (n) novice called, Count Unit: รูป, Thai Definition: สามเณรที่บวชพร้อมกับผู้บวชเป็นภิกษุ โดยบวชต่อท้ายพิธีบวชพระ |
|
| เณร | น. สามเณร. | เณรหน้าไฟ | น. กุลบุตรที่บวชเป็นสามเณรเนื่องในพิธีเผาศพ. | เณรหางนาค | น. กุลบุตรที่บวชเป็นสามเณรต่อท้ายพิธีบวชพระ. | สามเณร | (สามมะเนน) น. ผู้ดำรงเพศอย่างภิกษุ แต่สมาทานศีล ๑๐, เรียกสั้น ๆ ว่า เณร. | สามเณรี | (สามมะ-) น. หญิงที่บวชเป็นสามเณร. | กระฎี | น. เรือนหรือตึกสำหรับพระภิกษุสามเณรอยู่. | กลองเพล | (-เพน) น. กลองทัดขนาดใหญ่ใช้ตีเป็นสัญญาณบอกเวลา ๑๑ นาฬิกา เพื่อภิกษุสามเณรจะได้ฉันเพล. | กะดี | น. ที่อยู่ของนักบวชเช่นพระภิกษุ, เรือนหรือตึกสำหรับพระภิกษุสามเณรอยู่ เช่น วัดกะดีทอง (สามดวง) | กัณฑ์เทศน์ | น. สิ่งของหรือไทยธรรมสำหรับถวายพระภิกษุสามเณรผู้แสดงพระธรรมเทศนา, เครื่องกัณฑ์ ก็ว่า | กัปปีย์ | (กับปี) น. กับข้าว (ใช้เฉพาะภิกษุสามเณร), มักใช้เข้าคู่กับคำ จังหัน ว่า กัปปีย์จังหัน. | กุฎี | น. ที่อยู่ของนักบวชเช่นพระภิกษุ, เรือนหรือตึกสำหรับพระภิกษุสามเณรอยู่, โบราณเรียกว่า กะดี | กุฏิ ๑ | (กุด, กุดติ, กุติ) น. เรือนหรือตึกสำหรับพระภิกษุสามเณรอยู่. | เกาะชายผ้าเหลือง | ก. พึ่งพาผลบุญจากผู้ที่บวชเป็นพระภิกษุสามเณร เช่น ถ้ามีลูกชายก็จะได้บวชให้พ่อแม่ได้เกาะชายผ้าเหลือง. | เครื่องกัณฑ์ | น. สิ่งของหรือไทยธรรมสำหรับถวายพระภิกษุสามเณรผู้แสดงพระธรรมเทศนา, กัณฑ์เทศน์ ก็ว่า. | โค่ง ๒ | น. คำเรียกผู้บรรพชาเป็นสามเณรมาจนอายุครบอุปสมบทเป็นภิกษุแต่ไม่ยอมอุปสมบท ว่า เณรโค่ง. | จัว | น. สามเณร. | จำวัด | ก. นอนหลับ (ใช้แก่ภิกษุสามเณร). | จีวร, จีวร- | (จีวอน, จีวอนระ-) น. เครื่องนุ่งห่มของภิกษุสามเณรในพระพุทธศาสนา, ผ้าสำหรับห่มของภิกษุสามเณร, คู่กับ สบง, ภาษาปากเรียก ผ้าเหลือง. [ ในพระพุทธศาสนา จีวร ในคำว่า บาตรจีวร หรือ ไตรจีวร หมายเอาผ้าทั้ง ๓ อย่าง คือ ผ้าทาบ (สังฆาฏิ) ผ้าห่ม (จีวร) และผ้านุ่ง (สบง), ในคำว่า สบง จีวร สังฆาฏิ หมายเอาแต่ผ้าห่มอย่างเดียว ]. | จู้ ๑ | น. นม, ใช้ว่า นมจู้ เช่น มาฉกชักผ้าห่มชมชู นมจู้เจ้าเณรนี้ราคี (ขุนช้างขุนแผน). | เจริญพร | เป็นคำเริ่มที่ภิกษุสามเณรพูดกับสุภาพชน และเป็นคำรับ. | เจ้าประคุณ | ส. คำที่ภิกษุสามเณรหรือคฤหัสถ์ใช้เรียกสมเด็จพระราชาคณะ, ใช้เต็มว่า ท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒. | เจ้าพระคุณ | ส. คำที่ภิกษุสามเณรหรือคฤหัสถ์ใช้เรียกสมเด็จพระราชาคณะ, ใช้เต็มว่า ท่านเจ้าพระคุณสมเด็จฯ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒, ใช้ว่า เจ้าประคุณ ก็มี. | ฉัน ๒ | ก. กิน (ใช้แก่ภิกษุสามเณร). | ชี่ | น. ยาย้อมฟัน ทำจากกะลามะพร้าวเผาไฟแล้วบดให้ละเอียด ใช้สีเพื่อให้ฟันดำเป็นมัน เช่น เอาชี่สีฟันเป็นมันขลับ กระจกส่องเงาวับดูจับแสง (ขุนช้างขุนแผน ตอนพลายแก้วบวชเณร), สี้ ก็เรียก. | ณ ๑ | (นอ) พยัญชนะตัวที่ ๑๙ เรียกว่า ณอ เณร เป็นอักษรต่ำ ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากนหรือแม่กน เช่น คุณ บัณฑิต. | ติดกัณฑ์เทศน์ | ก. เอาเงินติดต้นเทียนบูชาภิกษุหรือสามเณรที่เทศน์, เอาเงินหรือสิ่งของบูชาธรรมเนื่องในการเทศน์. | ถึงแก่มรณภาพ | ก. ตาย (ใช้แก่พระภิกษุสามเณร หรือนักบวชในลัทธิศาสนาอื่น), ที่ใช้สั้น ๆ ว่า ถึงมรณภาพ หรือ มรณภาพ ก็มี. | ถึงมรณภาพ | ก. ตาย (ใช้แก่พระภิกษุสามเณร หรือนักบวชในลัทธิศาสนาอื่น), มรณภาพ ก็ว่า, ใช้เต็มว่า ถึงแก่มรณภาพ. | ทองขาว | น. โลหะสีขาวแกมเทา บุเป็นแผ่นรีดเป็นลวดได้ อาจหมายถึงโลหะนิกเกิล หรือโลหะแพลทินัม ก็ได้ เช่น แลสิ่งของอันมิควรแก่สมณเปนต้น แลทองเหลือง ทองขาว ทองสำฤทธิ แก่ภิกษุสามเณร (สามดวง), แลรูปประพรรณทองขาวทองเหลืองทองแดงตกั่วสำฤท (สามดวง) | ทักขิไณยบุคคล | (-ไนยะ-) น. บุคคลผู้ควรรับทักษิณา ได้แก่ภิกษุ สามเณร และสมณพราหมณ์. | ทัณฑกรรม | (ทันดะ-, ทันทะ-) น. การลงโทษ, โทษที่ลงแก่สามเณรที่ประพฤติผิด | ทายก | (-ยก) น. ผู้ถวายจตุปัจจัยแก่ภิกษุสามเณร, ถ้าเป็นเพศหญิงเรียกว่า ทายิกา. | ธรรมาสน์ | (ทำมาด) น. ที่สำหรับพระภิกษุสามเณรนั่งแสดงธรรม. | นมักการ, นมัสการ | คำที่ใช้ขึ้นต้นและลงท้ายจดหมายที่มีไปถึงพระภิกษุสามเณร. | น้อย ๑ | โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่ด้อยความสำคัญหรือเป็นรอง เช่น ครูน้อย ผู้น้อย, แสดงความรู้สึกว่าน่ารักน่าเอ็นดู เช่น เณรน้อย เด็กน้อย น้องน้อย สาวน้อย หนูน้อย. | น้อย ๒ | น. คำเติมหน้าชื่อผู้ที่เคยบวชเป็นสามเณร, ถ้าเคยบวชเป็นภิกษุเติมหน้าชื่อว่า หนาน. | นักบวช | น. ผู้ที่ได้เข้าพิธีบวชตามลัทธิศาสนาต่าง ๆ เช่น ภิกษุ สามเณร บาทหลวง. | นิตยภัต | น. อาหารหรือค่าอาหารที่ถวายภิกษุสามเณรเป็นนิตย์, เงินงบประมาณแผ่นดินที่สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติได้รับการจัดสรรจากรัฐบาลเป็นประจำทุกปี เพื่อเบิกจ่ายถวายอุดหนุนอุปถัมภ์แก่พระภิกษุผู้ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ พระสังฆาธิการ พระเลขานุการ พระเปรียญธรรม ๙ ประโยค เป็นต้น. | นิมนต์ | ก. เชิญ, เชื้อเชิญ, (ใช้แก่พระภิกษุและสามเณร). | บรรพชา | (บันพะ-, บับพะ) น. การบวช เช่น บรรพชาเป็นกิจที่ทำได้ยาก, ถ้าใช้เข้าคู่กับคำ อุปสมบท เป็น บรรพชาอุปสมบท บรรพชา หมายความว่า การบวชเป็นสามเณร อุปสมบท หมายความว่า การบวชเป็นภิกษุ. | บรรพชา | (บันพะ-, บับพะ) ก. บวช เช่น พระพุทธเจ้าเสด็จออกบรรพชา วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามจัดบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน. | บวช ๑ | ก. ถือเพศเป็นภิกษุสามเณรหรือนักพรตอื่น ๆ. | บาตร | (บาด) น. ภาชนะชนิดหนึ่งสำหรับภิกษุสามเณรใช้รับอาหารบิณฑบาต. | บิณฑบาต | น. อาหาร (ใช้แก่พระภิกษุสามเณร) เช่น รับบิณฑบาต. | บิณฑบาต | ก. กิริยาที่พระภิกษุสามเณรรับของที่เขานำมาใส่บาตร, โดยปริยายหมายถึง กิริยาที่พระภิกษุสามเณรขอหรือขอร้อง เช่น เรื่องนี้ขอบิณฑบาตให้เลิกแล้วต่อกัน. | ปฏิคาหก | น. ผู้รับทาน หมายถึง สมณพราหมณ์ เช่น วันรุ่งพรุ่งนี้จะมีเหตุด้วยปฏิคาหก ยาจกจะมารับพระราชทาน (ม. ร่ายยาว กุมาร), คู่กับ ทายก คือ ผู้ถวายจตุปัจจัยแก่ภิกษุสามเณร. | ประคด | น. เครื่องคาดเอวหรืออกของพระภิกษุสามเณร, ถ้าเป็นสายถักเป็นแผ่นสำหรับคาดเอว เรียกว่า ประคดเอว, ถ้าเป็นผืนผ้าสำหรับคาดอก เรียกว่า ประคดอก, รัดประคด ก็เรียก | ปวารณา | (ปะวาระนา) ก. ยอมให้ภิกษุสามเณรขอหรือเรียกร้องเอาได้ เช่น ขอของจากผู้ปวารณา ใบปวารณา | ปัจจัย | เครื่องอาศัยยังชีพ, เครื่องอาศัยเลี้ยงชีวิตของบรรพชิตในพระพุทธ-ศาสนา ๔ อย่าง คือ จีวร (ผ้านุ่งห่ม) บิณฑบาต (อาหาร) เสนาสนะ (ที่อยู่) คิลานเภสัช (ยา) รวมเรียกว่า จตุปัจจัย คือ ปัจจัย ๔, โดยปริยายหมายถึง เงินตรา ก็ได้ (มักใช้แก่ภิกษุสามเณร) | ผ้ากราบ | น. ผ้าที่ภิกษุสามเณรใช้รองในเวลากราบพระ ซึ่งกลายมาจากผ้าสันถัต, (โบ) กราบพระ ก็ว่า. |
| integration | บูรณาการ, การรวมเข้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน, บูรณาการ มี ๒ ความหมาย <p>ความหมายที่ ๑ คือ ทำให้เป็นเนื้อเดียวกันโดยรวมหรือผสมผสานส่วนต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เช่น การสอนภาษาแบบบูรณาการ หมายถึง การรวมทักษะการพูด ฟัง อ่าน เขียน ไว้ในวิชาเดียวกัน, หลักสูตรแบบบูรณาการสำหรับภิกษุสามเณร เป็นหลักสูตรที่รวมหลักสูตรธรรมศึกษา บาลีศึกษา และสามัญศึกษา ให้เป็นหลักสูตรเดียว <p>ความหมายที่ ๒ หมายถึงเชื่อมหรือประสานกับสิ่งอื่นหรือหน่วยงานอื่น เช่น โรงเรียนหลายแห่งบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ากับศาสตร์สมัยใหม่ เพื่อให้เกิดการพัฒนาองค์ความรู้ที่มีรากฐานจากความเป็นไทยและนำไปสู่การ พัฒนาประเทศที่ยั่งยืน [การจัดการความรู้] | Buddhist novices | สามเณร [TU Subject Heading] |
| บวชเณร | [būat nēn] (v, exp) EN: become a novice FR: devenir novice | การบวชเณร | [kān būat nēn] (n, exp) EN: ordination ; becoming a novice FR: ordination d'un novice [ m ] | เณร | [nēn] (n) EN: novice monk ; novice FR: novice [ m ] ; jeune moine bouddhiste [ m ] ; néophte [ m ] (relig.) | ผีเสื้อเณรแอนเดอร์สัน | [phīseūa nēn Aēndoēsan] (n, exp) EN: Anderson's Grass Yellow | ผีเสื้อเณรจิ๋ว | [phīseūa nēn jiu] (n, exp) EN: Small Grass Yellow | ผีเสื้อเณรสามจุด | [phīseūa nēn sām jut] (n, exp) EN: Three-spot Grass Yellow | ผีเสื้อเณรส่าหรี | [phīseūa nēn sārī] (n, exp) EN: Chocolate Grass Yellow | ผีเสื้อเณรธรรมดา | [phīseūa nēn thammadā] (n, exp) EN: Common Grass Yellow | ผีเสื้อเณรยอดไม้ | [phīseūa nēn yøtmāi] (n, exp) EN: Tree Yellow |
| | neophyte | (นี'อะไฟทฺ) n. สมาชิกใหม่, เณร, ผู้เริ่มฝึกหัด | novice | (นอฟ'วิส) n. ผู้เพิ่งเริ่ม, ผู้เริ่มหัด, เณร, See also: novicehood n. |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |