ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: เคมี, -เคมี- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ เคมี | (n) chemistry, Example: นักเรียนสายวิทย์จะต้องเรียนเคมี ฟิสิกส์ และชีวะซึ่งเป็นวิชาที่ยากมาก, Count Unit: วิชา, Thai Definition: ชื่อวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพแขนงหนึ่ง ว่าด้วยองค์ประกอบของสารถึงเรื่องราวและสมบัติของสารต่างๆ ว่าประกอบกันขึ้นเป็นสารนั้นๆ ได้อย่างไร, Notes: (อังกฤษ) | เคมี | (n) chemical, Example: เขาพ่นน้ำยาเคมีลงบนต้นข้าวเพื่อป้องกันและกำจัดโรคแมลงศัตรูข้าว | ชีวเคมี | (n) biochemistry, Syn. วิชาชีวเคมี, Example: วิธีของชีวจิตเป็นการประยุกต์อาหารแม็คโครไบโอติกส์ ความรู้ทางชีวเคมีและโภชนศาสตร์ผสมผสานกับพุทธปรัชญา, Count Unit: วิชา, Thai Definition: วิชาเคมีสาขาหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับองค์ประกอบทางเคมีของสิ่งที่มีชีวิต และการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับองค์ประกอบเหล่านั้น ตลอดจนกระบวนการต่างๆ ที่ควบคุมการเปลี่ยนแปลงนั้นๆ | นักเคมี | (n) chemist, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านเคมี | สารเคมี | (n) chemicals, See also: chemical substance, Example: แม่น้ำลำคลองในปัจจุบันมีแนวโน้มจะเน่าเสียมากขึ้นเพราะมนุษย์ได้ทิ้งขยะ สารเคมี ปุ๋ย ซากสัตว์ น้ำสกปรกจากโรงงานผงซักฟอก ฯลฯ ลงไปในแม่น้ำ | ปุ๋ยเคมี | (n) chemical fertilizer, Example: สมัยนี้ชาวนานิยมใช้ปุ๋ยเคมีกันมากขึ้น | สูตรเคมี | (n) chemical formula, Example: อาจารย์สอนเขียนสูตรเคมีแบบต่างๆ ที่เข้าใจง่ายๆ ให้พวกเราทุกคน, Count Unit: สูตร, Thai Definition: หมู่สัญลักษณ์ของธาตุซึ่งเขียนขึ้นแทนสารใดสารหนึ่งเพื่อแสดงให้ทราบว่า 1 โมเลกุลของสารนั้นๆ ประกอบด้วยธาตุใดบ้าง และมีอย่างละกี่อะตอม | ปิโตรเคมี | (n) petrochemical, Example: นิคมอุตสาหกรรมส่วนใหญ่เป็นกิจการที่ผลิตเพื่อการส่งออกและการผลิตปิโตรเคมี, Thai Definition: สารที่ได้มาจากน้ำมันปิโตรเลียม | วัตถุเคมี | (n) chemicals, See also: substance obtained by chemistry, Example: ผู้เชี่ยวชาญกำลังอธิบายวิธีการเก็บและการใช้วัตถุเคมีอย่างปลอดภัย, Thai Definition: สารที่ได้จากการสังเคราะห์โดยกรรมวิธีทางเคมี | สมการเคมี | (n) chemical equation, Thai Definition: สมการที่เขียนขึ้นโดยอาศัยสัญลักษณ์ของธาตุ เพื่อแสดงปฏิกิริยาเคมีและปริมาณของธาตุต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยาเคมีนั้นๆ, Notes: (เคมี) | อาวุธเคมี | (n) chemical weapon, Example: การปฏิบัติการก่อการร้ายอิสลามนี้ มีความเป็นไปได้ที่จะมีการใช้ความรุนแรงสูงสุดถึงขั้นใช้อาวุธนิวเคลียร์ อาวุธชีวภาพ อาวุธเคมี หรืออาวุธร้ายทั่วๆ ไป | เคมีภัณฑ์ | (n) chemicals, See also: chemical supplies, chemical product, Example: การผลิตวัคซีนน้ำยาวินิจฉัยโรคและเคมีภัณฑ์หลายชนิดต้องใช้เทคโนโลยีชีวภาพเป็นปัจจัยสำคัญในการผลิต, Count Unit: ชนิด, Thai Definition: สารบริสุทธิ์ที่เตรียมได้โดยกรรมวิธีเคมีหรือที่ใช้ในกรรมวิธีเคมี | เภสัชเคมี | (n) pharmaceutical chemistry, See also: pharmacochemistry, Example: นักศึกษาลงทะเบียนเรียนวิชาเภสัชเคมีจำนวน 12 คน, Thai Definition: วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยการเตรียม การสังเคราะห์ การวิเคราะห์ และการทำสารเคมีที่ใช้เป็นยาให้ได้มาตรฐาน | วิศวกรรมเคมี | (n) chemical engineering, Example: วิศวกรรมเคมีเป็นวิชาชีพที่มีบทบาทในอุตสาหกรรมการผลิตส่วนใหญ่, Thai Definition: สาขาวิชาหนึ่งของวิศวกรรมศาสตร์ที่นำความรู้ทางเคมีมาผนวกใช้, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | เคมีอินทรีย์ | (n) organic chemistry, Count Unit: วิชา, Thai Definition: วิชาเคมีสาขาที่เกี่ยวกับสารประกอบทั้งสิ้นของธาตุคาร์บอน ยกเว้นเรื่องสารประกอบออกไซด์ สารประกอบซัลไฟด์ และโลหะคาร์บอเนต | ปฏิกิริยาเคมี | (n) chemical reaction, Example: การทำงานของเซลล์อาศัยปฏิกิริยาเคมีที่ซับซ้อนมากมายหลายอย่าง, Thai Definition: การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสารที่ทำปฏิกิริยากัน | เคมีอนินทรีย์ | (n) inorganic chemistry, Example: อรอนงค์เรียนต่อทางด้านเคมีอนินทรีย์, Thai Definition: วิชาเคมีแขนงที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับธาตุทั้งสิ้น และสารประกอบของธาตุเหล่านั้น ยกเว้นธาตุคาร์บอนซึ่งศึกษาแต่เพียงตัวธาตุคาร์บอน สารประกอบออกไซด์ สารประกอบซัลไฟด์ และโลหะคาร์บอเนตเท่านั้น | เครื่องพ่นสารเคมี | (n) sprayer, See also: spray can, Syn. เครื่องฉีดพ่นสารเคมี, Example: การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องมีปัจจัยที่เกี่ยวข้องและต้องคำนึงถึง ดังนี้คือ ประเภทของสารเคมี เครื่องพ่นสารเคมี, การผสมสารเคมี และเวลาของการใช้สารเคมี | เครื่องพ่นสารเคมี | (n) sprayer, See also: spray can, Syn. เครื่องฉีดพ่นสารเคมี, Example: การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องมีปัจจัยที่เกี่ยวข้องและต้องคำนึงถึง ดังนี้คือ ประเภทของสารเคมี เครื่องพ่นสารเคมี, การผสมสารเคมี และเวลาของการใช้สารเคมี | เครื่องพ่นสารเคมี | (n) sprayer, See also: spray can, Syn. เครื่องฉีดพ่นสารเคมี, Example: การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องมีปัจจัยที่เกี่ยวข้องและต้องคำนึงถึง ดังนี้คือ ประเภทของสารเคมี เครื่องพ่นสารเคมี, การผสมสารเคมี และเวลาของการใช้สารเคมี |
|
| เคมี | น. วิทยาศาสตร์กายภาพแขนงหนึ่ง ซึ่งกล่าวถึงเรื่องราวและสมบัติของสารต่าง ๆ ว่าประกอบกันขึ้นเป็นสารนั้น ๆ ได้อย่างไร และเมื่อสารนั้น ๆ แปรเปลี่ยนไปเป็นสารอื่นได้ปฏิกิริยาที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนั้น ๆ เป็นอย่างไร ทั้งกล่าวถึงการที่จะสังเคราะห์สารนั้น ๆ ขึ้นได้อย่างไรด้วย แบ่งออกเป็นสาขาต่าง ๆ อีกหลายสาขา เช่น เคมีอินทรีย์ เคมีอนินทรีย์ ชีวเคมี เคมีกายภาพ เคมีวิเคราะห์. | เคมีภัณฑ์ | น. สารบริสุทธิ์ที่เตรียมได้โดยกรรมวิธีเคมีหรือที่ใช้ในกรรมวิธีเคมี. | เคมีอนินทรีย์ | (-อะนินซี) น. วิชาเคมีแขนงที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับธาตุทั้งสิ้นและสารประกอบของธาตุเหล่านั้น ยกเว้นธาตุคาร์บอนซึ่งศึกษาแต่เพียงตัวธาตุคาร์บอน สารประกอบออกไซด์ สารประกอบซัลไฟด์ และโลหะคาร์บอเนตเท่านั้น. | เคมีอินทรีย์ | น. วิชาเคมีแขนงที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับสารประกอบทั้งสิ้นของธาตุคาร์บอน ยกเว้นเรื่องสารประกอบออกไซด์ สารประกอบซัลไฟด์ และโลหะคาร์บอเนต. | ชีวเคมี | น. วิชาเคมีสาขาหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับองค์ประกอบทางเคมีของสิ่งที่มีชีวิตและการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับองค์ประกอบเหล่านั้น ตลอดจนกระบวนการต่าง ๆ ที่ควบคุมการเปลี่ยนแปลงนั้น ๆ. | น้ำยาเคมี | น. ของเหลวซึ่งมีสารเคมีละลายอยู่. | ปุ๋ยเคมี | น. ปุ๋ยที่ผลิตขึ้นโดยกระบวนการทางเคมีให้มีธาตุอาหารหลักเพียงธาตุเดียวหรือหลายธาตุ | ปุ๋ยเคมี | ปุ๋ยวิทยาศาสตร์. | เภสัชเคมี | (เพสัด-) น. วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยการเตรียม การสังเคราะห์ การวิเคราะห์ และการทำสารเคมีที่ใช้เป็นยาให้ได้มาตรฐาน. | สมการเคมี | น. สมการที่เขียนขึ้นโดยอาศัยสัญลักษณ์ของธาตุ เพื่อแสดงปฏิกิริยาเคมีและปริมาณของธาตุต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยาเคมีนั้น ๆ. | สมมูลเคมี | น. จำนวนเลขที่บ่งแสดงนํ้าหนักของสารที่ทำปฏิกิริยาโดยทางตรงหรือทางอ้อมได้พอดีกับ ๑.๐๐๘ หน่วยนํ้าหนักเดียวกันของธาตุไฮโดรเจน หรือกับ ๘ หน่วยนํ้าหนักเดียวกันของธาตุออกซิเจน. | สูตรเคมี | น. หมู่สัญลักษณ์ของธาตุซึ่งเขียนขึ้นแทนสารใดสารหนึ่งเพื่อแสดงให้ทราบว่า ๑ โมเลกุลของสารนั้น ๆ ประกอบด้วยธาตุใดบ้าง และมีอย่างละกี่อะตอม เช่น H2O เป็นสูตรเคมีที่เขียนขึ้นแทนนํ้า เพื่อแสดงว่านํ้า ๑ โมเลกุล ประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจน ๒ อะตอม และธาตุออกซิเจน ๑ อะตอม. | กรด ๑ | มีความหมายหลายอย่าง สุดแล้วแต่ทฤษฎีที่ใช้เป็นหลักกำหนด คือ เป็นสารเคมีที่ประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจน และเมื่อสารนี้ละลายนํ้าเป็นสารละลายแล้ว ไฮโดรเจนที่มีอยู่ทั้งหมดหรือบางส่วนต้องแปรสภาพออกมาเป็นไฮโดรเจนไอออน (H+) สารละลายที่ได้มีรสเปรี้ยวเปลี่ยนสีลิตมัสสีนํ้าเงินเป็นสีแดงได้ | กรด ๑ | สารเคมีที่มีสมบัติจ่ายโปรตอนให้แก่สารอื่นได้ | กรด ๑ | สารเคมีที่มีสมบัติรับอิเล็กตรอนคู่หนึ่งมาจากสารอื่นได้. | กระบวนการ | น. ปรากฏการณ์ธรรมชาติที่ค่อย ๆ เปลี่ยนแปลงอย่างมีระเบียบ ไปสู่ผลอย่างหนึ่ง เช่น กระบวนการเจริญเติบโตของเด็ก, กรรมวิธีหรือลำดับการกระทำซึ่งดำเนินต่อเนื่องกันไปจนสำเร็จลง ณ ระดับหนึ่ง เช่น กระบวนการเคมีเพื่อผลิตสิ่งใดสิ่งหนึ่ง. | ก๊าซเฉื่อย, แก๊สเฉื่อย | น. ธาตุที่เป็นแก๊ส มีสมบัติไม่ไวต่อปฏิกิริยาเคมี ได้แก่ ฮีเลียม นีออน อาร์กอน คริปทอน ซีนอน และเรดอน, ปัจจุบันเรียก ก๊าซมีตระกูลหรือแก๊สมีตระกูล (noble gases) ก๊าซหายากหรือแก๊สหายาก (rare gases). | กาเฟอีน | น. สารประกอบอินทรีย์ประเภทพิวรีน มีสูตรเคมี C8H10O2N4 ลักษณะเป็นผลึกสีขาว มีในใบชา เมล็ดกาแฟ เป็นยาเสพติดอย่างอ่อน มีฤทธิ์อย่างแรงต่อหัวใจ ใช้ในการแพทย์. | กาแฟ ๒ | น. ชื่อไม้พุ่มหลายชนิดในสกุล Coffea วงศ์ Rubiaceae เช่น ชนิด C. arabica L., C. canephora Pierre ex A. Froehner และ C. libericaBull. ex Hiern ชนิดหลังนี้ กาแฟใบใหญ่ ก็เรียก, กาแฟเป็นพืชแถบทวีปแอฟริกา ปลูกเป็นพืชเศรษฐกิจ เมล็ดแก่คั่วแล้วบด ใช้ชงเป็นเครื่องดื่ม ในเมล็ดกาแฟมีสารเคมีชนิดหนึ่ง เรียกว่า กาเฟอีน. | การกลั่นทำลาย | น. กรรมวิธีที่ให้ความร้อนสูงแก่สารอินทรีย์โดยไม่ให้อากาศเข้า เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีขึ้นแก่สารนั้น ให้ผลเป็นสารที่ระเหยได้และแยกตัวออกมา เช่น การกลั่นทำลายขี้เลื่อย ให้ผลเป็นเมทิลแอลกอฮอล์ กรดนํ้าส้ม และสารอื่นอีก, การกลั่นทำลายถ่านหิน ให้ผลเป็นแก๊สถ่านหินที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ นํ้ามันเบนซิน ลูกเหม็นกันแมลงสาบ และสารอื่นที่มีประโยชน์อีกมาก กากที่เหลือเรียกว่า ถ่านโค้ก. | แกล้งดิน | ก. กระบวนการแก้ปัญหาสภาพดินเปรี้ยวตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยใช้กรรมวิธีเร่งปฏิกิริยาเคมีในดิน ทำให้ดินเปรี้ยวอย่างรุนแรงแล้วใช้ระบบชลประทานนำน้ำมาเจือจางดินเปรี้ยวทำสลับไปมา จนเปลี่ยนสภาพดินให้สามารถเพาะปลูกได้. | ควบแน่น | น. กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางเคมีในลักษณะซึ่งโมเลกุลของสารตั้งแต่ ๒ โมเลกุลขึ้นไปเข้ารวมตัวกันเป็นโมเลกุลใหญ่ขึ้นของสารใหม่ โดยวิธีขจัดโมเลกุลของนํ้าหรือโมเลกุลของสารอื่นออกไป | คาร์บอนไดออกไซด์ | น. ชื่อแก๊สชนิดหนึ่ง ไม่มีสี สูตรเคมี CO2 มีปรากฏในบรรยากาศ เกิดจากการเผาไหม้โดยสมบูรณ์ของธาตุคาร์บอนหรือสารอินทรีย์ เป็นแก๊สหนักกว่าอากาศและไม่ช่วยการเผาไหม้ จึงใช้ประโยชน์ในการดับเพลิง ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องดื่มอัดลม เช่น นํ้าโซดา นํ้าหวาน ใช้ทำนํ้าแข็งแห้ง ซึ่งเป็นตัวทำความเย็น. | คาร์บอนมอนอกไซด์ | (-มอน็อก-) น. ชื่อแก๊สชนิดหนึ่ง ไม่มีสี สูตรเคมี CO เป็นแก๊สพิษร้ายแรง จุดไฟติดในอากาศให้เปลวสีนํ้าเงินอ่อน เกิดจากการเผาไหม้โดยไม่สมบูรณ์ของธาตุคาร์บอน มีปรากฏในแก๊สจากท่อไอเสียของเครื่องยนต์ ใช้ประโยชน์เป็นแก๊สเชื้อเพลิง ใช้เตรียมเมทิลแอลกอฮอล์ในอุตสาหกรรม. | คาร์บอลิก | น. สารฟีนอล (phenol) มีสูตรเคมี C6H5OH ลักษณะเป็นผลึกสีขาว มีกลิ่น ละลายนํ้าได้บ้าง มีฤทธิ์กัด เป็นพิษ ใช้ประโยชน์เป็นยาล้างเชื้อโรค ใช้ในอุตสาหกรรมผลิตพลาสติก และสีย้อมผ้า มักเรียกคลาดเคลื่อนว่า กรดคาร์บอลิก. | คาร์โบรันดัม | น. สารสีดำแข็งมาก ชื่อเคมีว่า ซิลิคอนคาร์ไบด์ มีสูตร SiC ใช้ประโยชน์ทำหินสำหรับขัด ใช้ผสมกับคอนกรีตเพื่อทำขั้นบันไดตึก ใช้ทำวัสดุทนไฟ. | คาร์โบไฮเดรต | (-เดฺรด) น. ชื่อกลุ่มสารประกอบอินทรีย์ ซึ่งประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน ส่วนใหญ่มีสูตรเคมี Cx(H2O)y แบ่งออกเป็น ๒ ประเภทใหญ่ คือ นํ้าตาลและพอลิแซ็กคาไรด์ เป็นสารอาหารที่สำคัญมากประเภทหนึ่ง. | เคลือบ | (เคฺลือบ) ก. ไล้ ทา หรือพอกผิวเดิมด้วยของเหลวบางชนิด แล้วทิ้งไว้ให้เย็นจนแข็งตัว เช่น เคลือบนํ้าตาล เคลือบยาพิษ, ทาผิวนอกด้วยนํ้ายาเคมีแล้วใช้ความร้อนอบให้นํ้ายาเกาะแน่น, เรียกสิ่งที่เคลือบโดยกรรมวิธีเช่นนั้น ว่า เครื่องเคลือบ | แคลเซียมคาร์ไบด์ | น. ชื่อสารประกอบ มีสูตรเคมี CaC2 ลักษณะเป็นของแข็งสีเทา เมื่อทำปฏิกิริยากับนํ้าจะได้แก๊สอะเซทิลีนซึ่งจุดไฟติดให้ความสว่าง ใช้เป็นตะเกียงได้. | แคลเซียมไซคลาเมต | น. ชื่อสารประกอบ มีสูตรเคมี (C6H11NHSO3)2Ca. 2H2O ลักษณะเป็นผงสีขาว ละลายนํ้าได้ มีรสหวานมากกว่านํ้าตาลทรายมาก ใช้เป็นตัวให้ความหวานในเครื่องดื่ม มีหลักฐานว่าสารนี้ก่อให้เกิดโรคมะเร็งได้. | เฉื่อย ๒ | ว. ไม่เปลี่ยนไปง่ายโดยปฏิกิริยาเคมี, ไม่ไวต่อปฏิกิริยาเคมี. | ซักแห้ง | ก. ทำความสะอาดเสื้อผ้าหรือสิ่งทอต่าง ๆ ด้วยวิธีพิเศษ เช่นใช้สารเคมีโรยบนรอยเปื้อนแล้วปัดออก หรือแช่ลงในสารละลายเคมี. | ซีเซียม | น. ธาตุลำดับที่ ๕๕ สัญลักษณ์ Cs เป็นโลหะสีเงิน ไวต่อปฏิกิริยาเคมีมาก หลอมละลายที่ ๒๘.๗ ºซ. | ซีเมนต์ | น. วัสดุใช้ในการก่อสร้างชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นผง เมื่อผสมคลุกกับนํ้าแล้วทิ้งไว้จะเกิดปฏิกิริยาเคมีเป็นผลให้เกิดการก่อตัวและแข็งตัวได้ องค์ประกอบเคมีที่สำคัญของซีเมนต์ คือ แคลเซียมซิลิเกต แคลเซียมอะลูมิเนต และแคลเซียมอะลูมิโนเฟอร์ไรต์ ใช้ประโยชน์เพื่อทำคอนกรีต ปูนฉาบ หรือ ปูนก่อเป็นต้น เรียกว่า ปูนซีเมนต์. | ซีลีเนียม | น. ธาตุลำดับที่ ๓๔ สัญลักษณ์ Se เป็นอโลหะ มีสมบัติทางเคมีคล้ายกับธาตุกำมะถัน ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๒๑๗ ºซ. ใช้ประโยชน์ทำเซลล์ไฟฟ้าชนิดที่ใช้พลังงานแสง. | เซลล์ ๒ | น. อุปกรณ์ผลิตไฟฟ้าซึ่งใช้ปฏิกิริยาเคมีในการเปลี่ยนพลังงานในสารเคมีให้เป็นพลังงานไฟฟ้าเช่นถ่านไฟฉาย ถ่านกระดุม และส่วนย่อยของแบตเตอรี่, เรียกเต็มว่า เซลล์ไฟฟ้า. | เซลลูโลส | น. สารประกอบคาร์โบไฮเดรตประเภทโพลีแซ็กคาไรด์ชนิดที่ซับซ้อน มีสูตรเคมี (C6H10O5)nประกอบด้วยโมเลกุลของกลูโคสมากมายเชื่อมโยงกัน เซลลูโลสเป็นองค์ประกอบสำคัญของเนื้อไม้ ฝ้าย ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมพลาสติก กระดาษ ไหมเทียม ดินระเบิด ฟิล์มภาพยนตร์ หรือฟิล์มถ่ายรูปชนิดไม่ไวไฟ เป็นต้น. | แซ็กคาริน | น. ชื่อสารประกอบเคมี มีสูตร C6H4SO2·CONH ลักษณะเป็นผลึกสีขาว ละลายนํ้าได้เล็กน้อย มีความหวานประมาณ ๕๕๐ เท่าของนํ้าตาลทราย ไม่มีคุณค่าทางอาหาร ในทางแพทย์ใช้แทนนํ้าตาลทรายสำหรับคนไข้ที่เป็นโรคเบาหวานและคนที่อ้วนมาก. | โซเดียมไซคลาเมต | น. ชื่อสารประกอบเคมี มีสูตร C6H11NHSO3Na ลักษณะเป็นผงสีขาว ละลายนํ้าได้ มีรสหวานกว่านํ้าตาลทรายมาก ใช้เป็นตัวให้ความหวานในเครื่องดื่ม มีหลักฐานว่าสารนี้ก่อให้เกิดโรคมะเร็งได้. | โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต | น. เกลือกรดชนิดหนึ่ง มีสูตร NaHCO3 ลักษณะเป็นผงสีขาว ใช้ประโยชน์เป็นตัวทำให้ขนมมีลักษณะฟูพรุน เช่น ขนมปัง ใช้เป็นองค์ประกอบเคมีในเครื่องดับเพลิง ทางแพทย์ใช้เป็นตัวลดกรดในกระเพาะอาหาร. | ดินประสิว | น. สารเคมีชื่อโพแทสเซียมไนเทรต ใช้ทำวัตถุระเบิด ดอกไม้ไฟ ทำปุ๋ย เป็นต้น. | ดินระเบิด | น. วัตถุเคมีชนิดหนึ่ง มีประสิทธิภาพในการระเบิดทำลาย. | ดีดีที | น. ชื่อสารประกอบเคมี มีชื่อเต็มว่า dichloro-diphenyltrichloroethane มีสูตร (C6H4Cl)2CHCCl3 ลักษณะเป็นของแข็งสีขาว ใช้ประโยชน์เป็นสารอย่างแรงในการฆ่าแมลง. | ต้ม ๑ | ทำให้สะอาด เช่น ต้มผ้า, ทำให้สุกปลั่งด้วยวิธีใส่น้ำผสมสารเคมีบางอย่างแล้วทำให้ร้อน เช่น ต้มทอง ต้มเงิน. | เตรียม | ทำให้เกิดสารเคมีที่ต้องการจากสารเคมีอื่นด้วยกระบวนการทางเคมี เช่น เตรียมแก๊สออกซิเจนจากดินประสิว. | ถม ๑ | ใช้น้ำยาเคมีใส่ลงในพื้นที่เป็นร่องระหว่างลวดลายในเครื่องเงิน แล้วใช้ความร้อนอบให้น้ำยาติดและให้พื้นเป็นสีดำ, ถมดำ ถมยา หรือ ลงถม ก็ว่า, เรียกเต็มว่า ถมยาดำ. | ถมดำ | ก. ใช้น้ำยาเคมีใส่ลงในพื้นที่เป็นร่องระหว่างลวดลายในเครื่องเงิน แล้วใช้ความร้อนอบให้น้ำยาติดและให้พื้นเป็นสีดำ, ถม ถมยา หรือ ลงถม ก็ว่า, เรียกเต็มว่า ถมยาดำ. | ถมยา | ก. ใช้น้ำยาเคมีใส่ลงในพื้นที่เป็นร่องระหว่างลวดลายในเครื่องเงิน แล้วใช้ความร้อนอบให้น้ำยาติดและให้พื้นเป็นสีดำ, ถม ถมดำ หรือ ลงถม ก็ว่า, เรียกเต็มว่า ถมยาดำ. | เทลลูเรียม | น. ธาตุลำดับที่ ๕๒ สัญลักษณ์ Te ลักษณะเป็นของแข็ง สีขาวคล้ายเงิน มีสมบัติทางเคมีคล้ายธาตุกำมะถัน หลอมละลายที่ ๔๔๙.๕ °ซ. มีหลายอัญรูป ใช้ประโยชน์ผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ และใช้ในอุตสาหกรรมทำแก้วสี. | ไทเทรต | (-เทฺรด) ก. หยดสารละลายหนึ่งจากหลอดแก้วที่มีขีดบอกปริมาตรซึ่งเรียกว่าบิวเรตต์ลงในสารละลายอื่นซึ่งทราบปริมาตรแล้ว เพื่อให้ทำปฏิกิริยาเคมีกันจนกระทั่งปฏิกิริยาสิ้นสุด. |
| pharmaceutical chemistry; pharmacochemistry | เคมีเภสัช [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pneumatolysis | การเปลี่ยนแปลงทางเคมีเพราะไอร้อน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | physiochemical | -สรีรเคมี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | physiochemistry; chemistry, physiological | สรีรเคมี [ มีความหมายเหมือนกับ biochemistry, human ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pharmacochemistry; chemistry, pharmaceutical | เคมีเภสัช [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | photochemical process | กระบวนการโฟโตเคมี [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] | photochemical smog | หมอกปนควันแบบโฟโตเคมี [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] | photochemical smog | หมอกควันแบบโฟโตเคมี [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | principle | ๑. องค์ประกอบทางเคมี๒. สารสำคัญ๓. หลัก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | prophylaxis, chemical | การป้องกันโรคด้วยสารเคมี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | physiological chemistry; physiochemistry | สรีรเคมี [ มีความหมายเหมือนกับ biochemistry, human ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | photochemical oxidant | ตัวออกซิไดส์โฟโตเคมี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | phytochemistry | พฤกษเคมี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | radiochemistry | รังสีเคมี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | stimulus, chemical | ตัวกระตุ้นเคมี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | biogeochemical prospecting | การสำรวจชีวธรณีเคมี [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | biogeochemistry | วิชาชีวธรณีเคมี [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | BOD (biochemical oxygen demand) | บีโอดี (ความต้องการออกซิเจนทางชีวเคมี) [ มีความหมายเหมือนกับ biological oxygen demand ] [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | biochemical deposit | สิ่งทับถมชีวเคมี [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | biochemical oxygen demand (BOD) | ความต้องการออกซิเจนทางชีวเคมี (บีโอดี) [ มีความหมายเหมือนกับ biological oxygen demand ] [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | biochemical rock | หินชีวเคมี [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | biochemistry | ชีวเคมี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | biochemistry, human | มนุษยชีวเคมี [ มีความหมายเหมือนกับ chemistry, physiological; physiochemistry ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | chemistry, clinical | เคมีคลินิก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | chemistry, food | เคมีอาหาร [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | chemistry, pharmaceutical; pharmacochemistry | เคมีเภสัช [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | chemistry, physiological; physiochemistry | สรีรเคมี [ มีความหมายเหมือนกับ biochemistry, human ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | chemoautotrophic | -สร้างอาหารได้เองทางเคมี [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | chemosynthesis | การสังเคราะห์ทางเคมี [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | chemotaxonomy | เคมีอนุกรมวิธาน [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | chemotherapy | เคมีบำบัด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | crystal chemistry | เคมีผลึก [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | COD (chemical oxygen demand) | ซีโอดี (ความต้องการออกซิเจนทางเคมี) [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | chemical diabetes | เบาหวานเชิงเคมี [ มีความหมายเหมือนกับ diabetes, latent; prediabetes ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | chemical limestone | หินปูนเคมี [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | chemical oxygen demand (COD) | ความต้องการออกซิเจนทางเคมี (ซีโอดี) [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | chemical prophylaxis | การป้องกันโรคด้วยสารเคมี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | chemical remanent magnetisation | การเป็นแม่เหล็กถาวรเคมี [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | chemical stimulus | ตัวกระตุ้นเคมี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | chemical weathering | การผุพังทางเคมี [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | clinical chemistry | เคมีคลินิก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | diabetes, chemical | เบาหวานเชิงเคมี [ มีความหมายเหมือนกับ diabetes, latent; prediabetes ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | geochemical facies | ชุดลักษณ์ธรณีเคมี [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | geochemical prospecting; geochemical exploration | การสำรวจโดยธรณีเคมี [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | geochemistry | ธรณีเคมี [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | geochemical exploration; geochemical prospecting | การสำรวจโดยธรณีเคมี [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | food chemistry | เคมีอาหาร [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | environmental geochemistry | ธรณีเคมีสิ่งแวดล้อม [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | immunochemistry | เคมีภูมิคุ้มกัน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | zoochemistry | สัตวเคมี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Enzyme | เอนไซม์ โปรตีนที่ทำหน้าที่เร่งปฏิกิริยาเคมี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Precipitation (Chemistry) | การตกตะกอน (เคมี) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Chemical synthesis in solution | การสังเคราะห์ทางเคมีในสารละลาย [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Electrochemical synthesis | การสังเคราะห์โดยวิธีทางไฟฟ้า-เคมี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Electrochemical analysis | การวิเคราะห์ทางเคมีำไฟฟ้า [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Chemotheraphy | เคมีบำบัด [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Soil biochemistry | ชีวเคมีของดิน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Clinical biochemistry | ชีวเคมีคลินิก [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Veterinary clinical niochemistry | ชีวเคมีคลินิกทางสัตวแพทยศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Biochemical engineering | วิศวกรรมชีวเคมี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Partition coefficient (Chemistry) | สัมประสิทธิ์การแบ่งละลาย (เคมี) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Rubber chemical | สารเคมียาง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Phytochemicals | สารพฤกษเคมี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Solution (Chemistry) | สารละลาย (เคมี) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Chemical weapons | อาวุธเคมี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Petrochemical Industry | อุตสาหกรรมปิโตรเคมี, Example: อุตสาหกรรมที่นำเอาวัตถุดิบซึ่งมีองค์ประกอบของสารไฮโดรคาร์บอนไปเข้ากระบวนการเพื่อเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์ให้สูงขึ้น ปิโตรเลียมที่ใช้เป็นวัตถุดิบได้แก่ ก๊าซธรรมชาติ คอนเดนเสท น้ำมันดิบ แนฟทา ก๊าซอีเทน โพรเพน บิวเทน เป็นต้น มาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในลักษณะเม็ดและผงพลาสติก สำหรับเป็นวัตถุดิบในการผลิตผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปพลาสติกนานาชนิด [ปิโตรเลี่ยม] | Inert Gas | ก๊าซซึ่งไม่มีปฏิกิริยาทางเคมีกับสารอื่น , ก๊าซซึ่งไม่มีปฏิกิริยาทางเคมีกับสารอื่น ได้แก่ ก๊าซ Helium, Neon, Argon, Krypton, Xenon, Radon [ปิโตรเลี่ยม] | Chemical bonds | พันธะเคมี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Chemical analysis | การวิเคราะห์ทางเคมี [เศรษฐศาสตร์] | Chemical industry | อุตสาหกรรมเคมี [เศรษฐศาสตร์] | Chemical process control | การควบคุมกระบวนการทางเคมี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Atom | อะตอม, หน่วยที่เล็กที่สุดที่ยังคงสมบัติทางเคมีของธาตุ โครงสร้างของอะตอมประกอบด้วยนิวเคลียสอยู่ตรงกลางและอิเล็กตรอนอยู่ในวงโคจรรอบนิวเคลียส นิวเคลียสประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอน ในสภาพปกติอะตอมมีจำนวนอิเล็กตรอนเท่ากับโปรตอน [นิวเคลียร์] | Chemical shim | สารเคมีเสริมการควบคุม, สารเคมี เช่น กรดบอริก ที่เติมเข้าไปในตัวทำให้เย็นของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์เพื่อเสริมการทำงานของแท่งควบคุมปฏิกิริยาแบ่งแยกนิวเคลียส โดยการดูดกลืนนิวตรอน, Example: [นิวเคลียร์] | Decontamination | การขจัดการเปื้อนสารกัมมันตรังสี, การใช้กระบวนการทางเคมี ฟิสิกส์ หรือชีวภาพ เพื่อให้สารกัมมันตรังสีทั้งหมดหรือบางส่วน หลุดออกจากสิ่งที่เปื้อน [นิวเคลียร์] | Electron | อิเล็กตรอน, อนุภาคมูลฐานที่เป็นส่วนประกอบของอะตอม มีประจุไฟฟ้าลบ และมีมวล 1 ใน 1873 ส่วนของมวลโปรตอน โดยแต่ละอะตอมจะมีอิเล็กตรอนจำนวนหนึ่งอยู่ล้อมรอบนิวเคลียสที่มีประจุบวก สำหรับอะตอมที่เป็นกลางจำนวนอิเล็กตรอนจะเท่ากับจำนวนโปรตอนและเป็นตัวกำหนดสมบัติทางเคมีของอะตอม [นิวเคลียร์] | Element | ธาตุ , สารที่ประกอบด้วยอะตอมที่มีเลขเชิงอะตอมเดียวกัน และไม่สามารถแบ่งแยกเป็นสารอื่นได้ด้วยวิธีทางเคมี เช่น ไฮโดรเจน ตะกั่ว ยูเรเนียม [นิวเคลียร์] | Agricultural chemistry | เกษตรกรรมเคมี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Waste pretreatment | การเตรียมบำบัดกากกัมมันตรังสี, การดำเนินการก่อนการบำบัดกากกัมมันตรังสี เช่น การรวบรวม การคัดแยก การปรับสภาพทางเคมี การชำระล้างความเปรอะเปื้อน [นิวเคลียร์] | Waste form | รูปแบบกากกัมมันตรังสี, รูปแบบทางกายภาพและทางเคมีของกากกัมมันตรังสีหลังการบำบัด และ/หรือ หลังการปรับสภาพ ซึ่งจะอยู่ในสภาพของแข็งพร้อมที่จะนำไปหีบห่อต่อไป เช่น กากขี้เถ้าจากการเผา กากแก้วอัด กากพลาสติกอัด กากวัสดุกรองอากาศอัด กากตะกอนเคมี กากที่ผนึกในซีเมนต์, Example: [นิวเคลียร์] | TNT equivalent | สมมูลทีเอ็นที, การวัดพลังงานที่ปลดปล่อยจากระเบิดนิวเคลียร์ โดยเทียบเป็นน้ำหนักของระเบิดทีเอ็นที (TNT, trinitrotoluene เป็นวัตถุระเบิดชนิดเคมี) ซึ่งปลดปล่อยพลังงานออกมาเท่ากัน มีหน่วยเป็นกิโลตันหรือเมกะตันของทีเอ็นที [นิวเคลียร์] | Radiolytic product | ผลผลิตการแยกสลายด้วยรังสี, สารประกอบทางเคมีที่เกิดขึ้นจากการฉายรังสีสารใดๆ เช่น การฉายรังสีอาหาร รังสีจะถ่ายเทพลังงานให้โมเลกุลต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบของอาหาร เช่น น้ำ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต วิตามิน ทำให้เกิดการแตกตัวเป็นโมเลกุลที่มีประจุไฟฟ้า และ เกิดการแยกสลาย ได้อนุมูลอิสระซึ่งไม่เสถียรและทำปฏิกิริยากับสารที่เป็นองค์ประกอบของอาหารได้สารประกอบต่างๆ ที่มีโมเลกุลเล็กลง [นิวเคลียร์] | Radioecology | นิเวศวิทยารังสี, การศึกษาผลกระทบของสารกัมมันตรังสีที่มีในธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้นต่อระบบนิเวศ สารกัมมันตรังสีอาจมีการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบและสมบัติทางเคมีของตัวมันเอง และมีวัฏจักรการเคลื่อนย้ายในระบบนิเวศภายในกลุ่มหรือระหว่างกลุ่มของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต (หิน ดิน น้ำ และอากาศ) ในสภาวะแวดล้อมต่างๆ กัน เข้าสู่ห่วงโซ่อาหารของสิ่งมีชีวิต ส่งผลกระทบทางชีววิทยาและการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ [นิวเคลียร์] | Radiochemical purity | ความบริสุทธิ์ทางเคมีรังสี, ความบริสุทธิ์ของสารประกอบกัมมันตรังสี ซึ่งมีสารกัมมันตรังสีในรูปแบบทางเคมีที่ต้องการ โดยคำนวณจากสัดส่วนกัมมันตภาพของสารกัมมันตรังสีในรูปแบบทางเคมีที่ต้องการต่อกัมมันตภาพของสารประกอบกัมมันตรังสีทั้งหมด <br>ความบริสุทธิ์ทางเคมีรังสี ใช้เป็นค่ากำหนดคุณภาพของสารเภสัชรังสีซึ่งมีสารประกอบกัมมันตรังสีในรูปแบบทางเคมีอื่นๆ เจือปนอยู่น้อยที่สุด ตามมาตรฐานเภสัชตำรับสหรัฐอเมริกา (United States Pharmacopoeia, USP) เภสัชตำรับอังกฤษ (British Pharmacopoeia, BP) และ เภสัชตำรับยุโรป (European Pharmacopoeia, EP) เช่น ในการผลิตสารไอโอดีน-131 (<sup>131I</sup>) ตามเภสัชตำรับสหรัฐอเมริกาต้องมีอัตราส่วนของสารประกอบกัมมันตรังสีในรูปโซเดียมไอโอไดด์ (Na<sup>131</sup>I) ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95 และสารประกอบกัมมันตรังสีที่มีธาตุไอโอดีนอยู่ในรูปแบบทางเคมีอื่นๆ ไม่เกินร้อยละ 5</br> [นิวเคลียร์] | Radioactive tracer | สารกัมมันตรังสีตามรอย, สารกัมมันตรังสีปริมาณน้อย ใช้ในกระบวนการทางชีวภาพ เคมี หรือกระบวนการอื่นๆ โดยติดตามการเคลื่อนที่ของสารกัมมันตรังสีในกระบวนการนั้น [นิวเคลียร์] | Radioactive decontamination | การขจัดการเปื้อนสารกัมมันตรังสี, การใช้กระบวนการทางเคมี ฟิสิกส์ หรือชีวภาพ เพื่อให้สารกัมมันตรังสีทั้งหมดหรือบางส่วน หลุดออกจากสิ่งที่เปื้อน [นิวเคลียร์] | Chemistry | เคมี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Solid state chemistry | เคมีของแข็ง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Soil chemistry | เคมีของดิน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Water chemistry | เคมีของน้ำ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Clinical chemistry | เคมีคลินิก [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Quantum chemistry | เคมีควอนตัม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Nuclear chemistry | เคมีนิวเคลียร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Chemistry, Physical and theoretical | เคมีฟิสิคัล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Electrochemistry | เคมีไฟฟ้า [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Chemistry, Analytic | เคมีวิเคราะห์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Environmental chemistry | เคมีสภาวะแวดล้อม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Chemical kinetics | จลนพลศาสตร์เคมี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Markush | คำที่อธิบายถึงชุดของสารประกอบทางเคมีที่ปรากฏในส่วนข้อถือสิทธิ, คำที่อธิบายถึงชุดของสารประกอบทางเคมีที่ปรากฏในส่วนข้อถือสิทธิ, Example: โดยแสดงโครงสร้างสารประกอบเคมีแบบเบื้องต้นพร้อมด้วยรายชื่อตัวแปรต่าง ๆ ที่อาจเข้าแทนที่ได้ [ทรัพย์สินทางปัญญา] | Pretreatment, waste | การเตรียมบำบัดกากกัมมันตรังสี, การดำเนินการก่อนการบำบัดกากกัมมันตรังสี เช่น การรวบรวม การคัดแยก การปรับสภาพทางเคมี การชำระล้างความเปรอะเปื้อน [นิวเคลียร์] | Nuclear reactions | ปฏิกิริยานิวเคลียร์, ปฏิกิริยาที่เกี่ยวเนื่องกับการเปลี่ยนแปลงภายในนิวเคลียสของอะตอม เช่น ฟิชชัน ฟิวชัน การจับยึดนิวตรอน หรือ การสลายกัมมันตรังสี ซึ่งแตกต่างกับปฏิกิริยาเคมี ที่จำกัดอยู่เพียงการเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างของอิเล็กตรอนที่อยู่รอบๆ นิวเคลียส [นิวเคลียร์] |
| อาวุธเคมี | [āwut khēmī] (n, exp) EN: chemical weapon FR: arme chimique [ f ] | ชีวเคมี | [chīwakhēmī] (n) EN: biochemistry FR: biochimie [ f ] | อินทรีย์เคมี | [insī khēmī] (n, exp) EN: organic chemistry FR: chimie organique [ f ] | การดัดแปลงเคมี | [kān datplaēng khēmī] (n, exp) EN: chemical modification FR: modification chimique [ f ] | เคมี | [khēmī] (n) EN: chemistry FR: chimie [ f ] | เคมี | [khēmī] (adj) EN: chemical FR: chimique | เคมีอนินทรีย์ | [khēmī aninsī] (n, exp) EN: inorganic chemistry FR: chimie inorganique | เคมีบำบัด | [khēmībambat] (n) EN: chemotherapy FR: chimiothérapie [ f ] | เคมีบริสุทธิ์ | [khēmī børisut] (n, exp) EN: pure chemistry FR: chimie pure [ f ] | เคมีไฟฟ้า | [khēmī faifā] (n, exp) EN: electrochemestry FR: électrochimie [ f ] | เคมีการคำนวณ | [khēmī kān khamnūan] (n, exp) EN: computational chemistry | เคมีภัณฑ์ | [khēmīphan] (n) EN: chemicals ; drugs | เคมีประยุกต์ | [khēmī prayuk] (n, exp) EN: applied chemistry FR: chimie appliquée [ f ] | เคมีศาสตร์ | [khēmīsāt] (n) EN: chemistry FR: chimie [ f ] | เคมีวิเคราะห์ | [khēmīsāt wikhrǿ] (n, exp) EN: analytical chemestry | ลักษณะของเคมี | [laksana khøng khēmī] (n, exp) EN: chemical properties FR: propriété chimique [ f ] | นักเคมี | [nakkhēmī] (n) EN: chemist FR: chimiste [ m, f ] | นักเคมีวิเคราะห์ | [nakkhēmī wikhrǿ] (n, exp) EN: chemical analyst FR: chimiste analyste [ m ] | นักเคมีวิทยา | [nakkhēmīwitthayā] (n) EN: chemist FR: chimiste [ m, f ] | นิวเคลียร์เคมี | [niukhlīa khēmī] (n, exp) EN: nuclear chemistry FR: chimie nucléaire [ f ] | ปฏิกิริยาเคมี | [patikiriyā khēmī] (n, exp) EN: chemical reaction FR: réaction chimique [ f ] | พลังงานเคมี | [phalang-ngān khēmī] (n, exp) EN: chemical energy | พันธะเคมี | [phantha khēmī] (n, exp) EN: chemical bond FR: liaison chimique [ f ] | ปุ๋ยอินทรีย์เคมี | [pui insī khēmī] (n, exp) EN: chemical fertilizer FR: engrais chimque [ m ] | ปุ๋ยเคมี | [pui khēmī] (n, exp) EN: chemical fertilizer FR: engrais chimque [ m ] | รางวัลโนเบลสาขาเคมี | [Rāngwan Nōbēn Sākhā Khēmī] (n, prop) FR: prix Nobel de chimie [ m ] | สมการเคมี | [samakān khēmī] (n, exp) EN: chemical equation FR: équation chimique [ f ] | สารเคมี | [sān khēmī] (n, exp) EN: chemicals ; chemical substances FR: produit chimique [ m ] ; substance chimique [ f ] ; composé chimique [ m ] | สารเคมีกำจัดเชื้อรา | [sān khēmī kamjat cheūarā] (n, exp) FR: fongicide chimique [ m ] | สารเคมีกำจัดแมลง | [sān khēmī kamjat malaēng] (n, exp) FR: insecticide chimique [ m ] | สารเคมีกำจัดวัชพืช | [sān khēmī kamjat watchapheūt] (n, exp) FR: herbicide chimique [ m ] | สัญลักษณ์เคมี | [sanyalak khēmī] (n, exp) FR: symbole chimique [ m ] | เซลล์ไฟฟ้าเคมี | [sel faifā khēmī] (n, exp) EN: electrochemical cell | สมบัติทางเคมี | [sombat thāng khēmī] (n, exp) EN: chemical properties FR: propriété chimique [ f ] | สมการเคมี | [somkān khēmī] (n, exp) EN: chemical equation FR: équation chimique [ f ] | สูตรเคมี | [sūt khēmī] (n, exp) EN: chemical formula FR: formule chimique [ f ] | ธาตุเคมี | [thāt khēmī] (n) EN: element FR: élément (chimique) [ m ] | ทนทานต่อสารเคมี | [thonthān tø sān khēmī] (x) EN: resistant to chemical substances FR: résistant aux produits chimiques | ทนต่อสารเคมี | [thon tø sān khēmī] (v, exp) EN: be resistant to chemical substances FR: résister aux produits chimiques | อุณหพลศาสตร์ เคมี | [unhaphonlasāt khēmī] (n, exp) EN: chemical thermodynamics | อุตสาหกรรมสารเคมี | [utsāhakam sān khēmī] (n, exp) EN: chemical industry FR: industrie chimique [ f ] ; industrie des produits chimiques [ f ] | วัตถุเคมี | [watthu khēmī] (n, exp) EN: chemicals ; chemical substances ; substance obtained by chemistry FR: substance chimique [ f ] ; produit chimique [ m ] | วิชาชีวเคมี | [wichā chīwakhēmī] (n, exp) EN: biochemistry FR: biochimie [ f ] | วิชาเคมี | [wichā khēmī] (n, exp) EN: chemistry FR: chimie [ f ] ; sciences chimiques [ fpl ] | วิศวกรรมเคมี | [witsawakam khēmī] (n, exp) EN: chemical engineering FR: ingénierie chimique [ f ] ; génie chimique [ m ] | วิศวกรเคมี | [witsawakøn khēmī] (n, exp) EN: chemical engineer FR: ingénieur chimiste [ m ] |
| fuel cell | (n) เซลกำเนิดไฟฟ้า โดยอาศัยปฏิกิริยาเคมี ระหว่างออกซิเจน กับ ไฮโดรเจน ซึ่งเมื่อรวมตัวกันแล้วจะได้น้ำ และพลังงานออกมา คาดกันว่าจะนำมาใช้อย่างแพร่หลาย สำหรับเป็นแหล่งพลังงานของรถยนต์ไฟฟ้า และเครื่องคอมพิวเตอร์กระเป๋าหิ้ว หรืออุปกรณ์อิเลคโทรนิกส์ต่างๆ โดยสามารถเติมพลังงานในรูปแบบของการเติมไฮโดรเจนที่ปั้ม หรือซื้อไฮโดรเจนกระป๋องสำหรับอุปกรณ์นั้นๆมาเปลี่ยน (สิงหาคม 2546) | substrate | (n) สารตั้งต้น(ทางเคมี), See also: starting material | exergonic reaction | (n) ปฏิกิริยาทางเคมีที่ปล่อยพลังงาน, ปฏิกิริยาคายพลังงาน, Syn. exothermic reaction | artificial preservative | (n, phrase) สารเคมีกันเสีย | test tube | (n) หลอดทดลอง, หลอดแก้วใส่สารเคมี | tributyltin | (n, name) สารประกอบเคมีชนิดหนึ่งที่ใช้ผสมในสีทาใต้ท้องเรือกันเพรียงเรือและสาหร่ายต่างๆมาเกาะ แต่สารนี้เป็นอันตรายต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม | agrichemical | (n) เคมีเกษตร, สารเคมีที่ใช้ในการเกษตร เช่น ปุ๋ยเคมี เป็นต้น เช่น the health impact of an agrichemical spraydrift incident, Syn. agrochemical | homoeopathy | [โฮมีโอพาธี] (n) การบำบัดแบบโฮมีโอพาธีมีแนวคิดหรือปรัชญาพื้นฐานในการทำความเข้าใจร่างกายมนุษย์ที่แตกต่างจากระบบการแพทย์แผนปัจจุบันโดยสิ้นเชิง การมองร่างกายและจิตใจของ ผู้ป่วยจะไม่ได้มองเป็นอวัยวะที่แยกส่วนออกจากกัน แต่จะมองร่างกายและจิตใจของผู้ป่วยเป็นภาพรวมเดียวกัน ดังนั้นก่อนที่จะบำบัดผู้ป่วยจะต้องมีการสัมภาษณ์และคุยกับผู้ป่วยในเรื่องของลักษณะทั่วไป บุคลิกภาพ ประวัติทางการแพทย์ของครอบครัว อารมณ์ ความรู้สึกส่วนบุคคลต่อสิ่งแวดล้อม อาหาร อากาศ ฯลฯ รวมทั้งอาการของโรคด้วย นักบำบัด (practitioner) จะต้องนำคำตอบทั้งหมดมาประมวลและสรุปเป็นภาพรวมโดยเรียกว่า “ภาพของอาการ” (symtom picture)ดังนั้นการประเมินประสิทธิภาพของการบำบัดจึงไม่ควรใช้กรอบและแนวคิดของระบบการแพทย์แผนปัจจุบันประเมินแต่เพียงอย่างเดียว ควรมีการศึกษาและทำความเข้าใจแนวคิดพื้นฐานของการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีด้วย โดยสรุปแล้วการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีจัดเป็นศาสตร์การรักษาสุขภาพแบบองค์รวมที่เน้นเรื่องการปรับสมดุลสารชีวเคมีและพลังไหลเวียนภายในร่างกาย การให้ยาเป็นไปเพียงเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายเกิดการปรับสมดุลด้วยกลไกตามธรรมชาติของร่างกายเอง ไม่ได้มุ่งหมายให้ยาไปขจัดหรือทำลายกลไกของร่างกายหรือสารที่ก่อให้เกิดอาการป่วย รวมทั้งไม่ได้มุ่งหมายที่จะขจัดสิ่งมีชีวิตใด ๆ ออกจากร่างกายด้วย | COD | (abbrev) ความต้องการออกซิเจนทางเคมี chemical oxygen demand |
| acid rain | (n) ฝนกรด, See also: ฝนที่ปนเปื้อนด้วยมลพิษทางเคมี ซึ่งเกิดจากมลพิษทางอากาศ เช่น ควันจากท่อไอเสียรถยนต์หรื | activity | (n) การวัดความสามารถในการเกิดปฏิกริยาเคมี | agent | (n) ตัวกระทำ, See also: สารที่ส่งผล, สารที่ทำให้เกิดปฏิกริยาเคมี | allotropy | (n) คุณสมบัติทางเคมีของธาตุบางชนิดที่มีหลายรูปแบบ | assay | (n) การวิเคราะห์ทางเคมี | baric | (adj) ประกอบด้วยธาตุแบเรียม, See also: สารประกอบเคมีแบริค | biochemical | (adj) เกี่ยวกับชีวเคมี | biochemist | (n) นักชีวเคมี | biochemistry | (n) ชีวเคมี | buck | (n) ผ้าที่ซักในน้ำยาเคมี | buck | (vt) ซักในน้ำยาเคมี | buck | (n) น้ำยาเคมีที่ใช้ในการซักผ้า | break down | (phrv) มีการเปลี่ยนแปลง (สารเคมี) | cadmium | (n) แคดเมียม, See also: ธาตุทางเคมีชนิดหนึ่งมีสัญลักษณ์ Cd | carbon | (n) คาร์บอน, See also: ธาตุทางเคมีชนิดหนึ่ง มีสัญลักษณ์ C | catalysis | (n) การเพิ่มปฏิกิริยาทางเคมี, See also: การเร่งปฏิกิริยาเคมี | cauterise | (vt) ทำให้แผลไหม้ด้วยความร้อนหรือสารเคมีเพื่อให้เลือดหยุดไหลหรือป้องกันการติดเชื้อ, Syn. cauterize | cauterize | (vt) ทำให้แผลไหม้ด้วยความร้อนหรือสารเคมีเพื่อให้เลือดหยุดไหลหรือป้องกันการติดเชื้อ, Syn. cauterise | chemical | (adj) ทางเคมี | chemical | (n) สารเคมี, Syn. substance | chemical engineering | (n) ิวิศวกรรมเคมี | chemical equation | (n) สมการเคมี | chemical fertilizer | (n) ปุ๋ยเคมี | chemical formula | (n) สูตรเคมี | chemical product | (n) เคมีภัณฑ์ | chemical warfare | (n) สงครามที่ใช้สารเคมี | chemist | (n) นักเคมี | chemistry | (n) คุณสมบัติทางเคมี | chemistry | (n) วิชาเคมี, Syn. chemical science | chemotherapy | (n) เคมีบำบัด | corrosion | (n) การกัดกร่อน (โดยเฉพาะโดยสารเคมี) | decompose | (vt) ทำให้แยกออกเป็นส่วนๆ (ทางเคมี), See also: ทำให้แตกเป็นส่วนๆ, ทำให้แบ่งออกเป็นส่วนๆ, Syn. break up, break down, disintegrate | decontaminate | (vt) ขจัดสิ่งปนเปื้อน, See also: ขจัดพิษ, ขจัดสารเคมีที่ไม่ต้องการ, กำจัดรังสี, Syn. remove contamination, Ant. contaminate | denature | (vt) ปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางโมเลกุล (ทางชีวเคมี) | detox | (n) กระบวนการขับสารพิษ (ทางชีวเคมี) | efflorescence | (n) การเปลี่ยนเป็นผลึกหรือเป็นผงเมื่อสูญเสียน้ำ (ทางเคมี) | electrochemistry | (n) การศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางเคมีที่เกี่ยวกับอิเล็กตรอนและกระแสไฟฟ้า (ทางเคมี), See also: อิเล็กโทรเคมี, เคมีไฟฟ้า | electrodeposit | (vt) แยกสารประกอบทางเคมีด้วยวิธีอิเล็กโทรไลซิส, See also: ทำให้ตกตะกอนด้วยวิธีอิเล็กโทรไลซิส | electrolysis | (n) การแยกหรือสกัดสารเคมีด้วยกระแสไฟฟ้า (ทางเคมี) | electrolyze | (vt) แยกสารประกอบทางเคมีด้วยวิธีอิเล็กโทรไลซิส | entrain | (vt) นำพา (อนุภาคของแข็ง, ฟองอากาศ, หยดน้ำ) ให้ไหลไปตามกระแสของของเหลว (ทางเคมีฟิสิกส์) | enzyme | (n) เอนไซม์, See also: โปรตีนที่ควบคุมปฏิกริยาทางชีวเคมีในร่างกาย | ethene | (n) ก๊าซที่ไม่มีสี ติดไฟได้ ใช้ในการผลิตโพลิเมอร์และสารเคมีชนิดอื่นๆ และใช้ในการทำให้ผลไม้สุก, Syn. ethylene | ethyl | (n) อนุมูลทางเคมี มีคุณสมบัติไวไฟ, See also: สารเคมีที่ประกอบด้วยคาร์บอนและไฮโดรเจน | fluorine | (n) สารฟลูออรีน (สัญลักษณ์ทางเคมีคือ F), See also: ก๊าซพิษสีเหลืองจางๆ | fraction | (n) การตกผลึกเป็นชิ้นเล็กๆ (เคมี) | galvanism | (n) ไฟฟ้าซึ่งเกิดจากปฏิกิริยาเคมี, Syn. voltaism | globulin | (n) โปรตีนโกลบูลินซึ่งละลายในสารละลายน้ำเกลือ (ทางชีวเคมี) | glycerol | (n) น้ำเหนียวไร้สีและไร้กลิ่น (ชื่อทางเคมีสำหรับ glycerin / glycerine), See also: กลีเซอรีน, Syn. glycerine | hallucinogen | (n) สารเคมีที่ทำให้หลอนประสาท เช่น LSD, See also: ยาหลอนประสาท |
| absolute zero | (เคมีฟิสิคส์) อุณหภูมิต่ำสุดของสสาร, อุณหภูมิที่อนุภรคหยุดอยู่กันที่หรือจุดที่อยู่ใต้องศา Celsius 273 องศา lowest possible) | acetaldehyde | (แอสซิแทล' คิไฮดฺ) chem. สารเคมีชนิดหนึ่งที่ ใช้ฉาบแก้วให้เป็นกระจก และใช้ในการสังเคราะห์อินทรียสาร | acetamide | (แอสซิแทม' ไมดฺ) chem. สารเคมีชนิดหนึ่งที่ใช้ในการสังเคราะห์อินทรีย์สาร (acetamid) | acetanilide | (แอสซิแทน' นิลิด) chem. สารเคมีชนิดหนึ่งที่ใช้เป็นยาลดไข้ แก้ปวดศีรษะและรูมาติซึม | acetic anhydride chem. | สารเคมีชนิดหนึ่งที่ ใช้ในการผลิตพลาสติกและใยสังเคราะห์ | acetophenone | (แอสซฺโทฟะโนน') chem. สารเคมีชนิดหนึ่งที่ ใช้แต่งกลิ่นเครื่องหอม., Syn. phenyl methyl ketone, acetylbenzene, hypnone | acid-forming | (แอส' ซิดฟอร์มมิง) adj. ให้กรด (ในปฏิกริยาเคมี) (yielding acid) | acridine | (แอค' ริดีน) สารเคมีที่ใช้ในการสังเคราะห์สีย้อมและยา | actinism | (แอค' ทินิสซึม) n. คุณสมบัติการแผ่รังสีซึ่งมีผลทางเคมี | agent | (เอ' เจินทฺ) n. ตัวแทน, ผู้แทนจำหน่าย, แรงหรือสิ่งตามธรรมชาติที่ใช้เพื่อผลเฉพาะอย่าง, ยา, น้ำยา, พนักงานเจ้าหน้าที่, สายลับ, สารที่ทำให้เกิดปฏิกิริยาทางเคมี, Syn. performer | alcohol | (แอล' กะฮอล) n. แอลกอฮอล์, ethyl alcohol, เครื่องดื่มที่ผสมแอลกอฮอล์, สารประกอบเคมีที่มีสูตร ROH. | allomerism | (อะลอม' เมอริสซึม) n. ภาวะที่การผันแปรของส่วนประกอบทางเคมีไม่ทำให้รูปผลึกเปลี่ยนแปลง. -allomerous adjl. | allomorph | (แอล' โลมอร์ฟ) n. สารประกอบเคมีชนิดเดียวกันที่มีรูปแบบต่างกัน. -allomorphic adj. | allomorphism | (แอลโลมอร์' ฟิสซึม) n., chem. การเปลี่ยนแปลงของรูปแบบผลึก โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงทางเคมี | aludel | (แอล' ลูเดล) n. ภาชนะรูปผลแพร์ชนิดหนึ่งที่ใช้ในห้องปฏิบัติการทางเคมีสำหรับรองรับคราบระเบิดที่เกิดขึ้น | autocatalysis | (ออโทคะแทล'ลิซิส) n., (pl. -ses) ภาวะที่เพิ่มขึ้นของปฏิกริยาทางเคมีเนื่องจากตัวกระตุ้น (catalyst) ที่เกิดขึ้น. -autocatalytic adj. | azobenzene | (แอส'โซเบนซีน) สารเคมีชนิดหนึ่งที่ ใช้ในการผลิตสีย้อมและเป็นยาฆ่าแมลง | biochemistry | (ไบโอเคม'มิสทรี) n. ชีวเคมี, See also: biochemical adj. เกี่ยวกับชีวเคมี biochemist n. นักชีวเคมี | buret | (บิวเรท') n. หลอดแก้วมีที่ปิดเปิดสำหรับวัดปริมาณเล็กน้อยของของเหลว/มีขีดบอกปริมาตรที่ข้างหลอด/ใช้ในการวิเคราะห์ทางเคมี | burette | (บิวเรท') n. หลอดแก้วมีที่ปิดเปิดสำหรับวัดปริมาณเล็กน้อยของของเหลว/มีขีดบอกปริมาตรที่ข้างหลอด/ใช้ในการวิเคราะห์ทางเคมี | c | (ซี) n. พยัญชนะอังกฤษตัวที่3, ตัวเลข100ของโรมัน, สัญลักษณ์ทางเคมีของธาตุคาร์บอน ภาษาซีเป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม ภาษานี้เริ่มต้นมาจากห้องปฏิบัติการของบริษัท Bell ในช่วงทศวรรษ 1970 ภาษาซีนี้ เป็นภาษาที่ใช้ทั่วไปเทียบเคียงได้กับภาษาเบสิก (BASIC) หรือภาษาปาสกาล (Pascal) ความที่ภาษาซีเป็นภาษาที่ใช้ง่ายและสะดวก โปรแกรมสำเร็จรูปที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันอย่างดี เช่น Lotus 1-2-3 และ Microsoft FoxPro ก็เขียนด้วยภาษาซี ภาษาซีได้เปรียบภาษาอื่น ๆ อย่างน้อย 3 ประการด้วยกัน คือ 1. ภาษาซีง่ายในการเขียน และเรียนรู้ได้ง่ายเกือบจะเท่ากับภาษาเบสิก2. โปรแกรมภาษาซีใช้เวลาของเครื่อง (คอมพิวเตอร์) น้อยมาก พอ ๆ กับภาษาแอสเซมบลี (Assembly) แต่เขียนได้ง่ายกว่ากันมาก3. ภาษาซีใช้ได้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทุกยี่ห้อ ไม่ว่าจะเป็นแมคอินทอชหรือไอบีเอ็ม (แทบจะไม่ต้องแก้ไขดัดแปลงอะไรเลย ผิดกับภาษาเบสิกและภาษาปาสกาล ซึ่งหากนำไปใช้กับเครื่องต่างตระกูลกันแล้ว จะต้องแก้ไขมากจนเรียกได้ว่าไม่คุ้ม | catalysis | (คะแทล'ลิซิส) n. การเร่งปฏิกิริยาทางเคมีโดยการเติมสารกระตุ้น, ปฏิกิริยาระหว่างบุคคลหรือแรงโดยมีตัวกระตุ้นที่ไม่ถูกกระทบกระเทือน, See also: catalytic adj. ดูcatalysis pl. catalyses, Syn. katalysis, stimulation | catalyze | (แคท'ทะไลซ) { catalyzed, catalyzing, catalyzes } vt. กระตุ้น, กระตุ้นการเปลี่ยนแปลงทางเคมี, See also: catalyzer n. | chemi- | Pref. "เคมี" | chemical | (เคม'มิเคิล) n. สารเคมี'-adj. เกี่ยวกับวิชาเคมีหรือสารเคมี | chemical warfare | n. สงครามที่ใช้สารเคมีเป็นอาวุธ | chemicocautery | n. การจี้กัดด้วยสารเคมี | chemist | (เคม'มิสทฺ) n.นักเคมี, เภสัชกร, นักเล่นแร่แปรธาตุ | chemistry | (เคม'มิสทรี) n. วิชาเคมี | chemo- | Pref. 'เคมี' | chemoprophylaxis | n. การป้องกันโรคติดเชื้อด้วยสารเคมี | chemotherapy | n. เคมีบำบัด-chemotherapist n. | commercial | (คะเมอ'เชิล) adj. เกี่ยวกับการค้า, เป็นการค้า, ซึ่งมีจุดประสงค์เพื่อหวังกำไรได้, ไม่บริสุทธิเต็มที่ (ชนิดของสารเคมี) , สำหรับนักธุรกิจ -n. การโฆษณาสินค้าทางโทรทัศน์หรือทีวี | enzyme | (เอน'ไซมฺ) n. เอนไซม์, ตัวหมัก, โปรตีนที่คัดหลั่งจากเซลล์มีฤทธิ์กระตุ้นทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีในสารอื่น ๆ โดยตัวมันเองไม่เปลี่ยนแปลง | flower | (เฟลา'เออะ) n. ดอกไม้, บุปผา, บุษบา, พืชดอกไม้, ระยะที่รุ่งเรืองหรืองดงามที่สุด, ผลิตภัณฑ์ที่ดีที่สุด, See also: flowers n., pl. ผงเคมีละเอียด. vi. ให้ดอก, เจริญเติบโตเต็มที่. vt. ปกคลุมไปด้วยดอกไม้, ประดับด้วยดอกไม้, Syn. bloom | fumigant | (ฟิว'มิกันทฺ) n. สารเคมีที่ใช้รม, ยาอบ, ยารม | homeostasis | n. ภาวะสมดุลของสิ่งแวดล้อมภายใน, ภาวะสมดุลทางคุณสมบัติเคมีและฟิสิกส์ของเหลวในร่างกาย, See also: homeostatic adj. | homologue | (ฮอมมะลอก') n. ส่วนที่คล้ายคลึงกัน, สารประกอบที่มีแบบทางเคมีเหมือนกันแต่ต่างกันที่ส่วนประกอบบางอย่าง, อวัยวะหรือส่วนที่คล้ายคลึงกัน | inorganic chemistry | อนินทรียเคมี | intermediate | (อินเทอมี'เดียท) adj. ระหว่างกลาง, ปานกลาง, n. สิ่งปานกลาง, ผลิตผลระหว่างทาง (ของกระบวนการทางเคมี) , รถยนต์ขนาดปานกลาง, คนไกล่เกลี่ย, คนกลาง, ตัวสื่อ. vt. ทำหน้าที่เป็นคนกลาง, ทำหน้าที่เป็นคนไกล่เกลี่ย, สอดแทรก., See also: intermediation n. intermediator | intolerance | (อินทอล'เลอเรินซฺ) n. การขาดความอดทน, ความไม่สามารถอดทนได้, การแพ้ยา อาหาร สารเคมีหรืออื่น ๆ , การถือทิฐ', Syn. bigotry, rigidity, Ant. tolerance | isotope | (ไอ'โซโทพฺ) n. ธาตุที่มีคุณสมบัติทางเคมีเหมือนกันแต่ต่างกันที่น้ำหนักอะตอมและประจุไฟฟ้าisotopeหลายชนิดที่มีกัมมันตภาพรังสี | mica | (ไม'คะ) n. เม็ด, อนุภาค, สารเคมีที่ทำให้เกิดโรคfibrosisในปอดได้, =isinglass (ดู), Syn. isinglass | noble | (โน'เบิล) adj. ชั้นสูง, มีตระกูล, สูงศักดิ์, ชั้นขุนนาง, สง่า, ประเสริฐ, (เคมี) เฉื่อย n. คนชั้นสูง, ผู้มีตระกูลสูง, ขุนนาง, See also: nobleness n., Syn. high, grand | organic chemistry | n. อินทรียเคมี | paramorph | n. รูปร่างเทียมที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างผลึกไม่ใช่จากการเปลี่ยนแปลงของส่วนประกอบทางเคมี. | pasteur | (แพส'เทอ) n. Louis (ค.ศ.1822-73) นักเคมีและจุลชีววิทยาของฝรั่งเศส | periodic law | n. กฎทางเคมีที่ว่าธาตุต่าง ๆ สามารถแบ่งออกโดยคุณสมบัติเป็นกลุ่ม ๆ (ตารางแบ่งกลุ่มนี้เรียกว่า periodic table), Syn. period system, Mendeleev's law | petrochemistry | (พีโทรเคม'มิสทรี) n. วิชาเคมีที่เกี่ยวกับหิน, วิชาเคมีที่เกี่ยวกับน้ำมันปิโตร-เลียม หรือผลิตภัณฑ์ที่ได้จากน้ำมันปิโตรเลียม | promoter | (พระโม'เทอะ) n. ผู้สนับสนุน, ผู้ส่ง-เสริม, ผู้ก่อการ, ผู้กระตุ้น, สารกระตุ้นฤทธิ์ทางเคมี |
| | Chemotropism | (n) การตอบสนองต่อสารเคมี (Chemotropism) คือ การเคลื่อนที่ของพืช โดยการเจริญเข้าหาหรือหลีกหนีจากสารเคมีบางอย่างเป็นสิ่งเร้า | Chemotropism | (n) การตอบสนองต่อสารเคมี (Chemotropism) คือ การเคลื่อนที่ของพืช โดยการเจริญเข้าหาหรือหลีกหนีจากสารเคมีบางอย่างเป็นสิ่งเร้า | Chemotropism | (n) การตอบสนองต่อสารเคมี (Chemotropism) คือ การเคลื่อนที่ของพืช โดยการเจริญเข้าหาหรือหลีกหนีจากสารเคมีบางอย่างเป็นสิ่งเร้า | Aplastic Anemia | โรคโลหิตจางที่มีลักษณะบกพร่องของอวัยวะที่ก่อให้เกิดเลือด (เช่นไขกระดูก) และเกิดจากสารพิษ (เช่นสารเคมีหรือรังสีเอกซ์) หรือไม่ทราบสาเหตุในแหล่งกําเนิด | butane | (เคมี) เป็นสารประกอบอินทรีย์ | chemical products | เคมีภัณฑ์ | Chloroprene rubber | (n) ยางคลอโรพรีน เป็นยางที่สังเคราะห์จากมอนอเมอร์ของคลอโรพรีน ภายใต้สภาวะที่เหมาะสม เป็นยางที่มีขั้วเนื่องจากประกอบด้วยอะตอมของคลอรีน ทำให้ยางชนิดนี้มีสมบัติด้านการทนไฟ, ความทนต่อสารเคมีและน้ำมัน ซึ่งผลิตภัณฑ์ยางที่ใช้งานในลักษณะดังกล่าวได้แก่ ยางซีล, ยางสายพานลำเลียงในเหมืองแร่ เป็นต้น | chromatograph | (n) กรรมวิธีในการวิเคราะห์ทางวิชาเคมี : เทคนิคสำหรับการแยกส่วนประกอบในสารผสม | Dopamine | [โดพามีน] เป็นสารเคมีที่ผลิตขึ้นในร่างกาย ในสมอง โดพามีนทำหน้าที่เป็นสารสื่อประสาท (neurotransmitter) คอยกระตุ้นโดพามีน รีเซพเตอร์ (dopamine receptor) โดพามีนทำหน้าที่เป็นฮอร์โมนประสาท (neurohormone) ที่หลั่งมาจากไฮโปทาลามัส (hypothalamus) หน้าที่หลักของฮอร์โมนตัวนี้คือยับยั้งการหลั่งโปรแลคติน (prolactin) จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า (anterior pituitary) | fire extinguishers chemical solution | น้ำยาเคมีดับเพลิง | hemimorphite | [เฮมิมอร์ไฟต์] (n) แร่เฮมิมอร์ไฟต์ (สูตรเคมี Zn4(Si2O7)(OH)2 เป็นแร่หนึ่งของธาตุสังกะสี) | Molecular Gastronomy | (n, name) การทำอาหารโดยอาศัยเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ และอาศัยวิธีการศึกษาองค์ประกอบของเครื่องปรุงอย่างวิทยาศาสตร์ศึกษาปฏิกิริยาทางเคมีที่ทำให้เครื่องปรุงเปลี่ยนรสหรือเปลี่ยนสี เพื่อให้เกิดการสร้างสรรค์ที่ได้ทั้งรูปทรงใหม่ๆ และรสชาติที่แตกต่างจากของเดิม | oceanography | [โอ-เชีย-นอ-กราฟ-ฟี] (n) “สมุทรศาสตร์” เป็นสาขาวิชาหนึ่งของวิทยาศาสตร์โลก (Earth science) ที่ศึกษาเกี่ยวกับมหาสมุทรในหัวข้อต่างๆ ที่รวมทั้งสิ่งมีชีวิตในมหาสมุทร, ระบบการหมุนเวียนของสิ่งแวดล้อม, กระแสคลื่นในมหาสมุทร, พฤติกรรมของคลื่น, แผ่นเปลือกโลกที่ก้นมหาสมุทร, ธรณีวิทยาของก้นมหาสมุทร, และความผันผวนของสารเคมีและลักษณะทางฟิสิคส์ของทั้งมหาสมุทรและบริเวณรอบข้าง (ข้อมูลจาก wikipedia.org) | rodenticide | (n) สารเคมีที่เคยใช้ในการกำจัดสัตว์พวกหนู | Sphalerite | [สฟาเลอไรต์] (n) แร่สฟาเลอไรต์ (สูตรเคมีซิงค์ซัลไฟด์ เกิดจากการรวมตัวของสังกะสีและซัลเฟอร์เป็นแร่) | Teratogenic effects | (n) ผลต่อการผิดปกติของการพัฒนาการร่างกายทารกในครรภ์ ฤทธิ์การส่งถ่ายสารเคมีสู่ทารก |
| 石油化学製品 | [sekiyu kagaku seihin] (n) ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี | 化学工学 | [かがくこうがく, kagakukougaku] (n) วิศวกรรมเคมี | 単体 | [たんたい, tantai] (n) เดี่ยว ๆ, สารเดี่ยว (ทางเคมี) | 酸化 | [さんか, sanka] (n) ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดจากการรวมตัวของออกซิเจนกับสารอื่น, See also: R. oxidation | 生化学 | [せいかがく, seikagaku] (n) ชีวเคมี, See also: R. biochemical |
| 化学的 | [かがくてき, kagakuteki] TH: ทางเคมี EN: chemical (an) |
| Mittel | (n) |das, pl. Mittel| สารทางเคมี | als | ในฐานะ (ใช่บ่งสถานภาพ) เช่น ich als Chemiker ฉันในฐานะนักเคมี | Abzug | (n) |der, pl. Abzüge| เครื่องดูดควันที่ใช้ในครัวและห้องทดลองเคมี | Wasserstoff | (techn) |der, nur Sg.| ธาตุไฮโดรเจน (เคมี) | Sauerstoff | (techn) |der, nur Sg.| ธาตุออกซิเจน (เคมี) | Kohlenstoff | (techn) |der , nur Sg.| ธาตุคาร์บอน (เคมี) | Stickstoff | (techn) |der, nur Sg.| ธาตุไนโตรเจน (เคมี) | Bindung | (n) |die, pl. Bindungen| การผูกมัด, พันธะ, ความสัมพันธ์ระหว่างผู้คน, พันธะเคมี | Brom | (n, uniq) |das, nur Sg.| โบรมีน ตัวย่อ Br เป็นธาตุทางเคมี เป็นของเหลวสีน้ำตาลแดง มีกลิ่นเฉพาะตัว | Chemiker | (n) |der, pl. Chemiker| นักเคมี | Chemikerin | (n) |die, pl. Chemikerinnen| นักเคมีที่เป็นผู้หญิง | edel | (adj) |edler, am edelsten| ชั้นสูง, สง่า, (เคมี)เฉื่อย | Versuch | (n) |der, pl. Versuche| การทดลอง, การทดสอบ เช่น der chemische Versuch การทดลองเคมี, Der Versuch, aus dem Gefängnis zu entfliehen, mißlang. ความพยายามที่จะหนีออกจากคุกนั้นล้มเหลว | durchführen | (vt) |führt durch, führte durch, hat durchgeführt, etw.(A)| ดำเนินการทำให้สมบูรณ์, ทำให้สำเร็จ เช่น Das Promotionsverfahren soll bei der Fakultät Chemie durchgeführt werden. ขบวนการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอกถูกดำเนินการที่คณะเคมี | Chemie | (n) |die| เคมี, วิชาเคมี, See also: Related: chemisch | chemisch | (adj, adv) ทางเคมี, ที่เกี่ยวกับเคมี เช่น In unserem Körper entstehen viele chemische Reaktionen. ในร่างกายของเรามีปฏิกิริยาทางเคมีเกิดขึ้นมากมาย | Reagenzglas | (n) |das, pl. Reagenzgläser| หลอดทดลอง, หลอดแก้วใส่สารเคมี |
| | chimie | (n) |f| สาขาเคมี, วิชาเคมี |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |