ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: เข้าถึง, -เข้าถึง- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ เข้าถึง | (v) appreciate, See also: regard, Example: คนพวกนี้เข้าถึงพระผู้เป็นเจ้าได้ง่าย เพราะมีจิตศรัทธามากเหลือเกิน, Thai Definition: เข้าใจหรือรู้ความหมายอย่างลึกซึ้ง | เข้าถึง | (v) reach, Example: เด็กไทยไม่ว่าอยู่แสนไกลเพียงใดก็สามารถเข้าถึงเครือข่ายการศึกษาผ่านดาวเทียมได้, Thai Definition: เคลื่อนที่เข้าไปสู่จุดหมาย |
|
| เข้าถึง | ก. เข้าใจอย่างซาบซึ้ง เช่น เข้าถึงบท เข้าถึงวรรณคดี, เข้าใกล้ชิดสนิทสนมเพื่อจะได้รู้ซึ้งถึงชีวิตจิตใจและความต้องการเป็นต้น เช่น เข้าถึงประชาชน. | ตัก ๑ | น. หน้าขาตอนเข่าถึงโคนขาในเวลานั่ง. | ประชิด | ก. เข้าไปให้ใกล้ เช่น ตั้งค่ายประชิด, เข้าถึงตัว, เข้าชิดตัว, เช่น ผู้ร้ายมาประชิดตัว. | ประเวศ, ประเวศน์ | น. การเข้ามา, การเข้าถึง, การเข้าสู่. | เพลา ๕ | (เพฺลา) น. ตัก, ช่วงขาตั้งแต่เข่าถึงโคนขา, ราชาศัพท์ว่า พระเพลา. | สัจธรรม | (สัดจะทำ) น. ความจริงแท้ เช่น บรรลุสัจธรรม เข้าถึงสัจธรรม. | อุปบัติ | (อุปะบัด, อุบปะบัด) น. การเข้าถึง เช่น คติอุปบัติ = การเข้าถึงคติ, การเกิด. |
| | Access | การเข้าถึง [เทคโนโลยีการศึกษา] | Access point | จุดเข้าถึง [เทคโนโลยีการศึกษา] | Remote access | การเข้าถึงระยะไกล [เทคโนโลยีการศึกษา] | Access | การเข้าถึง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Access point | จุดเข้าถึง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Remote access | การเข้าถึงระยะไกล, Example: <p>Remote access เป็นความสามารถในการเข้าถึงคอมพิวเตอร์หรือเครือข่ายจากระยะทางไกลผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ผ่าน Remote Access Server (RAS) ซึ่งติดตั้งไว้สำหรับดูแลการเข้าเครือข่ายทางไกลของผู้ใช้ และเป็นส่วนหนึ่งของ VPN <p>VPN ย่อมาจาก Virtual Private Network เป็นเทคโนโลยีการเชื่อมต่อเครือข่ายนอกอาคาร (Wide Area Network : WAN) กับระบบเครือข่ายภายในองค์กร โดยใช้อินเทอร์เน็ตเป็นตัวกลาง มีระบบเข้ารหัส ป้องกันการลักลอบใช้ข้อมูล เหมาะสำหรับองค์กรขนาดใหญ่ซึ่งต้องการความคล่องตัวในการติดต่อรับส่งข้อมูล นอกจากนี้ยังสามารถกำหนดกลุ่มหมายเลข IP Address เป็นเครือข่ายเดียวกัน และพนักงานที่ปฏิบัติงานนอกหน่วยงาน สามารถ Login เข้ามาใช้เครือข่ายภายในองค์กรได้ <p>Remote access VPN ทำการเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้ที่ไม่ได้อยู่ที่องค์กรหรือบริษัท เข้ากับ Server โดยผ่านทาง ISP (Internet Services Provider) Remote access VPN อนุญาตให้ผู้ใช้สามารถเชื่อมต่อกับตัวองค์กรหรือบริษัทได้ตลอดเวลา โดยผู้ใช้ทำการเชื่อมต่อผ่านทาง ISP ที่รองรับเทคโนโลยี VPN เมื่อ VPN Devices ของ ISP ยอมรับการ Login ของผู้ใช้แล้ว ทำการสร้างอุโมงค์ข้อมูล (Tunnel) เชื่อมต่อกันระหว่างต้นทางกับปลายทาง ทำให้เสมือนว่าเป็นระบบเน็ตเวิร์คเดียวกัน จากการสร้างระบบเน็ตเวิร์คจำลอง ข้อมูลที่ส่งผ่านมีความปลอดภัยสูง ใกล้เคียงกับการเช่าสายสัญญาณ (Leased line) แต่ค่าใช้จ่ายในการทำ VPN นั้นต่ำกว่าการเช่าสายสัญาณ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Online Public Access Catalog | รายการเข้าถึงแบบออนไลน์, Example: <p>คือ ฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดโดยใช้คอมพิวเตอร์ เพื่ออำนวยความแก่ผู้ใช้ในการสืบค้นและชี้แหล่งรายการทรัพยากรสารสนเทศที่มีอยู่ในห้องสมุดว่าห้องสมุดมีทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการหรือไม่ หากมีก็จะแจ้งให้ผู้ใช้ทราบข้อมูลรายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับข้อมูลทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศ เลขเรียกหนังสือ สถานที่จัดเก็บ และสถานภาพของทรัพยากรสารสนเทศ ก่อนตัดสินใจคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการ และจะไปหาตัวเล่มบนชั้นต่อไป อีกทั้งยังช่วยให้ผู้ใช้ค้นหาข้อมูลครั้งเดียวแต่ได้ข้อมูลหลากประเภทในเวลาเดียวกัน เช่น หนังสือ รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ บทความวารสาร เป็นต้น จากช่องทางการสืบค้น ต่างๆ เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง เลขเรียกหนังสือ เป็นต้น ซึ่งใช้หลักการสืบค้นเช่นเดียวกับการสืบค้นด้วยบัตรรายการ แต่มีความสะดวก รวดเร็วและค้นหาได้ตลอด 24 ชั่วโมง เนื่องจากแหล่งบริการสารสนเทศส่วนใหญ่ใช้ระบบออนไลน์บนอินเทอร์เน็ต อีกทั้งผู้ใช้ยังสามารถสั่งพิมพ์ ดาวน์โหลด หรือ export รายการที่สืบค้นได้ เพื่อส่งผ่านทางอีเมลต่อไป รวมถึงทำให้ผู้ใช้ได้รับข้อมูลที่ทันสมัย เนื่องจากเมื่อห้องสมุดได้รับทรัพยากรใหม่ๆ เข้ามาในห้องสมุด หรือมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูล บรรณารักษ์ก็จะทำการปรับปรุงข้อมูลในฐานข้อมูลอยู่เสมอ <p>ตัวอย่างหน้าแรกของ Online Public Access Catalog ของศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110328-opac-1.jpg" Title="OPAC" alt="OPAC"> <p>ตัวอย่างหน้า Online Public Access Catalog ซึ่งแสดงรายระเอียดทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศ พร้อมเลขเรียกหนังสือ สถานภาพ และสถานที่จัดเก็บ <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110328-opac-2.jpg" Title="OPAC" alt="OPAC"> <p>แหล่งข้อมูล <p>Reitz, Joan M. ODLIS Online Dictionary for Library and Information Science. ABC-CLIO http://www.abc-clio.com/ODLIS/odlis_h.aspx (accessed MArch 27, 2011). [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Access control | การควบคุมการเข้าถึง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Access | เข้าถึง, Example: การเข้าถึงเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อทำงาน หรือเข้าถึงโปรแกรมเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานให้ [คอมพิวเตอร์] | Access time | เวลาเข้าถึง, Example: เวลาที่คอมพิวเตอร์ใช้สำหรับการเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการ [เศรษฐศาสตร์] | Code division multiple access | การเข้าถึงแบบหลายทางด้วยการแบ่งรหัส [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Time division multiple access | การเข้าถึงแบบหลายทางด้วยการแบ่งเวลา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Explicit knowledge | ความรู้ที่อยู่ภายนอก, ความรู้ที่สามารถรวบรวมและถ่ายทอดออกมาในรูปแบบต่างๆ ได้ เช่น หนังสือ คู่มือ ตำรา เอกสารต่างๆ คนทั่วไปสามารถเข้าถึงความรู้ประเภทนี้ได้ง่าย [การจัดการความรู้] | Security | การป้องกัน, มาตรการป้องกันการสูญหาย การลักขโมยวัสดุนิวเคลียร์ หรือวัสดุกัมมันตรังสี รวมถึงการขนย้ายและการเข้าถึงวัสดุดังกล่าวโดยไม่ได้รับอนุญาต (ดู physical protection ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Access control | การควบคุมการเข้าถึง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Open access | การเข้าถึงแบบเสรี, Example: <p>ในช่วงเวลา 20 ปี ที่ผ่านมา ห้องสมุดทั่วโลกโดยเฉพาะห้องสมุดในประเทศกำลังพัฒนา ประสบปัญหาเรื่องงบประมาณที่มีจำกัดในการบอกรับวารสารวิชาการที่มีราคาสูง เนื่องจากแนวโน้มราคาวารสารวิชาการมีอัตราเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง โดยเฉพาะวารสารวิชาการในสาขาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการแพทย์ ห้องสมุดในฐานะที่อยู่ต้นทางในการให้บริการแก่ผู้ใช้ จำเป็นต้องคำนึงถึงวิธีการกำหนดนโยบาย และมาตรการ เพื่อรองรับสถานการณ์ดังกล่าว ซึ่งขณะนี้กระแสวารสารที่เข้าถึงได้แบบเปิด (Open Access) กำลังได้รับความสนใจและมีบทบาทสำคัญมาก จากผู้ที่ต้องการเข้าถึงข้อมูลได้ฟรีโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจากภาวะวิกฤติของวารสารวิชาการนั่นเอง <p>Open Access (OA) หมายถึง เอกสารวิชาการแบบดิจิทัล ที่มีการเผยแพร่ให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงแบบออนไลน์ได้แบบเสรี (ฟรี) <p>ประเภทของ Open Access <p>1. Open Access Publishing หรือเรียกว่าเป็นถนนสีทอง (Gold OA) ที่นำสู่ OA หมายถึง วารสารที่เปิดให้เข้าถึงบทความในเล่มอย่างอิสระทันทีที่ส่งตีพิมพ์ <p>2. Open Access Self-Archiving หรือ เรียกว่าเป็นถนนสีเขียว (Green OA) หมายถึง วารสารที่ตีพิมพ์ในวารสารของสำนักพิมพ์ทั่วไป แต่ผู้เขียนมีสิทธินำบทความมาจัดเก็บไว้ในเว็บไซต์ของตนเอง หรือ คลังความรู้องค์กร (Institutional Repository) เพื่อนำไปเผยแพร่บนอินเทอร์เน็ตต่อได้ <p>ลักษณะของ OA <p>1. Truly OA หมายถึง ให้ใช้บทความออนไลน์ได้ฟรีทันทีที่พิมพ์ ให้ผู้เขียนบทความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ และให้เผยแพร่บทความออนไลน์ได้โดยไม่มีข้อจำกัด <p>2. Delay OA หมายถึง ให้ใช้บทความออนไลน์ได้ฟรี เฉพาะฉบับย้อนหลัง (Free back issues) หลังจากตีพิมพ์ไปแล้ว <p>3. Dual-mode OA หมายถึง วารสารชื่อเดียวกัน มีทั้ง Print Subscription และ OA Edition <p>4. Hybrid OA หมายถึง ภายในวารสารฉบับเดียวกัน มีทั้งบทความ OA และ Non-OA <p>5. Partial OA หมายถึง OA เฉพาะบางบทความ (มักเป็นการโฆษณาของสำนักพิมพ์) <p>6. Low-income OA หมายถึง OA เฉพาะประเทศในกลุ่ม Low-income economies โดยให้บริการวารสารผ่านโครงการช่วยเหลือต่าง ๆ เช่น Hinari, AGORA <p>บรรณานุกรม <p>รุจเรขา อัศวิษณุ. แหล่งสารสนเทศวารสารแบบเสรี (Open Access). การสัมมนาเครือข่ายความร่วมมือ Journal Link, 24 สิงหาคม 2550, กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. <p>รังสิมา เพ็ชรเม็ดใหญ่. (2551). แหล่งสารสนเทศวิชาการที่เข้าถึงได้แบบเปิด : Open Access (OA) Resources. สารเนคเทค, 15(175), 49-56. <p>พรพรรณ บุญยะทิม. (2551). วิกฤติวารสารวิชาการ (The Journals / Serials Crisis). สารเนคเทค, 15(177), 63-67. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Assistive Technology | เทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก, เครื่องมือ อุปกรณ์ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรือบริการที่ใช้สำหรับคนพิการหรือผู้สูงวัย หรือที่มีการดัดแปลงหรือปรับใช้ให้ตรงกับความต้องการจำเป็นพิเศษของแต่ละบุคคล เพื่อเพิ่ม รักษา คงไว้ หรือพัฒนาความสามารถและศักยภาพที่จะเข้าถึงข้อมูล ข่าวสาร การสื่อสาร รวมถึงกิจกรรมอื่นใดในชีวิตประจำวันเพื่อการดำรงชีวิตอิสระ [Assistive Technology] | Digital Divide | ความเหลื่อมล้ำ (ช่องว่าง) ในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้, ความเหลื่อมล้ำระหว่างประชากรกลุ่มต่างๆ ภายในประเทศ ที่มีโอกาสในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้แตกต่างกัน เช่น ระหว่างประชากรในเมือง ใหญ่กับประชากรในชนบท ระหว่างกลุ่มประชากรที่มีเพศ อายุ ต่างกัน ระหว่างผู้ที่มีระดับการศึกษาต่างกัน ระหว่างผู้ที่มีเชื้อชาติและวัฒนธรรมที่ต่างกัน รวมถึงโอกาสในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ของผู้พิการ ที่อาจน้อยกว่าบุคคลทั่วไปอีกด้วย หรืออาจะไปเปรียบเทียบความเหลื่อมล้ำระหว่างคนในประเทศต่างๆ เพราะประเทศที่มั่งคั่ง จะมีความพร้อมมากกว่าประเทศยากจน [Assistive Technology] | e-book | หนังสืออิเล็กทรอนิกส์, สื่อข้อมูลดิจิทัลที่สามารถอ่านได้ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์พกพา อาจจะเป็นข้อความอย่างเดียว หรือข้อความและภาพ หรือข้อความ ภาพ และเสียง โดยเน้นให้ทุกคนเข้าถึงได้ โดยเฉพาะคนพิการจะได้รับประโยชน์ในการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ชนิดนี้ [Assistive Technology] | Access control | การควบคุมการเข้าถึง [TU Subject Heading] | Convention on Access to Information, Public Participation in Decision-making, and Access to Justice in Environmental Matters | อนุสัญญาว่าด้วยการเข้าถึงข้อมูล การมีส่วนร่วมของสาธารณะชนในการตัดสินใจ และการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมในเรื่องสิ่งแวดล้อม (ค.ศ. 1, อนุสัญญาว่าด้วยการเข้าถึงข้อมูล การมีส่วนร่วมของสาธารณะชนในการตัดสินใจ และการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมในเรื่องสิ่งแวดล้อม (ค.ศ. 1998) [TU Subject Heading] | Digital divide | ความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ [TU Subject Heading] | Health services accessibility | การเข้าถึงบริการทางการแพทย์ [TU Subject Heading] | Random access memory | หน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่ม [TU Subject Heading] | Remote access | การเข้าถึงระยะไกล [TU Subject Heading] | Access and Benefit Sharing | การแบ่งปันผลประโยชน์และการเข้าถึง [การทูต] | Cultural Diplomacy | การทูตวัฒนธรรม หมายถึง กิจกรรมด้านวัฒนธรรมในกรอบกว้าง ทั้งภาษา ความคิด อุดมการณ์ ทัศนคติ ประเพณี วิทยาการความรู้ การกีฬาและวิถีชีวิต (ไม่เพียงแต่การส่งคณะนาฏศิลป์ไปแสดงในต่างประเทศเท่านั้น) ทั้งนี้ เพื่อ ใช้สิ่งเหล่านี้เป็นเครื่องมือสร้างความรู้สึกที่ดีต่อกัน โดยใช้แนวทางปฏิบัติอย่างต่อเนื่องในลักษณะซึมลึกเพื่อให้เข้าถึงประชาชน [การทูต] | food security | ความมั่นคงทางด้านอาหาร หมายถึง การที่ประชากรโลกมีอาหารเพียงพอกับความต้องการ (availibility) มีเสถียรภาพ (stability) และสามารถเข้าถึงได้ (accessibility) แนวความคิดเรื่องความมั่นคงทางด้านอาหารนี้ เป็นผลสืบเนื่องมาจากการรับรองปฏิญญากรุงโรม ของที่ประชุมสุดยอด อาหารโลก เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2539 ซึ่งมีวัตถุประสงค์ที่จะขจัดความหิวโหย และลดปัญหาทุโภชนาการของประชากรโลก โดยตั้งเป้าหมายที่จะลดจำนวนประชากรที่ขาดอาหารให้เหลือครึ่งหนึ่งจากที่มี อยู่ในปัจจุบัน ภายในปี พ.ศ. 2558 [การทูต] | Open and Caring Societies | สังคมเปิดและเอื้ออาทร เป็นส่วนหนึ่งของวิสัยทัศน์อาเซียนปี พ.ศ. 2563 ที่ได้เล็งเห็นว่า ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยรวมในปีดังกล่าวจะมีสังคมเปิดที่ประชาชน ยึดมั่นในเอกสักษณ์แห่งชาติของตนและเข้าถึงโอกาสของการพัฒนาความเป็นมนุษย์ อย่างสมบูรณ์ได้อย่างเท่าเทียมกัน และจะเป็นสังคมเอื้ออาทรที่ความหิวโหยทุกข์โภชนาการ การสูญเสียและความยากจนจะไม่ใช่ปัญหาพื้นฐาน และเป็นสังคมที่มีสถาบันครอบครัวที่เข้มแข็ง [การทูต] | Knowledge Access | การเข้าถึงความรู้ [การจัดการความรู้] | Choice of Access Points | การเข้าถึงรายการวัสดุสารสนเทศ, Example: <p>การกำหนดรายการทางบรรณานุกรมเพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศนั้นๆ และสามารถใช้บริการสารสนเทศนั้นได้ถ้าตรงกับความต้องการ การกำหนดรายการบรรณานุกรมเพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศต่างๆ ได้นั้น บรรณารักษ์หรือนักเอกสารสนเทศจำเป็นต้องวิเคราะห์สารสนเทศเพื่อกำหนดตัวแทนของเนื้อหาหรือของสารสนเทศนั้น ตัวแทนของเนื้อหามักจะเป็นคำ กลุ่มคำ รหัส ฯลฯ ซึ่งทำหน้าที่เสมือนเป็นช่องทางหรือจุดเข้าถึงรายการบรรณานุกรมของสารสนเทศที่ต้องการ รายการเข้าถึงนี้ช่วยให้ผู้ใช้บริการสามารถค้นหาทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการ ได้อย่างรวดเร็วและกว้างขวางมากขึ้น รายการเข้าถึงนี้จำแนกได้เป็นรายการหลักและรายการเพิ่ม การกำหนดเลือกว่าจะเป็นรายการใดนั้น ใช้หลักเกณฑ์ในการพิจารณา คือ การลงรายการแบบแองโกลอเมริกัน (Anglo-American Cataloging Rules) <p>รายการ หลัก คือ รายการแรกที่ลงในรายการบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศ โดยทั่วไปรายการหลักจำแนกออกเป็นรายการหลักชื่อบุคคล นิติบุคคล และชื่อเรื่อง <p>รายการเพิ่ม คือ รายการเข้าถึงที่กำหนดเพิ่มนอกเหนือรายการหลักที่มีอยู่ โดยอาจทำภายใต้ชื่อบุคคล ชื่อนิติบุคคล ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง ตลอดจนรายการจำแนกหรือรายการเพิ่มอื่นๆ ที่เห็นว่าจะช่วยให้ผู้ใช้เข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศนั้น ๆ ได้มากยิ่งขึ้น <p>ใน การกำหนดรายการเพื่อการเข้าถึงนั้น AACR2R (Anglo-American Cataloging Rules 2nd ed. 1988 Revision) ได้กำหนดหลักเกณฑ์ในการเลือกใช้เพื่อเป็นรายการเข้าถึง ทั้งที่เป็นรายการหลักและรายการเพิ่มไว้ให้เป็นแนวทางในการพิจารณา โดยที่หลักเกณฑ์ดังกล่าวมีรายละเอียดมาก ทั้งนี้จะมีตั้งแต่ <p> 1. การแจ้งถึงแหล่งข้อมูลสำคัญ (Chief source of information) ที่ใช้ในการเลือกรายการเข้าถึง <p> 2. การเลือกรายการ (ชื่อบุคคลที่เป็นเจ้าของผลงานตั้งแต่ 1 คนขึ้นไปแต่ไม่ถึง 3 คน / ผลงานที่มีผู้รับผิดชอบมากกว่า 3 คน / ผลงานที่มีผู้รับผิดชอบที่ทำหน้าที่แตกต่างกัน / การลงรายการนิติบุคคล / การลงรายการชื่อเรื่องที่เป็นรายการหลัก / การลงรายการชื่อเรื่องแบบฉบับ เป็นต้น) <p> 3. รูปแบบในการลงรายการ เช่น รูปแบบการลงชื่อบุคคลชาวต่างประเทศ ชื่อพระมหากษัตริย์ ชื่อพระบรมวงศานุวงศ์ พระภิกษุ / รูปแบบการลงรายชื่อนิติบุคคล / รูปแบบการลงรายการชื่อภูมิศาสตร์ เป็นต้น <p> ตัวอย่าง ในหน้าปกใน หรือ Title page ซึ่งถือว่าเป็นแหล่งข้อมูลสำคัญในการพิจารณาเลือกลงรายการที่ปรากฏอยู่ใน หน้านี้เป็นสำคัญ ถ้าไม่สามารถหาข้อมูลจากแหล่งนี้ได้ให้หาจากส่วนอื่น ๆ ในตัวอย่างนี้หน้าปกในปรากฏเพียง <p> ฉลาดเลือก ฉลาดใช้ OpenSource Software <p> แต่จะมีปรากฏชื่อผู้แต่ง คือ บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ บุญเกียรติ เจตจำนงนุช และ นพพร ม่วงระย้า ในหน้าคำนิยม <p> รายการหลักคือ บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ <p> รายการเพิ่ม (บุคคล) คือ บุญเกียรติ เจตจำนงนุช <p> รายการเพิ่ม (บุคคล) คือ นพพร ม่วงระย้า <p> รายการเพิ่ม (นิติบุคคล) คือ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ <p> รายการเพิ่ม (ชื่อเรื่อง) คือ ฉลาดเลือก ฉลาดใช้ OpenSource Software <p> รายการเพิ่ม (ชื่อเรื่อง) คือ OpenSource Software <p> รายการเพิ่ม (หัวเรื่อง) คือ 1.โอเพนซอร์สซอฟต์แวร์, 2. ซอฟต์แวร์รหัสเปิด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Access | การเข้าถึง [การแพทย์] | Accessibility | การจัดบริการให้ทั่วถึง, การเข้าถึง, การบริการเข้าถึงประชาชน, ความเข้าถึง [การแพทย์] | Approach | การเริ่มตรวจค้น, การเข้าใกล้ผู้ป่วย, การเข้าถึง [การแพทย์] | Web Accessibility Initiative | คณะริเริ่มดำเนินการทำให้เว็บเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ [Assistive Technology] | Web Content Accessibility Guidelines | ข้อกำหนดการทำให้เนื้อหาเว็บสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ [Assistive Technology] | Knowledge accessibility | การเข้าถึงความรู้ [การจัดการความรู้] | Bibliographic instruction | การสอนการเข้าถึงบรรณานุกรม, Example: <b>การสอนการเข้าถึงบรรณานุกรม (Bibliographic instruction)</b> เป็นบริการที่บรรณารักษ์ต้องเป็นผู้ให้ บริการแก่ผู้ใช้โดยการสอนหรือสร้างทักษะการรู้สารสนเทศให้แก่ผู้ใช้ ประกอบด้วยโปรแกรมการเรียนการสอนที่ออกแบบมาเพื่อสอนผู้ใช้ห้องสมุดเกี่ยวกับวิธีการค้นหาข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องการได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพเป็นการช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารสนเทศได้ด้วยตนเอง ในการสอนมักจะครอบคลุมถึงระบบของห้องสมุด โครงสร้างของวรรณกรรมในสาขา วิธีการวิจัยที่เหมาะสมในสาขาวิชา ทรัพยากรโดยเฉพาะ และเครื่องมือที่ใช้ในการค้นหา (บัตรรายการห้องสมุด ดัชนีและบริการสาระสังเขป ฐานข้อมูลบรรณานุกรม ฯลฯ ) โดยการสอนแนวคิดและตรรกะในการเข้าถึงสารสนเทศและการประเมินผล และโดยสนับสนุนความเป็นอิสระของสารสนเทศและการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การสอนการใช้ห้องสมุดเกิดขึ้นในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ในชั้นเรียนแบบเป็นทางการ ในกลุ่มขนาดเล็ก การพบกันแบบตัวต่อตัว การนำเสนอด้วยวีดิทัศน์และคอมพิวเตอร์ช่วยสอน<br> <br>ในห้องสมุดมหาวิทยาลัย การสอนการเข้าถึงบรรณานุกรมอาจเป็นการสอนโดยให้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาหรือเป็นการสอนแบบบูรณาการกับรายวิชาอื่นในหลักสูตร ห้องสมุดที่มีห้องปฏิบัติการการเรียนการสอนคอมพิวเตอร์ที่มีอุปกรณ์ครบครันสามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการสอนเกี่ยวกับการใช้บัตรรายการออนไลน์ ฐานข้อมูลบรรณานุกรม และทรัพยากรอินเทอร์เน็ต ซึ่งหน้าที่สอนการเข้าถึงรายการบรรณานุกรมเป็นหน้าที่หลักสำคัญของบรรณารักษ์ผู้ให้บริการที่ได้รับการฝึกอบรมเป็นพิเศษและมีประสบการณ์ในด้านวิธีการสอน อย่างไรก็ตามการสอนการเข้าถึงบรรณานุกรมโดยให้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาที่เรียนในหลักสูตรนั้น คณาจารย์อาจต้องร่วมมือกับบรรณารักษ์ของห้องสมุด เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิธีค้นสารสนเทศด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป นอกจากนั้นห้องสมุดมหาวิทยาลัยบางแห่งอาจจัดช่วงเวลาให้กับผู้ใช้ที่ทำวิจัย โดยบรรณารักษ์จะทำงานกับผู้ใช้แบบหนึ่งต่อหนึ่งเพื่อช่วยให้คำปรึกษาการทำวิจัยแก่ผู้ใช้ที่ทำวิจัยโดยเฉพาะ [Assistive Technology] | fourth-generation languages( 4GLs ) | โฟร์ทจีแอล, กลุ่มของภาษาที่แตกต่างจากภาษาเชิงกระบวนความ ที่เน้นให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลในฐานข้อมูลได้โดยง่าย ภาษาจะมีความคล้ายคลึงกับภาษาอังกฤษที่ใช้กันอยู่ ตัวอย่างของภาษา 4GL เช่น ภาษาเอสคิวแอล [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Internet | อินเทอร์เน็ต, เครือข่ายขนาดใหญ่ที่เชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขององค์กรธุรกิจ หน่วยงานของรัฐบาล สถานศึกษา ตลอดจนเชื่อมโยงบุคคลต่างๆ เข้าไว้ด้วยกัน ทำให้ข้อมูล สารสนเทศ สินค้า และบริการที่นำเสนอผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์เหล่านี้สามารถเข้าถึงได้จากคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อื [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | search engine | โปรแกรมค้นหา, ใช้สำหรับค้นหาเว็บเพจที่ต้องการ โดยระบุคำหลักหรือคำสำคัญ (keyword) เพื่อนำไปค้นในฐานข้อมูลขนาดใหญ่ ซึ่งรวบรวมเว็บเพจต่างๆ ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นรายการเว็บเพจที่ประกอบด้วยคำหลักที่ระบุ ช่วยให้เราสามารถเข้าถึงข้อมูลทุกประเภท หลากหลายรูปแบบ เพื่อการศึกษาหรือเพื [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | electronic commerce (e-commerce) | พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์, การทำธุรกรรมซื้อขาย หรือแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการบนอินเทอร์เน็ต โดยใช้เว็บไซต์เป็นสื่อในการนำเสนอสินค้าและบริการต่างๆ รวมถึงการติดต่อกันระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย ทำให้ผู้เข้าใช้บริการจากทุกที่ทุกประเทศ หรือทุกมุมโลกสามารถเข้าถึงร้านค้าได้ง่ายและตลอด 24 ชั่ว [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | web hosting | เว็บโฮสติง, บริการพื้นที่สำหรับสร้างเว็บบนอินเทอร์เน็ต และจัดเก็บเว็บไซต์ของหน่วยงาน หรือบุคคลทั่วไป เพื่อให้บุคคลอื่นเข้าถึงได้ผ่านอินเทอร์เน็ต [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | World Wide Web (WWW) | เวิลด์ไวด์เว็บ, การให้บริการข้อมูลแบบไฮเปอร์เท็กซ์ ที่ประกอบไปด้วยเอกสารจำนวนมากที่มีการเชื่อมโยงกัน ซึ่งเป็นแหล่งของข้อมูลขนาดใหญ่ที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตสามารถเข้าถึงผ่านโพรโทคอลที่เรียกว่า เอชทีทีพี นอกจากนี้องค์กร W3C ได้นิยามคำว่าเว็บคือ จักรวาลของสารสนเทศที่สามารถเข้า [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | static RAM (SRAM) | สแตติกแรม, หน่วยความจำประเภท RAM ที่พัฒนามาจากทรานซิสเตอร์ มีคุณสมบัติสามารถเก็บรักษาข้อมูลไว้ในหน่วยความจำตราบเท่าที่ยังมีไฟเลี้ยงอยู่ และทำงานได้โดยที่ไม่ต้องมีการเขียนข้อมูลลงไปซ้ำหลายครั้งเพื่อรักษาข้อมูลภายในอยู่ตลอดเวลา อีกทั้งยังมีความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลที [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Group Approach | การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายแบบเป็นกลุ่ม, [การแพทย์] | Individual Approach | การให้สุขศึกษาแบบรายบุคคล, ให้เป็นรายบุคคล, การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายเป็นรายบุคคล [การแพทย์] | Last mile | วงจรสื่อสารสำหรับการเข้าถึงโครงข่ายระยะสุดท้าย, Example: วงจรสื่อสารสำหรับการเข้าถึงโครงข่ายระยะสุดท้ายที่สามารถใช้เทคโนโลยีสื่อสารหลายประเภทเพื่อเชื่อมต่อโครงข่ายหลักกับผู้ใช้ปลายทาง ซึ่งถือเป็นส่วนที่ยากในการลงทุนที่สุดของโครงข่ายเนื่องจากต้องกระจายออกจากโครงข่ายหลักไปสู่ผู้ใช้จำนวนมาก กล่าวคือ เป็นช่วง “หนึ่งไมล์สุดท้าย” และ “หนึ่งไมล์แรกของการสื่อสาร” [เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ] | Mass Media Approach | การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายโดยทางสื่อมวลชน [การแพทย์] |
| การเข้าถึง | [kān khaotheung] (n) EN: access FR: accès [ m ] | เข้าถึง | [khaotheung] (v) EN: access FR: accéder | เข้าถึงได้ง่าย | [khaotheung dāi ngāi] (adj) EN: accessible FR: accessible | สิทธิที่จะเข้าถึง | [sitthi thī ja khaotheung] (n, exp) EN: access right FR: droit d'accès [ m ] |
| virtual organization | (n) องค์การเสมือนจริง, เครือข่ายขององค์การซึ่งเชื่อมโยงกันด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อที่จะแลกเปลี่ยนทักษะ ทรัพยากร สินค้า บริการ การเข้าถึงตลาด และเพื่อลดต้นทุน |
| approachable | (adj) ที่เข้าถึงได้ง่าย, See also: ที่เป็นมิตร, ที่สนิทได้ง่าย, Syn. friendly, receptive, sanction | above someone's head | (idm) ยากเกินกว่าจะเข้าใจ, See also: ฉลาดเกินกว่า บางคน จะเข้าถึง | get inside | (phrv) เข้าถึง, See also: เข้าใจรู้ซึ้ง | get out of | (phrv) เอื้อมไม่ถึง, See also: เปลี่ยนหรือเคลื่อนย้ายจนเกินจะเอื้อมถึงหรือเข้าถึง | get out of | (phrv) เอื้อมไม่ถึง, See also: เปลี่ยนหรือเคลื่อนย้ายจนเกินจะเอื้อมถึงหรือเข้าถึง | hearken after | (phrv) เข้าถึง (คำเก่า) | nave | (n) ทางเดินยาวระหว่างที่นั่งในโบสถ์จากประตูเข้าถึงแท่นบูชา | reach | (vi) ครอบงำ, See also: มีอิทธิพลหรือผลกระทบต่อ, เข้าถึง, Syn. control, dominate | reach | (vt) ครอบงำ, See also: มีอิทธิพลหรือผลกระทบต่อ, เข้าถึง, Syn. control, dominate | reachable | (adj) ซึ่งเอื้อมถึง, See also: ซึ่งเข้าถึงได้, Syn. attainable | reach after | (phrv) พยายามไปถึง, See also: เข้าถึง | take up to | (phrv) ทำให้สามารถเข้าถึง / ไปถึง, Syn. get to, get up to | website | (n) ที่อยู่ของเว็บบนระบบค้นหาและเข้าถึงข้อมูลบนอินเตอร์เนต | World Wide Web | (n) ระบบค้นและเข้าถึงข้อมูลบนอินเตอร์เนต | wash over | (phrv) เข้าถึง (จิตใจ) ของ |
| access arm | ก้านเข้าถึง <คำแปล>หมายถึง อุปกรณ์ในหน่วยบันทึก มีลักษณะเป็นก้านที่ต่อกับหัวอ่าน/บันทึก (read / write head) ที่ใช้เจาะเข้าไปที่จานบันทึก เพื่ออ่านข้อมูลออกมาจากที่เก็บข้อมูล หรือเพื่อบันทึกข้อมูลลงในจานบันทึก มีลักษณะคล้ายเข็มของเครื่องเล่นจานเสียง | access key | กุญแจการเข้าถึงหมายถึง รหัส หรือคำหลักที่ใช้เพื่อให้เข้าถึงข้อมูลที่มีเก็บไว้ได้ ข้อมูลบางอย่างต้องทำเป็นการเฉพาะ และจะยอมให้เรียกมาใช้ได้เฉพาะคนบางกลุ่ม จึงต้องมีกุญแจที่จะให้รู้กันเฉพาะคนในกลุ่ม ผู้ที่ไม่รู้กุญแจ ก็ไม่สามารถเรียกเอาข้อมูลออกมาดู หรือมาใช้หรือแก้ไขได้ | access mechanism | กลไกการเข้าถึง <คำแปล>หมายถึง กลไกของอุปกรณ์ที่ใช้รองรับ และเคลื่อนย้ายก้านเข้าถึง (access arm) ของหน่วยจานบันทึก (disk drive) ไปบนพื้นผิวของจาน เพื่อให้สามารถเข้าถึงข้อมูล หรือดึงข้อมูลออกมา หรือบันทึกข้อมูลลงจานบันทึก | access method | วิธีเข้าถึงโปรแกรมสำหรับเข้าถึงหมายถึง ระเบียบวิธีการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่งสำหรับการเก็บและเรียกใช้ข้อมูลมี 2 วิธี คือ วิธีการเข้าถึงโดยตรง (direct) หรือโดยสุ่ม (random) และวิธีการเข้าถึงโดยอ้อม (indirect) หรือโดยลำดับ (sequential) ดู direct และ indirect access ประกอบ | access time | ช่วงเวลาเข้าถึง (ข้อมูล) หมายถึง เวลาที่ใช้ในการที่หัวอ่าน (บางทีเรียกหัวเข็ม) ของหน่วยบันทึกจะสามารถอ่านแฟ้มข้อมูล หรือดึงข้อมูลออกมาจากที่เก็บข้อมูล เช่น จากจานบันทึก หรือฮาร์ดดิสก์ หากใช้เวลาเข้าถึงข้อมูลน้อย ก็หมายความว่า อ่านได้เร็ว ดู direct access, indirect access, random access, sequential access, immediate access ประกอบ | cache | (แค?) { cached, caching, caches } n. ที่ซ่อน, ที่เก็บ, สิ่งที่ซ่อนไว้ vt. ซ่อน, เก็บ หน่วยความจำแคชหมายถึง ส่วนหนึ่งของหน่วยความจำ (memory) ที่ถูกกันไว้เก็บข้อมูลที่จะต้องการใช้เป็นการชั่วคราว การเข้าถึงหน่วยความจำส่วนนี้จะทำได้เร็วกว่าธรรมดามาก ในการโฆษณาขายเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์ มักจะมีบ่งบอกไว้ด้วยเสมอว่า หน่วยความจำแคชนี้มีขนาดความจุเท่าใด เช่น 256 K cache เป็นต้น เพราะเป็นการแสดงถึงประสิทธิภาพของเครื่องอย่างหนึ่ง บางทีเรียก cache memory | common user access | การเข้าถึงผู้ใช้ร่วมกันใช้ตัวย่อว่า CUA หมายถึง ตัวชี้นำ (guidelines) ที่ เครื่องไอบีเอ็มสร้างขึ้นมา ใช้เพื่อทำให้การเข้าสู่โปรแกรมมีลักษณะเป็นแบบเดียวกัน แม้แต่เครื่องแมคอินทอชก็ใช้ตัวชี้นำนี้ | computer security | ความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน การใช้ระบบเครือข่ายทำให้สามารถดึงข้อมูล ซึ่งบางทีเป็นความลับออกมาดู หรือแอบนำไปเผยแพร่ได้ ฉะนั้น จึงต้องมีการจัดระบบความปลอดภัย ส่วนใหญ่ใช้รหัส ซึ่งจะทำให้ทุกคนไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลทั้งหมดได้ เราอาจอนุญาตเฉพาะคนบางคน หรือกลุ่มคนบางคน ให้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยต้องรู้รหัส ฉะนั้นในขณะที่มีการสร้างฐานข้อมูล ก็ควรคำนึงถึงเรื่องนี้ไว้ด้วย | dasd | (แดสดี) ย่อมาจาก direct access storage device (แปลว่า อุปกรณ์หน่วยเก็บแบบเข้าถึงโดยตรง) หมายถึงสื่อที่ใช้เก็บข้อมูลที่สามารถเข้าถึงได้โดยตรง (direct access) หรือทันที ไม่ว่าข้อมูลนั้นจะถูกบันทึกไว้ในส่วนใด เช่น จานบันทึก (disk) ดู direct access ประกอบ | data encryption standards | มาตรฐานการเข้ารหัสใช้ตัวย่อว่า DES หมายถึงข้อกำหนดมาตรฐานในการเข้าถึงข้อมูลที่รัฐบาลเป็นผู้กำหนดขึ้น โดยวิธีใช้รหัส ผ่าน (password) ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยของข้อมูล | des | 1. abbr. disequilibrium syndrome 2. (ดีอีเอส) ย่อมาจากคำ data encryption standards (แปลว่า มาตรฐานการเข้ารหัสลับข้อมูล) หมายถึงข้อกำหนดมาตรฐานในการเข้าถึงข้อมูลที่รัฐบาลเป็นผู้กำหนดขึ้น โดยวิธีใช้รหัสผ่าน (pass word) ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยของข้อมูล | direct access | การเข้าถึงโดยตรงหมายถึง การเข้าถึงข้อมูลโดยใช้เวลาในการค้นหาข้อมูลได้เร็วเท่ากันหมด ไม่ขึ้นกับตำแหน่งที่เก็บ หมายความว่า ไม่ว่าข้อมูลจะเก็บอยู่ที่ส่วนใดของสื่อที่ใช้บันทึก หัวอ่าน (read head) ก็จะเจาะตรงลงไปอ่านได้เลย เช่น การอ่านข้อมูลจากจานบันทึก ซึ่งผิดกับการอ่านข้อมูลจากแถบบันทึก (tape) ที่ต้องอ่านเรียงไปตามลำดับตั้งแต่ต้นเทปไปจนกว่าจะถึงข้อมูลที่ต้องการทุกครั้ง ทำให้ช้ากว่ากันมากดู indirect access เทียบ | direct access storage dev | อุปกรณ์หน่วยเก็บข้อมูลเข้าถึงโดยตรงใช้ตัวย่อว่า DASD (อ่านว่าแดสดี) หมายถึงหน่วยเก็บข้อมูลที่ สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรง ไม่ว่าข้อมูลนั้นจะถูกบันทึกไว้ ณ ส่วนใด เช่น จานบันทึก ดู direct access ประกอบ | drum | (ดรัม) { drummed, drumming, drums } n. กลอง, เสียงกลอง, เยื่อแก้วหู vt., vi. ตีกลอง, เคาะจังหวะ. ดรัม <คำอ่าน>หมายถึงสื่อเก็บข้อมูลชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นวัสดุรูปทรงกระบอกที่หมุนรอบแกนด้วยความเร็ว ที่ผิวนอกฉาบด้วยสารแม่เหล็ก การบันทึกข้อความลงเก็บ จะต้องบันทึกลงบนผิวดรัม ผ่านหัวบันทึก (write head) และอ่านข้อความออกโดยหัวอ่าน (read head) จึงเป็นได้ทั้งหน่วยรับข้อมูล (input) และหน่วยแสดงผล (output) มีความเร็วในการเข้าถึงข้อมูล สูงกว่าเทปแม่เหล็ก (magnetic tape) แต่ยังช้ากว่าจานแม่เหล็ก (magnetic disk) โดยปกติจะต้องเรียกเต็ม ๆ ว่า magnetic drum | erase head | หัวลบเป็นกลไกส่วนหนึ่งในหน่วยบันทึกข้อมูล (drive) อยู่ติดกับก้านเข้าถึง (access arm) ใช้ลบข้อมูล หรือแฟ้มข้อมูลออกจากจานบันทึก ดู read/write head | extended memory specifica | ข้อกำหนดหน่วยความจำแบบขยายใช้ตัวย่อว่า XMS (อ่านว่า เอกซ์เอ็มเอส) เป็นมาตรฐานการจัดการเกี่ยวกับหน่วยความจำแบบหนึ่งที่ยอมให้โปรแกรมระบบดอส เข้าถึงส่วนความจำขยายได้ โปรแกรมในดอสที่จัดการเรื่องนี้ มีชื่อว่า Himem.Sys | front end | เสริมหน้าหมายถึง โปรแกรมหนึ่งโปรแกรมใด หรือคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งเครื่องใดที่ซ่อนรายละเอียดของการเข้าถึงข้อมูลเอาไว้ สรุปง่าย ๆ ได้ว่า ตัวโปรแกรมนั้นเองที่มีตัวเสริมหน้า เป็นตัวกันมิให้ใครเข้าถึงข้อมูลได้ นอกจากจะรู้จักคำสั่งต่าง ๆ | hashing | (แฮชชิง) หมายถึง วิธีการเขียนโปรแกรมให้จานบันทึกเก็บข้อมูลได้โดยอาศัยวิธีการคำนวณ การจะเข้าถึงข้อมูลได้ จะต้องรู้เลขประจำตำแหน่งต่าง ๆ เหล่านี้ อย่างไรก็ตาม ถ้าคิดเพียงจะเป็น ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ก็ไม่จำเป็นต้องรู้จักคำนี้เลยก็ได้ | http | คำย่อ hypertext transfer protocol โปรโตคอลหลังฉากที่ส่งข้อมูลโดยทาง WWW (World Wide Web) โปรโตคอลนี้ทำให้ผู้ใช้เข้าถึงโปรแกรมลูกค้าเข้าสู่ URL หรือเข้าหาไฮเพอเทกซ์ | immediate access | หมายถึง การเข้าถึงข้อมูลโดยใช้เวลาในการค้นหาข้อมูลได้เร็วเท่ากันหมด ไม่ขึ้นกับตำแหน่งที่เก็บ หมายความว่า ไม่ว่าข้อมูลจะเก็บอยู่ที่ส่วนใดของสื่อที่ใช้บันทึก หัวอ่าน (read head) ก็จะเจาะตรงลงไปอ่านได้เลย เช่น การอ่านข้อมูลจากจานบันทึก ซึ่งผิดกับการอ่านข้อมูลจากแถบบันทึก (tape) ที่ต้องอ่านเรียงไปตามลำดับตั้งแต่ต้นเทปไปจนกว่าจะถึงข้อมูลที่ต้องการทุกครั้ง ทำให้ช้ากว่ากันมากมีความหมายเหมือน direct access | indexed sequential access | วิธีการเข้าถึงลำดับดรรชนีใช้ตัวย่อว่า ISAM (อ่านว่า ไอแซม) เป็นเทคนิคที่ใช้ในการเก็บข้อมูลอย่างหนึ่ง เพื่อให้สามารถเรียกมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่ง ใช้ในโปรแกรมประเภทคลังข้อมูล | isam | (ไอแซม) ย่อมาจาก indexed sequential access method (แปลว่า วิธีการเข้าถึงลำดับดรรชนี) เป็นเทคนิคที่ใช้ในการเก็บข้อมูลอย่างหนึ่ง เพื่อให้สามารถเรียกมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่ง ใช้ในโปรแกรมประเภทคลังข้อมูล | magnetic drum | ดรัมแม่เหล็กหมายถึง วัสดุรูปทรงกระบอกที่หมุนรอบแกนด้วยความเร็ว ที่ผิวนอก ฉาบด้วยสารแม่เหล็ก ในการบันทึกข้อมูลลงบนพื้นผิวของดรัม จะบันทึกผ่านหัวบันทึก (write head) และอ่านข้อความออกโดยหัวอ่าน (read head) ดรัมจึงเป็นได้ทั้งหน่วยรับข้อมูล (input) และหน่วยแสดงผล (output) มีความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลน้อยกว่าแถบบันทึก (tape) แต่ยังช้ากว่าจานบันทึก (disk) | magnetic tape | แถบบันทึกแม่เหล็กหมายถึง แถบที่ทำด้วยพลาสติกฉาบออกไซด์ของโลหะ มีลักษณะคล้ายเทปหรือแถบบันทึกเสียง ม้วนอยู่บนวงล้อ มีหลายขนาด เป็นต้นว่า ขนาดยาว 2, 400 ฟุต 1, 200 ฟุต และ 600 ฟุต ตัวเทปกว้าง ? นิ้ว บันทึกข้อมูลได้ประมาณ 800-1, 600 ตัวอักษรต่อความยาวของเนื้อเทป 1 นิ้ว เทปหรือแถบบันทึกนี้สามารถเป็นได้ทั้งหน่วยรับข้อมูลและหน่วยแสดงผล คอมพิวเตอร์จะมีเครื่องมือที่ใช้อ่านและบันทึกข้อมูลลงในเทป เรียกว่า หน่วยขับเทป (tape drive) เราสามารถบันทึกข้อมูลใหม่ลงทับบนข้อมูลเก่าได้เหมือนการบันทึกเพลง ข้อมูลเดิมจะหายไปโดยอัตโนมัติ ข้อเสียของเทปก็คือ การค้นหาข้อมูลทำได้ช้า เพราะต้องเริ่มตั้งแต่ต้นเทปเสมอ ถ้าข้อมูลอยู่ปลายเทป ก็จะเสียเวลานาน การค้นหาแบบนี้เรียกว่าการเข้าถึงแบบเรียงลำดับ (sequential access) ซึ่งตรงข้ามกับการเข้าถึงแบบสุ่ม (direct access) ของจานบันทึก | path | เส้นทางเป็นคำสั่งในระบบดอส ใช้ในแฟ้มข้อมูล autoexec.bat เพื่อให้สามารถเข้าถึงแฟ้มข้อมูลที่เก็บอยู่ได้ โดยไม่ต้องบอกที่เก็บทุกครั้ง ตัวอย่าง เช่นPATH=C:\DOS; C: \WINDOWS ; C:\ WINWORD ; C: \EXCEL | protected storage | หน่วยเก็บมีการอารักขาหมายถึง หน่วยเก็บข้อมูลที่จะเข้าถึงได้ เฉพาะเมื่อรู้คำหลัก (keyword) เราจะใช้หน่วยเก็บนี้เมื่อต้องการเก็บข้อมูลที่เป็นความลับ | proxy server | ตัวบริการแทนหมายถึง คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งที่ทำหน้าที่เก็บข้อมูลในอินเตอร์เน็ต หากสถานีปลายทางเครื่องใดต้องการข้อมูล ก็จะสามารถเรียกได้จากตัวบริการแทนนี้ จะทำให้เข้าถึงข้อมูลได้เร็วกว่าเรียกหาเอง | ram | (แรม) n. แกะตัวผู้, กลุ่มดาวแกะ, เครื่องกระทุ้ง, เครื่องกะแทก, เครื่องตอกเสาเข้ม, การยัดเยียดเรื่องราวลงในสมอง., แรมย่อมาจาก random access memory แปลว่า หน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่ม เป็นหน่วยความจำประเภทหนึ่งที่เราสามารถเข้าถึงได้โดยวิธีการสุ่ม การเข้าถึงโดยสุ่ม หมายถึง การเข้าถึงหน่วยความจำทุกจุดได้ โดยใช้เวลาในการเข้าถึงเท่ากันหมด ไม่ต้องตั้งต้นใหม่ทุกครั้งแล้วรอไปตามลำดับ (อย่างแถบบันทึกหรือเทป) "แรม" จะหมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์วัดขนาดกันเป็นกิโลไบต์ หรือเมกะไบต์ ทำงานได้รวดเร็วมาก แต่เมื่อปิดไฟ ข้อมูลในนี้ก็จะหายไปหมด ไมโครคอมพิวเตอร์ที่ขายทั่วไปมักจะต้องมีข้อความบอกว่า มีแรมขนาดใด ยิ่งมีแรมมาก ก็จะยิ่งทำงานได้เร็ว ดู ROM เปรียบเทียบ vt. กระทุ้ง, ตอก, กระแทก, ยัด, ยัดเยียด, ดันอย่างแรง., See also: rammer n., Syn. strike, batter, cram | ram disk | จานแรมหมายถึง ส่วนของหน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำงานแบบเข้าถึงโดยสุ่มเหมือนแรม แต่ใช้เก็บแฟ้มข้อมูลเพื่อให้เรียกมาใช้ได้เหมือนจานบันทึก จานแรมนี้จะทำงานได้เร็วกว่าจานบันทึกธรรมดามาก อย่างไรก็ตาม ข้อเสียก็คือถ้าปิดไฟที่เครื่อง ข้อมูลเหล่านี้จะหายหมด โดยปกติ จะมีการแบ่งจานแรมนี้ ออกมาจากแรมส่วนหนึ่ง เพื่อใช้เก็บแฟ้มที่ต้องการเรียกใช้โปรแกรม สำเร็จสมัยปัจจุบันมักจะมีขนาดใหญ่ และต้องการใช้เนื้อที่ในแรมมาก ทำให้คอมพิวเตอร์ที่มีแรมต่ำเกือบจะใช้ไม่ได้อีกต่อไป หรือไม่ก็ทำงานช้ามาก อาจจะแก้ไขได้ด้วยวิธีการเพิ่มแรมมีความหมายเหมือน virtual disk ดู RAM ประกอบ | random access | การเข้าถึงโดยสุ่มการเข้าถึงข้อมูลที่บันทึกไว้โดยสุ่มหมายความว่าเข้าถึงได้ทุก ๆ จุดได้โดยทันทีทันใด เป็นต้นว่า การเข้าถึงข้อมูลที่เก็บในจานบันทึก ซึ่งจะใช้เวลาเท่ากันหมดไม่ว่าเก็บไว้ที่จุดไหน ต่างกับการเข้าถึงข้อมูลที่เก็บไว้ในแถบบันทึกหรือเทป ถ้าข้อมูลที่ต้องการอยู่ตอนปลาย ก็จะต้องรอให้เทปเดินหน้าไปจนถึงจุดนั้นเสียก่อน การเข้าถึงข้อมูลโดยวิธีนี้ จะมีหัวอ่าน/บันทึก (read head) ต่อกับก้านโลหะที่เคลื่อนเข้า/ออกได้ เหนือจานที่หมุนรอบแกนอีกทีหนึ่ง เปรียบเทียบ) ถ้าเปรียบกับการฟังเพลงจากจานเสียงและเทป จะทำให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น กล่าวคือ ถ้าเป็นเทปหรือแถบบันทึก หากจะฟังเพลงที่อยู่ในลำดับท้าย ๆ ก็จะต้องรอให้เทปหมุนผ่านเพลงในลำดับแรก ๆ ไปก่อน แต่ถ้าเป็นจานเสียง เราต้องการฟังเพลงใด ก็สั่งได้ทันทีดู sequential access เปรียบเทียบ | random access memory | หน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่มใช้ตัวย่อว่า RAM (อ่านว่า แรม) เป็นหน่วยความจำประเภทหนึ่งที่เราสามารถเข้าถึงได้โดยวิธีการสุ่ม การเข้าถึงโดยสุ่มหมายถึง การเข้าถึงหน่วยความจำทุกจุดได้ โดยใช้เวลาในการเข้าถึงเท่ากันหมด ไม่ต้องตั้งต้นใหม่ทุกครั้งแล้วรอไปตามลำดับ (อย่างแถบบันทึกหรือเทป) "แรม" จะหมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ วัดขนาดกันเป็นกิโลไบต์ หรือเมกะไบต์ ทำงานได้รวดเร็วมาก แต่เมื่อปิดไฟ ข้อมูลในนี้ก็จะหายไปหมด ไมโครคอมพิวเตอร์ที่ขายทั่วไปมักจะต้องมีข้อความบอกว่า มีแรมขนาดใด ยิ่งมีแรมมาก ก็จะยิ่งทำงานได้เร็ว ในปัจจุบัน ไมโครคอมพิวเตอร์ที่วางขายทั่วไปจะมีแรมประมาณ 1 - 8 เมกะไบต์ ปัจจุบันโปรแกรมสำเร็จใหญ่ ๆ หลายโปรแกรม เจาะจงว่าจะต้องใช้กับคอมพิวเตอร์ที่มีแรมอย่างน้อย 8 เมกะไบต์ดู read only memory เปรียบเทียบ | random access storage | หน่วยเก็บเข้าถึงโดยสุ่มเป็นหน่วยความจำประเภทหนึ่งที่เราสามารถเข้าถึงได้โดยวิธีการสุ่ม การเข้าถึงโดยสุ่มหมายถึง การเข้าถึงหน่วยความจำทุกจุดได้ โดยใช้เวลาในการเข้าถึงเท่ากันหมด ไม่ต้องตั้งต้นใหม่ทุกครั้งแล้วรอไปตามลำดับ (อย่างแถบบันทึกหรือเทป) หน่วยเก็บในที่นี้หมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ วัดขนาดกันเป็นกิโลไบต์ หรือเมกะไบต์ ทำงานได้รวดเร็วมาก แต่เมื่อปิดไฟ ข้อมูลในนี้ก็จะหายไปหมด นอกจากนั้นยังหมายถึงจานบันทึก ซึ่งใช้เวลาในการเข้าถึงข้อมูลเท่ากันหมดเช่นกัน | sam | แซม <คำอ่าน>ย่อมาจาก sequential access method แปลว่า วิธีเข้าถึงโดยลำดับ เป็นวิธีเก็บข้อมูลและดึงข้อมูลมาใช้วิธีหนึ่ง หมายถึง การเข้าถึงหน่วยเก็บข้อมูลหรือสื่อบางชนิด เช่น แถบแม่เหล็ก (tape) ซึ่งจะเก็บข้อมูลไว้โดยเรียงไปตามลำดับ วิธีที่ใช้ในการเข้าถึงข้อมูลขึ้นอยู่กับระยะทางของตำแหน่งของข้อมูลที่บรรจุไว้ในสื่อนั้น หากข้อมูลถูกเก็บอยู่ตอนปลาย กว่าจะเข้าถึงข้อมูล ก็ย่อมจะเสียเวลานาน | scratchpad memory | หน่วยความจำใช้งานชั่วคราวหมายถึง เรจิสเตอร์เอนกประสงค์ชุดหนึ่งหรือตำแหน่งซึ่งใช้เป็นที่เก็บคำสั่ง (instruction) หรือผลลัพธ์ที่เกิดในขณะนั้นจากการคำนวณเชิงคณิตศาสตร์หรือตรรกะ ข้อมูลในหน่วยความจำชุดนี้จะเข้าถึง (access) ได้เร็วกว่าในหน่วยความจำหลักมากมีความหมายเหมือน cache memoryดู register ประกอบ | sequential access method | วิธีเข้าถึงโดยลำดับใช้ตัวย่อว่า SAM (อ่านว่า แซม) หมายถึง การเข้าถึงหน่วยเก็บข้อมูลหรือสื่อบางชนิด เช่น แถบแม่เหล็ก (tape) ซึ่งจะเก็บข้อมูลไว้ตามลำดับ วิธีที่ใช้ในการเข้าถึงข้อมูลขึ้นอยู่กับระยะทางของตำแหน่งของข้อมูลที่บรรจุไว้ในสื่อนั้น หากข้อมูลถูกเก็บอยู่ตอนปลาย กว่าจะเข้าถึงข้อมูล ก็ย่อมจะเสียเวลานานดู random access เปรียบเทียบ | sequential file | แฟ้มลำดับหมายถึง แฟ้มข้อมูลที่จะเข้าถึงได้ไปตามลำดับ (sequential) สื่อตัวอย่างที่เห็นง่ายก็คือ แถบบันทึกเพลง (tape) กว่าจะเข้าไปถึงเพลงลำดับท้าย ๆ ก็ต้องหมุนผ่านเพลงแรก ๆ ไป ก่อน ต้องรอจนกว่าจะถึงเพลงที่ต้องการ (ตรงข้ามกับ จานเสียงหรือซีดี (CD) ที่เราสามารถเลือกฟังเพลงที่ต้องการได้ทันที) | temporary storage | หน่วยเก็บชั่วคราวหมายถึง หน่วยความจำที่จัดไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่ต้องการใช้เป็นการชั่วคราว ทั้งนี้เพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการค้นหาและเข้าถึง (access) เพื่อจะได้นำไปประมวลผลได้เร็วขึ้นไปอีก โดยปกติแล้ว จะมีอยู่เฉพาะในสื่อที่เก็บแบบเข้าถึงโดยตรงได้ (direct access storage) เป็นต้นว่า จานบันทึก (disk) ส่วนแถบบันทึก (tape) ก็มีบ้าง แต่น้อยมาก | xms | เอกซ์เอ็มเอสย่อมาจาก extended memory specification (ข้อกำหนดหน่วยความจำแบบขยาย) เป็นมาตรฐานการจัดการเกี่ยวกับหน่วยความจำแบบหนึ่งที่ยอมให้โปรแกรมระบบดอส เข้าถึงส่วนความจำขยายได้ โปรแกรมในดอสที่จัดการเรื่องนี้ มีชื่อว่า Himem.Sys |
| | Backdoor account | (n) บัญชีลับหรือประตูหลัง ในภาษาทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง รูรั่วของระบบหรือซอฟแวร์ นักพัฒนาระบบจงใจสร้างทิ้งไว้ เพื่อให้ซอฟแวร์คอยส่งข้อมูลจากอุปกรณ์ที่มันติดตั้งอยู่ กลับไปหาโปรแกรมเมอร์ผู้พัฒนา หรือเป็นการเปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกสามารถเข้าถึงข้อมูลภายในได้ | global town square | (n) เครือข่ายสังคมออนไลน์ (social media) นำมาเปรียบเทียบเป็นเสมือนจัตุรัสแห่งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และแบ่งปันข้อมูลข่าวสารที่สามารถเข้าถึงได้จากทั่วโลก แทนที่จะจำกัดแค่คนในพื้นที่ตามความหมายของคำว่า town square เดิม | SASD | (jargon, slang) อุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบเรียงลำดับ ไม่สามารถเข้าถึงโดยตรงได้ เช่น สายเทปบันทึกเสียง |
| 達する | [tassu ru] เข้าถึง、บรรลุ |
| アクセス | [あくせす, akusesu] TH: การเข้าถึง(ยังเครือข่าย) EN: access |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |