Watershed management | การจัดการลุ่มน้ำ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Floodplain management | การจัดการลุ่มน้ำที่มีน้ำท่วมถึง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Yellow River Watershed (China) | ลุ่มน้ำแม่น้ำเหลือง (จีน) [TU Subject Heading] |
Alluvial plains | ที่ราบลุ่มน้ำ [TU Subject Heading] |
Mae Klong Basin | ลุ่มน้ำแม่กลอง [TU Subject Heading] |
Mekong River Watershed | ลุ่มน้ำโขง [TU Subject Heading] |
Mun River Watershed (Thailand) | ลุ่มน้ำมูล [TU Subject Heading] |
Nam Pong River Watershed (Thailand) | ลุ่มน้ำพอง [TU Subject Heading] |
Salween River Watershed | ลุ่มน้ำสาละวิน [TU Subject Heading] |
Watershed management | การจัดการลุ่มน้ำ [TU Subject Heading] |
Watersheds | ลุ่มน้ำ [TU Subject Heading] |
Watershed Management | การจัดการลุ่มน้ำ, Example: การจัดการพื้นที่ดินให้ได้คุณภาพตามที่ต้อง การเพื่อให้มีปริมาณน้ำไหลอย่างสม่ำเสมอ และมีการควบคุมการชะล้างพังทลายของดิน ลดการเกิดน้ำท่วมและสอดคล้องกับการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ ในการจัดการพื้นที่ลุ่มน้ำ (คำว่าพื้นที่ลุ่มน้ำมีความหมายเช่นเดียวกับคำว่าแอ่งน้ำ (basin)) พื้นที่รับน้ำ (catchment area) หน่วยอุทกวิทยา (hydrological unit) ซึ่งมีสภาพแตกต่างกันไปในแต่ละแห่ง จำเป็นที่จะต้องมีการแบ่งชั้นคุณภาพลุ่มน้ำเพื่อให้สามารถวางแผนการใช้ ประโยชน์ที่ดินที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและลดปัญหาสิ่งแวดล้อมทั้งในและนอกบ ริเวณลุ้มน้ำ ดดยได้จำแนกชั้นคุณภาพน้ำออกเป็น 5 ชั้น ดังนี้ (1) พื้นที่ลุ่มน้ำชั้นที่ 1 หมายถึง พื้นที่ภายในลุ่มน้ำที่ควรจะต้องสงวนรักษาไว้เป็นพื้นที่ต้นน้ำลำธารโดย เฉพาะ เนื่องจากมีลักษณะและคุณสมบัติที่อาจมีผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมจากการเปลี่ยน แปลงการใช้ที่ดินได้ง่ายและรุนแรง ไม่ว่าพื้นที่จะมีป่าหรือไม่มีป่าปกคลุมก็ตาม แบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ - พื้นที่ลุ่มน้ำชั้นที่ 1 เอ ซึ่งหมายถึง พื้นที่ลุ่มน้ำชั้นที่ 1 ที่ยังคงมีสภาพป่าที่สมบูรณ์ปรากฎอยู่ในปี พ.ศ.2525 ซึ่งจำเป็นต้องสงวนรักษาไว้เป็นพื้นที่ต้นน้ำลำธารและเป็นทรัพยากรป่าไม้ของ ประเทศ - พื้นที่ลุ่มน้ำชั้นที่ 1 บี ซึ่งหมายถึง พื้นที่ลุ่มน้ำชั้นที่ 1 ที่สภาพป่าส่วนใหญ่ในพื้นที่ได้ถูกทำลาย ดัดแปลงหรือเปลี่ยนแปลงไปเพื่อพัฒนาการใช้ที่ดินรูปแบบอื่นก่อนหน้าปี พ.ศ.2525 และการใช้ที่ดินหรือการพัฒนารูปแบบบต่างๆ ที่ดำเนินการไปแล้วจะต้องมีมาตรการควบคุมเป็นพิเศษ (2) พื้นที่ลุ่มน้ำชั้นที่ 2 หมายถึง พื้นที่ภายในลุ่มน้ำซึ่งโดยลักษณะทั่วไปมีคุณภาพเหมาะสมต่อการเป็นต้นน้ำ ลำธารในระดับรองลงมาและสามารถนำไปใช้ประโยชน์เพื่อกิจกรรมที่สำคัญ เช่น การทำเหมืองแร่ เป็นต้น (3) พื้นที่ลุ่มน้ำชั้นที่ 3 หมายถึง พื้นที่ภายในลุ่มน้ำดดยทั่วไปสามารถใช้ประโยชน์ได้ทั้งกิจกรรมทำไม้ เหมืองแร่ และการปลูกพืชกสิกรรมประเภทไม้ยืนต้น (4) พื้นที่ลุ่มน้ำชั้นที่ 4 หมายถึง พื้นที่ภายในลุ่มน้ำซึ่งสภาพป่าได้ถูกบุกรุกแผ้วถางเป็นที่ใช้ประโยชน์เพื่อ กิจการพืชไร่เป็นส่วนมาก (5) พื้นที่ลุ่มน้ำชั้นที่ 5 หมายถึง พื้นที่ภายในลุ่มน้ำมีลักษณะทั่วไปเป็นที่ราบ หรือลุ่ม หรือเนินลาดเอียงเล็กน้อย และส่วนใหญ่ป่าไม้ได้ถูกบุกรุกแผ้วถางเพื่อประโยชน์ด้านเกษตรกรรม โดยเฉพาะทำนาและกิจการอื่นๆ ไปแล้ว [สิ่งแวดล้อม] |
Alluvial Terrace | ตะพักลุ่มน้ำ, Example: ที่ราบเป็นขั้น ๆ ข้างตลิ่ง เกิดจากทางน้ำที่ตะกอนตก จมทับถมจนกลายเป็นที่ราบลุ่มน้ำ แล้วต่อมากระแสน้ำไหลแรงและสามารถกัดเซาะ ที่ราบลุ่มน้ำจนต่ำลง จึงทำให้ที่ราบลุ่มน้ำส่วนที่เหลืออยู่สูงกว่าท้องน้ำใหม่ นานๆ เข้า ท้องน้ำก็จะยิ่งกว้างออกไปและอาจเกิดที่ราบลุ่มน้ำตรงท้องน้ำที่กว้างออกไป ขึ้นอีก วนเวียนกันไปเรื่อยๆ จนเกิดที่ราบเป็นชั้นๆ ข้างตลิ่งในบริเวณนั้น [สิ่งแวดล้อม] |
Watershed Resource | ทรัพยากรลุ่มน้ำ, Example: ทรัพยากรหรือสิ่งแวดล้อมที่อยู่ภายในลุ่มน้ำ ทั้งหมด ทั้งเป็น สิ่ง(แวดล้อม)ที่มีชีวิต สิ่ง(แวดล้อม)ไม่มีชีวิต สิ่ง(แวดล้อม)ที่มนุษยสร้างขึ้น ทั้งอาจเป็นสิ่ง(แวดล้อม)ทางชีวกายภาพ (biophysical) และ สิ่ง(แวดล้อม)ทางสังคม หรือสิ่ง(แวดล้อม)ที่เป็นนามธรรม (abstract) สิ่งแวดล้อมเหล่านี้ ได้แก่ พืช สัตว์ มนุษย์ ดิน หิน น้ำ อากาศ แร่ธาตุ เมือง บ้าน ถนน แม่น้ำ กฎ ระเบียบ วัฒนธรรม ทรัพยากรลุ่มน้ำนั้นมีทุกสิ่งทุกอย่างในธรรมชาติ สามารถแบ่งทรัพยากรเหล่านี้ได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ คือ ทรัพยากรที่ใช้แล้วหมดไป ทรัพยากรที่ใช้แล้วไม่รู้จักหมดสิ้น และทรัพยากรที่ใช้แล้วสามารถทดแทนได้ [สิ่งแวดล้อม] |
Salt Marsh | ที่ลุ่มน้ำเค็ม [สิ่งแวดล้อม] |
Swamp | ที่ลุ่มน้ำขัง, Example: ที่ลุ่มน้ำมีน้ำมาซับรวมกันอยู่เกือบไม่มี ทางออก ใช้ประโยชน์ในทางเพาะปลูกไม่ได้ และทำเป็นทุ่งเลี้ยงสัตว์ก็ไม่ได้ แต่มีไม้ยืนต้นขึ้นอยู่บ้าง ไม่เหมือนกับที่ลุ่มสนุ่น (bog) หรือที่ลุ่มชื้นแฉะ (marsh) [สิ่งแวดล้อม] |
Freshwater Marshes | บริเวณที่ลุ่มน้ำจืดชื้นแฉะ, Example: พบทั่วไปในบริเวณซึ่งน้ำใต้ดิน ตาน้ำผิวดิน แม่น้ำและลำธาร มีส่วน ก่อให้เกิดภาวะน้ำท่วมบ่อยครั้ง หรือเกิดภาวะน้ำขังอย่างถาวรในระดับตื้นๆ ไม่ลึกนัก เป็นผลให้เกิดบริเวณพื้นที่ที่มีน้ำจืดท่วมขังหรืออยู่ในสภาพชื้นแฉะ เกือบตลอดเวลา บริเวณที่ลุ่มน้ำจืดชื้นแฉะขนาดใหญ่หลายแห่งมีน้ำนิ่งขังอยู่เกือบตลอดปี เรียกว่า ที่ลุ่มน้ำขัง หรือมาบ (swamps) [สิ่งแวดล้อม] |
Swamp Forest | บริเวณป่าที่ลุ่มน้ำขัง, Example: เกิดขึ้นในบริเวณแหล่งน้ำนิ่งรอบๆ ทะเลสาบและบริเวณที่ราบน้ำท่วมถึง ซึ่งมีน้ำขังอยู่เป็นช่วงระยะเวลานาน ลักษณะเฉพาะของพื้นที่นี้จะผันแปร ไปตามที่ตั้งและสภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ [สิ่งแวดล้อม] |
Drainage Basin | บริเวณลุ่มน้ำ, Example: บริเวณพื้นที่ที่ล้อมรอบด้วยสันปันน้ำเป็น พื้นที่รองรับน้ำหรือหยาดน้ำฟ้าที่ตกลงมาและไหลลงสู่ระบบการระบายน้ำหรือ แหล่งกักเก็บน้ำ มีความหมายเหมือนกับ basin, watershed, drainage area, catchment, catchment area, catchment basin, feeding ground และ hydrographic basin [สิ่งแวดล้อม] |
Watershed | บริเวณลุ่มน้ำ, Example: 1) ดู drainage basin 2) ในประเทศอังกฤษ หมายถึง สันปันน้ำ (watershed line) [สิ่งแวดล้อม] |
Watershed | ลุ่มน้ำ, Example: พื้นที่ซึ่งล้อมรอบด้วยสันปันน้ำ เป็นพื้นที่รับน้ำฝนทั้งหมดของแม่น้ำสายใดสายหนึ่ง [สิ่งแวดล้อม] |
Intermontanne Basin | ลุ่มน้ำระหว่างเขา [สิ่งแวดล้อม] |
ASEAN-Mekong Basin Development Cooperation | ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาอาเซียน-ลุ่มน้ำโขง เป็นกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ และจีน เพื่อพัฒนาลุ่มน้ำโขง [การทูต] |
Agency for Coordinating Mekong Tourism Activities | ศูนย์ประสานงานโครงการด้านการท่องเที่ยวของอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง [การทูต] |
Ganga-Suwanabhumi-Mekong Cooperation | ความร่วมมือลุ่มน้ำคงคา-สุวรรณภูมิ-ลุ่มน้ำโขง ประกอบด้วย ไทย-ลาว-พม่า-เวียดนาม-กัมพูชา และอินเดีย เป็นกรอบความร่วมมือที่เสนอในระหว่างการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับ รัฐมนตรีต่างประเทศประเทศคู่เจรจา ครั้งที่ 33 เมื่อ 28 กรกฎาคม 2543 โดยมีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งแรกในเดือนพฤศจิกายน 2543 [การทูต] |
Greater Mekong Subregion Economic Cooperation | กรอบความร่วมมืออนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง หรือ กรอบความร่วมมือหกเหลี่ยมเศรษฐกิจ " ประกอบด้วย ไทย พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม และจีน (มณฑล ยูนนาน) มีธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย (ADB) เป็นกลไกประสานความร่วมมือ โดยริเริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2535 ประกอบด้วยความร่วมมือ 8 สาขา ได้แก่ คมนาคมขนส่ง พลังงาน สื่อสาร โทรคมนาคม พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ท่องเที่ยว สิ่งแวดล้อม และการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติ การค้า และการลงทุน " [การทูต] |
Mekong Institute | สถาบันความร่วมมือเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจลุ่มน้ำโขง [การทูต] |
watershed management | watershed management, การจัดการลุ่มน้ำ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
catchment management | catchment management, การบริหารจัดการลุ่มน้ำ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
preliminary study | preliminary study, การศึกษาแนวทางพัฒนาลุ่มน้ำ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
comprehensive study | comprehensive study, การศึกษาพัฒนาลุ่มน้ำ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
desk study | desk study, การศึกษาพัฒนาลุ่มน้ำเบื้องต้น [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
point of concentration | point of concentration, จุดออกลุ่มน้ำ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
alluvial terrace | alluvial terrace, ตะพักลุ่มน้ำ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
salt marsh; saline | salt marsh; saline, ที่ลุ่มน้ำเค็ม [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
basin recharge | basin recharge, น้ำฝนที่ถูกดูดซับไว้ในลุ่มน้ำ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
catchment | catchment, บริเวณลุ่มน้ำ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
catchment area | catchment area, บริเวณลุ่มน้ำ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
drainage area | drainage area, บริเวณลุ่มน้ำ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
drainage basin | drainage basin, บริเวณลุ่มน้ำ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
hydrographic basin | hydrographic basin, บริเวณลุ่มน้ำ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
watershed | watershed, บริเวณลุ่มน้ำ, พื้นที่รับน้ำ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
yield of drainage basin | yield of drainage basin, ผลผลิตน้ำท่าของลุ่มน้ำ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
river basin | river basin, ลุ่มน้ำ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
Lower Mekong Basin Development Program | โครงการพัฒนาลุ่มน้ำโขงตอนใต้ [การแพทย์] |