ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: มนตรี, -มนตรี- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ 三位一体改革 | (n) ปฏิรูปแบบตรีเอกานุภาพ(เป็นนโยบายหลักนโยบายหนึ่งของอดีตนายกรัฐมนตรีโคอิซึมิ ซึ่งเป็นแนวนโยบายเพื่อการปฏิรูปเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับสถานะทางการคลังขององค์กรปกครองท้องถิ่น ซึ่งแนวคิดของนโยบายนี้เสนอให้มีการปฏิรูปทั้งสามด้านพร้อมกันเป็นหนึ่งแพคเกจ ดังนั้นนายกรัฐมนตรีโคอิซึมิ จึงเรียกการปฏิรูปนี้ว่า"การปฏิรูปแบบตรีเอกานุภาพ สามด้านที่ต้องปฏิรูปก็คือ การปฏิรูปเรื่องภาษีของท้องถิ่น การปฏิรูปเรื่องเงินอุดหนุนแบบให้เปล่าเพื่อประกันรายได้ให้แก่องค์กรปกครองท้องถิ่นที่มีรายได้ไม่เพียงพอ และการปฏิรูปด้านการให้เงินอุดหนุนแบบมีเงื่อนไข |
|
| มนตรี | (n) counselor, See also: adviser, high government official, Syn. ที่ปรึกษา, ผู้แนะนำ, ผู้ปรึกษาราชการ, ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่, Notes: (สันสกฤต) | คณะมนตรี | (n) council, Example: เรื่องนี้ต้องปรึกษาหารือกับคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมเสียก่อน, Count Unit: คณะ, Thai Definition: กลุ่มบุคคลชั้นผู้ใหญ่ที่มาร่วมกันเพื่อให้คำปรึกษา คำแนะนำ หรือเป็นที่ปรึกษาราชการ | มุขมนตรี | (n) king's counselor, See also: prime minister, premier, chief councilor, adviser of senior government officials, Count Unit: คน, ท่าน, Thai Definition: ที่ปรึกษาราชการชั้นผู้ใหญ่ | รัฐมนตรี | (n) minister, See also: cabinet minister, Example: ข้าราชการประจำ ถ้าประสงค์จะเข้ารับหน้าที่เป็นรัฐมนตรี ต้องลาออกจากตำแหน่งข้าราชการประจำเสียก่อน, Count Unit: คน, ท่าน, Thai Definition: ผู้เป็นสมาชิกของคณะรัฐมนตรี รับผิดชอบร่วมกับคณะรัฐมนตรีในนโยบายทั่วไปของรัฐบาลในการบริหารราชการแผ่นดิน | องคมนตรี | (n) Privy Councilor, Example: ท่านดำรงตำแหน่งเป็นองคมนตรี รับราชการอยู่ใกล้ชิดเบื้องยุคลบาท, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้มีตำแหน่งที่ปรึกษาในพระองค์พระมหากษัตริย์ | เทศมนตรี | (n) councilor, Syn. ผู้บริหาร, Example: นายชูชาติได้รับการแต่งตั้งเป็นเทศมนตรี, Count Unit: คน, Thai Definition: ตำแหน่งผู้บริหารงานเทศบาล ซึ่งเป็นส่วนประกอบของคณะเทศมนตรี | คณะรัฐมนตรี | (n) cabinet, See also: Council of Ministers, Example: คณะรัฐมนตรีมีมติให้ขึ้นราคาน้ำมันอีกลิตรละ 20 สตางค์, Count Unit: คณะ, Thai Definition: คณะบุคคลซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรีคนหนึ่ง และรัฐมนตรีอื่นอีกไม่เกิน 48 คน เพื่อทำหน้าที่บริหารราชการแผ่นดิน | คณะองคมนตรี | (n) privy council, Example: คณะองคมนตรีต้องเสนอข้อกฎหมายผ่านรัฐสภาเสียก่อน, Count Unit: คณะ, Thai Definition: กลุ่มบุคคลผู้มีตำแหน่งที่ปรึกษาและถวายข้อราชการในพระองค์พระมหากษัตริย์ | จุฬาราชมนตรี | (n) chief of the Muslim in Thailand, Example: หัวหน้าที่มีบรรดาศักดิ์เป็นพระยา มีราชทินนามว่าจุฬาราชมนตรี, Thai Definition: ตำแหน่งประมุขหรือหัวหน้าชาวอิสลามในทางราชการแต่งตั้ง ทางราชการให้กรรมการอิสลามคัดเลือกมุสลิมอาวุโสขึ้นคนหนึ่งแล้วอออกคำสังให้ดำรงตำแหน่ง | นายกรัฐมนตรี | (n) prime minister, See also: PM, chancellor, Syn. นายกฯ, Example: วันนี้นายกรัฐมนตรีไปเปิดอนุสาวรีย์ทหารผ่านศึกอย่างเป็นทางการ, Count Unit: คน, ท่าน, Thai Definition: ตำแหน่งหัวหน้าคณะรัฐมนตรี, หัวหน้ารัฐบาล | นายกเทศมนตรี | (n) mayor, See also: Lord Mayor, Example: ผู้ว่าราชการจังหวัดสั่งปลดนายกเทศมนตรี เนื่องจากพัวพันการค้าของเถื่อน, Count Unit: คน, ท่าน, Thai Definition: ตำแหน่งหัวหน้าคณะผู้บริหารงานเทศบาล | รองนายกรัฐมนตรี | (n) Deputy Prime Minister, See also: vice-premier, Syn. รองนายกฯ, Ant. นายกรัฐมนตรี, Example: ฯพณฯ มีชัย ฤชุพันธ์ เป็นรองนายกรัฐมนตรีผู้แตกฉานในด้านกฎหมาย, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้มีอำนาจหน้าที่รองมาจากนายกรัฐมนตรี | สำนักนายกรัฐมนตรี | (n) Office of the Prime Minister, Syn. นร | คณะมนตรีความมั่นคง | (n) The Security Council, Example: กรณีที่กองทัพเกาหลีเหนือเข้าไปในเกาหลีใต้ได้ถูกนำเข้าที่ประชุมคณะมนตรีความมั่นคงขององค์การสหประชาชาติ, Count Unit: คณะ, Thai Definition: กลุ่มบุคคลชั้นผู้ใหญ่ที่มาร่วมกันพื่อให้คำปรึกษาทางด้านความมั่นคงปลอดภัยขององค์กรหรือหน่วยงานนั้น | สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี | (n) Secretariat of the Prime Minister, Syn. สลน | สำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี | (n) Secretariat of the Cabinet, Syn. สลค., Example: ในปัจจุบันสำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเป็นส่วนราชการเทียบเท่ากรม สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี | สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี | (n) Office of the Permanent Secretary; Prime Minister Office, Example: สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีเป็นหน่วยงานกลางในการเร่งรัดติดตามส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจกรณีเจ้าหน้าที่ทุจริตในทางการเงิน | สำนักงานเลขาธิการนายกรัฐมนตรี | (n) Secretariat of the Prime Minister, Syn. สลน., Example: สำนักงานเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เป็นหน่วยงานราชการที่มีความพร้อมที่จะเข้าร่วมในโครงการนำร่อง IT Model Office | รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม | (n) Industry Minister, Example: เมื่อปี พ.ศ. 2527 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศเชิญชวนให้เอกชนยื่นคำขอสิทธิสำรวจ และทำเหมืองแร่ทองคำ, Count Unit: คน |
| คณะรัฐมนตรี | น. คณะบุคคลซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรีคนหนึ่ง และรัฐมนตรีอื่นอีกไม่เกินจำนวนที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ เพื่อทำหน้าที่บริหารราชการแผ่นดิน. | คณะองคมนตรี | น. คณะบุคคลซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงเลือกและแต่งตั้งตามพระราชอัธยาศัยจากผู้ทรงคุณวุฒิ ประกอบด้วยประธานองคมนตรีคนหนึ่ง และองคมนตรีอื่นอีกไม่เกินจำนวนที่รัฐธรรมนูญกำหนด มีหน้าที่ถวายความเห็นต่อพระมหากษัตริย์ในพระราช-กรณียกิจทั้งปวงที่พระมหากษัตริย์ทรงปรึกษา และมีหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ. | จุฬาราชมนตรี | น. ตำแหน่งผู้นำสูงสุดทางด้านการบริหารกิจการมุสลิมในประเทศไทย เป็นที่ปรึกษาทางราชการเกี่ยวกับกิจการมุสลิมทั้งปวง. | นายกเทศมนตรี | น. ตำแหน่งผู้รับผิดชอบสูงสุดในการบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในรูปแบบเทศบาล. | นายกรัฐมนตรี | น. ตำแหน่งหัวหน้าคณะรัฐมนตรี. | มนตรี | น. ที่ปรึกษาราชการ, ที่ปรึกษา, ผู้แนะนำ, นิยมใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น องคมนตรี รัฐมนตรี เทศมนตรี, (โบ) ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ เช่น มนตรีหก. | มนตรีหก | น. ตำแหน่งเจ้ากรมใหญ่จำนวน ๖ กรม ได้แก่ กรมล้อมพระราชวัง กรมพระสุรัสวดี กรมพระคลังมหาสมบัติ กรมสังฆการีธรรมการ กรมพระอาลักษณ์ และกรมพระภูษามาลา. | มุขมนตรี | (มุกขะมนตฺรี) น. ที่ปรึกษาราชการชั้นผู้ใหญ่. | รัฐมนตรี | (รัดถะมนตฺรี) น. ผู้เป็นสมาชิกของคณะรัฐมนตรีหรือคณะรัฐบาล รับผิดชอบร่วมกับคณะรัฐมนตรีในนโยบายทั่วไปของรัฐบาลในการบริหารราชการแผ่นดิน, ถ้าเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงหรือทบวง ก็เป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุดในกระทรวงหรือทบวงที่ตนว่าการ และรับผิดชอบในการบริหารราชการกระทรวงหรือทบวงนั้นด้วยอีกฐานะหนึ่ง | รัฐมนตรี | ที่ปรึกษาราชการบ้านเมืองในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์. | รัฐมนตรีเจ้าสังกัด | น. รัฐมนตรีว่าการกระทรวง รัฐมนตรีว่าการทบวง นายกรัฐมนตรีในฐานะเป็นผู้บังคับบัญชาสำนักนายกรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีในฐานะเป็นผู้บังคับบัญชาส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกรมและไม่สังกัดกระทรวง. | สังฆมนตรี | น. ตำแหน่งพระเถระผู้รับผิดชอบในองค์การปกครองของคณะสงฆ์ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช ๒๔๘๔ เช่น สังฆมนตรีว่าการองค์การปกครอง. | องคมนตรี | (องคะ-) น. ตำแหน่งที่มีหน้าที่ถวายความเห็นต่อพระมหากษัตริย์ในพระราชกรณียกิจทั้งปวงที่พระมหากษัตริย์ทรงปรึกษา และมีหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติในรัฐธรรมนูญ. | อภิรัฐมนตรี | น. ที่ปรึกษาชั้นสูงของพระมหากษัตริย์. | กฎกระทรวง | น. ข้อกำหนดที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงออกโดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายที่ให้ออกกฎกระทรวง, เดิมเรียกว่า กฎเสนาบดี ถ้าเป็นข้อกำหนดที่นายกรัฐมนตรีออก เรียกว่า กฎสำนักนายกรัฐมนตรี. | กฎทบวง | น. ข้อกำหนดที่รัฐมนตรีว่าการทบวงออกโดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายที่ให้ออกกฎทบวง. | กระทรวง ๒ | (-ซวง) น. ส่วนราชการสูงสุดของราชการบริหารส่วนกลางมีฐานะเป็นนิติบุคคล มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเป็นหัวหน้า | กระวี ๑ | น. นักปราชญ์ในการแต่งบทกลอน เช่น เสดจ์ยังสาระพินิจฉัยพร้อมด้วยหมู่มุกขมนตรีกระวีราชปโรหิตาโหราจารย์อยู่ในศีลสัจ (สามดวง). | กระวีชาติ | น. หมู่กวี, พวกกวี, เช่น เสดจ์ในพระที่นั่งพลับพลาทองโดยอุตราภิมุขพร้อมด้วยหมู่มาตยามนตรีกระวีชาติราชปะโรหิตาจารย์เฝ้าพระบาท (สามดวง), เขียนเป็น กระวีชาต หรือ กระวิชาติ ก็มี เช่น พระองค์ทรงพระกรุณาเพื่อจะมิให้มุกขมนตรีกระวีชาตแลราษฎรล่วงเกินพระราชอาญา, พร้อมด้วยหมู่มุกขมาตยามนตรีกระวิชาติราชสุริยวงษพงษพฤฒาโหราจารยเฝ้าเบื้องบาทบงกชมาศ (สามดวง). | กระสัน | อยากมาก เช่น กระสันจะเป็นรัฐมนตรี. | ก๊วน | น. กลุ่มคนที่สนิทสนมและร่วมทำกิจกรรมเดียวกันเป็นประจำ เช่น เขาสนิทกับรัฐมนตรีคนนี้เพราะเล่นกอล์ฟก๊วนเดียวกัน | การเปิดอภิปรายทั่วไป | น. กลไกที่ฝ่ายนิติบัญญัติใช้ควบคุมฝ่ายบริหาร เช่น การเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรี หรือฝ่ายบริหารจะรับฟังความคิดเห็นของฝ่ายนิติบัญญัติ เช่น การเปิดอภิปรายทั่วไปที่คณะรัฐมนตรีร้องขอให้มีขึ้นเพื่อรับฟังความคิดเห็นเรื่องใดเรื่องหนึ่งจากสมาชิกสภา. | การเมือง | กิจการอำนวยหรือควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน เช่น ตำแหน่งการเมือง ได้แก่ตำแหน่งซึ่งมีหน้าที่อำนวย (คณะรัฐมนตรี) หรือควบคุม (สภาผู้แทนราษฎร) การบริหารแผ่นดิน. | กุสุมิตลดาเวลลิตา | (กุสุมิตะละดาเวนลิตา) น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติแบบหนึ่ง กำหนดด้วย ๖ คณะ คือ ม คณะ ต คณะ น คณะ ย คณะ ย คณะ ย คณะ บาทละ ๑๘ คำ หรือ ๑๘ พยางค์ (ตามแบบว่า โม โต โน โย ยา กุสุมิตลตาเวลฺลิตากฺขุตฺวสีหิ) ตัวอย่างว่า มนตรีมาตย์ผู้ฉลาดมละ ทุจริตธรรม์ พึงผดุงสรร- พสิ่งสวัสดิ์ (ชุมนุมตำรากลอน). | ขอบ ๒ | ก. ทดแทน, ตอบ, รับ, เช่น ขอบแต่ขอมสักตั้ง (ตะเลงพ่าย), ภายในสองนางขอบ, ธขอบคำความมนตรี (ลอ). | เขตติดโรค | น. ท้องที่หนึ่งท้องที่ใด ในหรือนอกราชอาณาจักรที่มีโรคติดต่อเกิดขึ้น ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขหรือผู้ว่าราชการจังหวัดประกาศกำหนด. | คณะกรมการจังหวัด | น. คณะบุคคลซึ่งทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการจังหวัดในการบริหารราชการแผ่นดินในจังหวัดนั้น และให้ความเห็นชอบในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด กับปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายหรือมติของคณะรัฐมนตรีกำหนด. | จตุลังคบาท | (-ลังคะบาด) น. พลประจำ ๔ เท้าช้าง, สำหรับช้างทรงของพระมหากษัตริย์หรือพระมหาอุปราชในเวลาสงคราม มีเจ้ากรมพระตำรวจหลวงหรือข้าราชการ เช่น พระมหามนตรี พระมหาเทพ หลวงอินทรเทพ หลวงพิเรนทรเทพ ประจำ ๔ เท้าช้าง เช่น จตุลังคบาทสี่ตน ล้วนขุนพลสามรรถ (ตะเลงพ่าย), จัตุลังคบาท หรือ แวงจตุลังคบาท ก็ว่า. | เจ้ากระทรวง | น. ผู้บังคับบัญชากระทรวง ได้แก่ รัฐมนตรี และ ปลัดกระทรวง. | เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ | น. บุคคลซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมแต่งตั้งโดยเฉพาะตัว หรือโดยตำแหน่งหน้าที่ ให้ปฏิบัติหน้าที่พิทักษ์ทรัพย์สิน และจัดการเกี่ยวกับทรัพย์สินของลูกหนี้ในคดีล้มละลาย. | เจ้าพระยา ๑ | น. บรรดาศักดิ์ข้าราชการผู้ใหญ่ สูงกว่าพระยา ต่ำกว่าสมเด็จเจ้าพระยา เช่น เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี. | เจ้าสังกัด | น. ส่วนราชการที่หน่วยงานย่อยหรือหน่วยงานอื่นสังกัดอยู่ เช่น กระทรวงยุติธรรมเป็นเจ้าสังกัดของกรมราชทัณฑ์ สำนักนายกรัฐมนตรีเป็นเจ้าสังกัดของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. | ทบวง | (ทะ-) น. ส่วนราชการในราชการบริหารส่วนกลางที่มีฐานะเป็นนิติบุคคลที่สูงกว่ากรม โดยมีทบวง ๒ ประเภท คือ ทบวงที่มีฐานะเทียบเท่ากับกระทรวง และทบวงที่มีฐานะต่ำกว่ากระทรวงซึ่งต้องอยู่ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง. | ทหารผ่านศึก | ทหารหรือบุคคลซึ่งทำการป้องกันหรือปราบปรามการกระทำอันเป็นภัยต่อความมั่นคงหรือความปลอดภัยแห่งราชอาณาจักร ตามที่กระทรวงกลาโหมหรือสำนักนายกรัฐมนตรีกำหนด. | เทศบาล | น. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบหนึ่ง ประกอบด้วยนายกเทศมนตรีและสภาเทศบาล. | ธุรกิจหลักทรัพย์ | น. การประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ การค้าหลักทรัพย์ การเป็นที่ปรึกษาการลงทุน การจัดจำหน่ายหลักทรัพย์ การจัดการกองทุนรวม การจัดการกองทุนส่วนบุคคล หรือกิจการอื่นที่เกี่ยวกับหลักทรัพย์ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังกำหนดตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เรียกโดยย่อว่าคณะกรรมการ ก.ล.ต. | นักการเมือง | น. ผู้ฝักใฝ่ในทางการเมือง, ผู้ที่ทำหน้าที่ทางการเมือง เช่นรัฐมนตรี สมาชิกรัฐสภา. | บริษัทหลักทรัพย์ | น. บริษัทหรือสถาบันการเงิน ที่ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ การค้าหลักทรัพย์ การเป็นที่ปรึกษาการลงทุน การจัดจำหน่ายหลักทรัพย์ การจัดการกองทุนรวม การจัดการกองทุนส่วนบุคคล หรือกิจการอื่นที่เกี่ยวกับหลักทรัพย์ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังกำหนดตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เรียกโดยย่อว่า คณะกรรมการ ก.ล.ต. | ประกาศ | ข้อความที่ทางราชการแจ้งให้ประชาชนทราบหรือวางแนวทางให้ปฏิบัติ เช่น ประกาศพระบรมราชโองการ ประกาศกระทรวง ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี. | ผู้ | น. คำใช้แทนบุคคล เช่น นายกรัฐมนตรีเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ หรือใช้แทนคำว่า คน เช่น ผู้นั้น ผู้นี้ ทุกผู้ทุกนาม หรือใช้แทนสิ่งที่ถือเสมือนคน เช่น ศาลเป็นผู้ตัดสิน | ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง | น. ผู้ซึ่งได้รับเลือกตั้งหรือแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งทางการเมือง เช่น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี นายกเทศมนตรี. | ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร | น. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งจากหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎรที่สมาชิกในสังกัดของพรรคตนมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ. | ผู้บริหารท้องถิ่น | น.ผู้ซึ่งได้รับเลือกตั้ง หรือแต่งตั้งโดยความเห็นชอบของสภาท้องถิ่นให้ทำหน้าที่บริหารกิจการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด นายกเทศมนตรี. | ฯพณฯ | (พะนะท่าน) น. คำนำหน้าชื่อหรือตำแหน่งข้าราชการผู้ใหญ่ชั้นรัฐมนตรี เอกอัครราชทูต เป็นต้น. | ภาษาแบบแผน | น. ภาษาที่ถือเป็นแบบฉบับที่จะต้องใช้เป็นแบบเดียวกันในโอกาสอย่างเดียวกัน เช่น คำกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขึ้นต้นว่า “ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม...” และลงท้ายว่า “ควรมิควรแล้วแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า...”, ภาษาที่ใช้เป็นทางการในโอกาสสำคัญ หรือใช้แก่บุคคลสำคัญ หรือบุคคลสำคัญเป็นผู้ใช้ เช่น คำประกาศเกียรติคุณในการประสาทปริญญาบัตรกิตติมศักดิ์ คำปราศรัยของนายกรัฐมนตรีในวันขึ้นปีใหม่, ภาษาระดับพิธีการ ก็เรียก. | มหาอุปราช | ตำแหน่งขุนนางทำหน้าที่มุขมนตรี เรียกว่า เจ้าพระยามหาอุปราช. | ยาแผนโบราณ | น. ยาที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ หรือการบำบัดโรคสัตว์ ซึ่งอยู่ในตำรายาแผนโบราณที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขประกาศ หรือยาที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขประกาศเป็นยาแผนโบราณ หรือยาที่ได้รับอนุญาตให้ขึ้นทะเบียนตำรับยาเป็นยาแผนโบราณ. | ยาสามัญประจำบ้าน | น. ยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณ ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขประกาศเป็นยาสามัญประจำบ้าน. | รถประเทียบ | น. รถสำหรับองคมนตรีที่ปฏิบัติหน้าที่ผู้แทนพระองค์. | รับ | ก. ยื่นมือออกถือเอาสิ่งของที่ผู้อื่นส่งให้ เช่น รับของ รับเงิน, ถือเอาสิ่งของที่ผู้อื่นส่งมาให้ เช่น รับจดหมาย รับพัสดุภัณฑ์, ไปพบ ณ ที่ที่กำหนดเพื่ออำนวยความสะดวกหรือพาไปสู่ที่พัก, ต้อนรับ, เช่น ฉันไปรับเพื่อนที่ดอนเมือง ประชาชนไปรับนายกรัฐมนตรีกลับจากต่างประเทศ, โดยปริยายใช้แก่นามธรรมก็ได้ เช่น รับศีล รับพร |
| Privy Council | คณะองคมนตรี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Privy Council | คณะองคมนตรี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Privy Councillor | องคมนตรี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Privy Councillor | องคมนตรี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Parliamentary Secretary | รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง (อังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | parliamentary-cabinet system | ระบบรัฐสภาและคณะรัฐมนตรี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Premier; Prime Minister; Prime Minister | นายกรัฐมนตรี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Premier; Prime Minister | นายกรัฐมนตรี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Premier, Deputy; Prime Minister, Deputy | รองนายกรัฐมนตรี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Prime Minister; Premier | นายกรัฐมนตรี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Prime Minister; Premier | นายกรัฐมนตรี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | plan, commission-manager | เทศบาลแบบคณะเทศมนตรีและผู้จัดการนคร (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | plan, strong-mayor | เทศบาลแบบนายกเทศมนตรีมีอำนาจมาก (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | plan, weak-mayor | เทศบาลแบบนายกเทศมนตรีมีอำนาจน้อย (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | portfolio | ตำแหน่งรัฐมนตรีที่ประจำตามกระทรวง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Portfolio, Minister without | รัฐมนตรีที่มิได้ประจำตามกระทรวง, รัฐมนตรีลอย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Lord Mayor | นายกเทศมนตรี (อังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | strong-mayor plan | เทศบาลแบบนายกเทศมนตรีมีอำนาจมาก (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Secretary of State | ๑. รัฐมนตรีว่าการกระทรวง๒. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Secretary of State | ๑. รัฐมนตรีว่าการกระทรวง๒. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ (อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | state council | ๑. สภาแห่งรัฐ๒. สภารัฐมนตรี (จีน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | shadow cabinet | คณะรัฐมนตรีเงา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Security Council | คณะมนตรีความมั่นคง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | order-in-council | พระบรมราชโองการ (ที่ประกาศโดยคำแนะนำของคณะองคมนตรีของอังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | order-in-council | พระบรมราชโองการ (ที่ประกาศโดยคำแนะนำของคณะองคมนตรีของอังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Attorney-General | ๑. อธิบดีกรมอัยการ (อังกฤษ)๒. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (อเมริกัน)๓. ที่ปรึกษากฎหมายแห่งมลรัฐ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Attorney-General | ๑. อัยการแผ่นดิน (อังกฤษ)๒. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | alderman | เทศมนตรี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | board of commissioners | คณะเทศมนตรี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | bench, treasury | ที่นั่งคณะรัฐมนตรี (ในรัฐสภาแบบอังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | municipal commission | คณะเทศมนตรี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Minister without Portfolio | รัฐมนตรีลอย [ ดู non departmental minister และ ดู minister of state ประกอบ ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | minister, non departmental | รัฐมนตรีลอย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | ministerial responsibility | ความรับผิดชอบของรัฐมนตรี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | mayor | นายกเทศมนตรี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | mayor | นายกเทศมนตรี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | minister | ๑. รัฐมนตรี๒. อัครราชทูต๓. ศาสนาจารย์ (คริสต์ศาสนานิกายโปรเตสแตนต์) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | minister | ๑. รัฐมนตรี (ก. รัฐธรรมนูญ)๒. อัครราชทูต (ก. ระหว่างประเทศ)๓. ศาสนาจารย์ (ก. ปกครอง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | minister of state | รัฐมนตรี [ ดู Minister without Portfolio และ non departmental minister ประกอบ ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Minister without Portfolio | รัฐมนตรีที่มิได้ประจำตามกระทรวง, รัฐมนตรีลอย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | municipality | เทศบาล, คณะเทศมนตรี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Council, Governing | คณะมนตรีประศาสน์การ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Council, Privy | คณะองคมนตรี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Council, Privy | คณะองคมนตรี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | council, state | ๑. สภาแห่งรัฐ๒. สภารัฐมนตรี (จีน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | council | ๑. คณะมนตรี๒. คณะกรรมการ๓. สภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | council | ๑. คณะกรรมการ๒. คณะมนตรี๓. สภา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Council of Ministers | คณะรัฐมนตรี [ ดู cabinet ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Council of Ministers; cabinet | คณะรัฐมนตรี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Council of Ministers of the European Union | คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| IT Year | ปีที่คณะรัฐมนตรีกำหนดให้เป็นปีแห่งเทคโนโลยีสารสนเทศไทย ตรงกับปี พ.ศ. 2538 [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Women prime ministers | นายกรัฐมนตรีสตรี [TU Subject Heading] | Cabinet officers | รัฐมนตรี [TU Subject Heading] | Finance ministers | รัฐมนตรีคลัง [TU Subject Heading] | Mayors | นายกเทศมนตรี [TU Subject Heading] | Ministerial responsibility | ความรับผิดชอบของรัฐมนตรี [TU Subject Heading] | Prime ministers | นายกรัฐมนตรี [TU Subject Heading] | Privy councils | คณะองคมนตรี [TU Subject Heading] | United Nations. Security Council | สหประชาชาติ. คณะมนตรีความมั่นคง [TU Subject Heading] | United Nations. Trusteeshif Council | สหประชาชาติ. คณะมนตรีภาวะทรัสตี [TU Subject Heading] | ASEAN Coordinating Council | คณะมนตรีประสานงานอาเซียน ประกอบด้วยรัฐมนตรีต่างประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ ทำหน้าที่ในการเตรียมการประชุมของที่ประชุมสุดยอดอาเซียน และประสานงานกับคณะมนตรีประชาคมอาเซียนต่าง ๆ เพื่อความสอดคล้องกันตามนโยบาย ประสิทธิภาพ และความร่วมมือระหว่างกัน [การทูต] | Accession | การภาคยานุวัติ คือการที่รัฐหนึ่งเข้าไปเป็นภาคีสนธิสัญญา ซึ่งรัฐอื่น ๆ ได้วินิจฉัยตกลงก่อนแล้วและสนธิสัญญานั้นได้มีผลใช้บังคับก่อนแล้วด้วย บางที่ใช้คำ ?accession? ซึ่งตรงกับคำในภาษาฝรั่งเศสว่า ?adhésion? รัฐจะเข้าเป็นภาคีสนธิสัญญาไม่ได้ นอกจากว่าในสนธิสัญญานั้นมีบทบัญญัติยอมให้รัฐอื่นเข้ามาเป็นภาคีด้วยได้ เช่น มาตรา 4 ของกฎบัตรแห่งสหประชาชาติบัญญัติไว้ว่า?(1) สมาชิกภาพในสหประชาชาติ เปิดรับบรรดารัฐอื่นๆ ทั้งหลายที่ยอมรับพันธกรณีที่ระบุไว้ในกฎบัตรปัจจุบันและองค์การสหประชาชาติ พิจารณาวินิจฉัยแล้วว่า รัฐนั้น ๆ สามารถและเต็มใจที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีเหล่านั้น??(2) การรับรัฐใดๆ ดังกล่าวเข้าเป็นสมาชิกในสหประชาชาติจะเป็นผลสำเร็จก็ต่อเมื่อสมัชชาสหประชา ชาติได้ลงมติรับรองตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง? คือ เอกสิทธิ์ทางการทูตในการที่จะได้มีถิ่นพำนัก [การทูต] | Asia Cooperation Dialogue | ความร่วมมือเอเชีย เวทีความร่วมมือในระดับทวีปเอเชีย โดยเป็นความคิดริเริ่มของไทยในการสร้างกรอบความร่วมมือที่ครอบคลุมทุกอนุ ภูมิภาคของเอเชีย มีวัตถุประสงค์ที่จะเชื่อมโยงจุดแข็งและต่อยอดความร่วมมือต่าง ๆ ของประเทศเอเชีย โดยอาศัยความแตกต่างหลากหลายและทรัพยากรที่อุดมสมบูรณ์ซึ่งเอเชียมีอยู่มา ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและมุ่งสร้างความร่วมมือในวงกว้างทั้งทวีปเอเชีย เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน และคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน ซึ่งจะทำให้ภูมิภาคเอเชียแข็งแกร่งและเป็นหุ้นส่วนที่เข้มแข็งสำหรับภูมิภาค อื่น ๆ เอซีดีได้มีการประชุมครั้งแรกเมื่อ 18-19 มิถุนายน 2545 โดยมีผู้แทนระดับรัฐมนตรีจาก 18 ประเทศเข้าร่วม ที่ประชุมได้แบ่งกรอบความร่วมมือเป็น 2 มิติ ได้แก่ มิติการหารือ (dialogue dimension) และมิติโครงการความร่วมมือ (project dimension) เช่น การท่องเที่ยว ความมั่นคงทางพลังงาน และการพัฒนาตลาดพันธบัตรเอเชีย (Asian Bond Market) [การทูต] | Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy | ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี ? เจ้าพระยา ? แม่โขง ACMECS หรือชื่อเดิม ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกัมพูชา ลาว พม่า และไทย (ECS : Economic Cooperation Strategy among Cambodia, Lao PDR, Myanmar and Thailand) คือ กรอบความร่วมมือระหว่าง 5 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม ACMECS เป็นแนวคิดที่ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้หยิบยกขึ้นหารือกับผู้นำกัมพูชา ลาว และพม่า ในช่วงการประชุมผู้นำอาเซียนสมัยพิเศษว่าด้วยโรค SARS เมื่อ 29 เมษายน 2546 ที่กรุงเทพฯ และได้มีพัฒนาการอย่างรวดเร็วต่อเนื่องจนถึงการประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 1 ที่เมืองพุกาม สหภาพพม่า เมื่อ 12 พฤศจิกายน 2546 โดยผู้นำทั้ง 4 ประเทศร่วมกันออกปฏิญญาพุกาม (Bagan Declaration) รวมทั้งแผนปฏิบัติการ (Plan of Action) ครอบคลุมความร่วมมือ 5 สาขา ได้แก่ การอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการ ลงทุน ความร่วมมือทางด้านเกษตรและอุตสาหกรรม การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม การท่องเที่ยว และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ บนหลักการที่เน้นการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนและยกระดับความ เป็นอยู่ของประชาชน รวมทั้งเปิดกว้างให้นานาประเทศและองค์การระหว่างประเทศได้มีส่วนร่วมเป็น หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา (Development Partner) ในโครงการต่างๆ ของ ACMECS ด้วย * เวียดนามร่วมเป็นสมาชิก ACMECS เมื่อ 10 พฤษภาคม 2547 สถานะล่าสุด ระหว่างวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2547 ที่จังหวัดกระบี่ ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสสมัยพิเศษและการประชุม รัฐมนตรี ACMECS อย่างไม่เป็นทางการ รวมทั้งการประชุมร่วมกับ Development Partners (ผู้แทนจากออสเตรเลีย ฝรั่งเศส เยอรมนี ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ และธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย) ซึ่งการประชุมประสบผลสำเร็จอย่างดียิ่ง สมาชิก ACMECS ทั้ง 5 ประเทศได้ร่วมกันแสดงความเป็น เอกภาพ โดยยืนยันเจตนารมณ์ที่จะดำเนินการตามกรอบความร่วมมือ ACMECS อย่าง เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันต่อผู้แทนของ Development Partners รวมทั้งมีการหารือถึงความคืบหน้าของการดำเนินโครงการระหว่างกันอย่างเป็น รูปธรรม นอกจากนี้ ยังสามารถมีข้อสรุปที่สำคัญๆ เกี่ยวกับกลไกการประสานงานระหว่างกันซึ่งจะช่วยให้การดำเนินกิจกรรมความร่วม มือของ ACMECS มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป * ไทยมีกำหนดเป็นเจ้าภาพจัดประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 2 ในเดือนธันวาคม 2548 ที่กรุงเทพฯ [การทูต] | ASEAN Economic Community Council | คณะมนตรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน [การทูต] | ASEAN Economic Ministers Meeting | การประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน เป็นการประชุมระดับรัฐมนตรีพาณิชย์หรือรัฐมนตรีด้านการ ค้าต่างประ- เทศ ปกติจัดขึ้นปีละครั้งประมาณเดือนกันยายน/ตุลาคมของทุกปี เพื่อหารือ ทบทวนและพิจารณากำหนดแนวทางความร่วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียน [การทูต] | ASEAN-EU Ministerial Meeting | การประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียน-สหภาพยุโรป เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศของประเทศสมาชิก อาเซียน 10 ประเทศ กับรัฐมนตรีต่างประเทศของสหภาพยุโรป 15 ประเทศ จัดขึ้นทุก 18-24 เดือน เพื่อหารือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นประเด็นทางการเมืองและเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศ และการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกัน [การทูต] | ASEAN Finance Ministers Meeting | การประชุมรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังอาเซียน จัดขึ้นปีละครั้ง ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2540 ต่อมาได้มีการจัดการประชุม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังอาเซียนกับญี่ปุ่น (AFMM + Japan) เพื่อหารือเกี่ยวกับความร่วมมือในการแก้ไขวิกฤตเศรษฐกิจและความช่วยเหลือที่ ญี่ปุ่นให้แก่อาเซียน อาทิ แผนมิยาซาวา ควบคู่กันไปด้วย [การทูต] | ASEAN Finance Minister + 3 (China, Japan and the Republic of Korea) Meeting | การประชุมร่วมระหว่างรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังอาเซียนกับผู้แทนจากจีน ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐเกาหลี มีการประชุมครั้งแรกเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2542 ในช่วงการประชุม ประจำปีของธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (ADB) ที่กรุงมะนิลา และได้ ตกลงในหลักการที่จะจัดเป็นประจำทุกปี เพื่อหารือสถานการณ์การเงินและเศรษฐกิจในภูมิภาค และร่วมมือหามาตรการเพื่อป้องกันและแก้ไขวิกฤตการณ์การเงินในภูมิภาค ผลงานที่สำคัญคือ ข้อตกลงริเริ่มที่เชียงใหม่ (Chiang Mai Initiative) [การทูต] | ASEAN Free Trade Area Council | คณะมนตรีเขตการค้าเสรีอาเซียน เป็นการประชุมระดับรัฐมนตรีคลัง เพื่อหารือและติดตามการดำเนินงาน ในการจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน ปกติจะจัดขึ้นประมาณปีละครั้ง ในช่วงการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน [การทูต] | ASEAN Transport Ministers Meeting | การประชุมรัฐมนตรีขนส่งอาเซียน " จัดขึ้นปีละครั้ง เพื่อหารือและกำหนดแนวทางความร่วมมือด้านการ ขนส่งในอาเซียน อาทิ เส้นทาง ประเภท/ขนาดรถยนต์ การประกันภัยรถยนต์ ใบอนุญาตขับขี่รถยนต์ การตรวจทางศุลกากร การขนส่งสินค้าผ่านแดน การขนส่งสินค้าข้ามแดน และการพัฒนาโครงข่ายทางหลวงอาเซียน" [การทูต] | ASEAN Investment Area Council | คณะมนตรีเขตการลงทุนอาเซียน " เป็นการประชุมระดับรัฐมนตรีที่ดูแลงานด้านการส่งเสริมการลงทุน เพื่อกำหนดนโยบายและกำกับการดำเนินงานจัดตั้งเขตการลงทุน อาเซียน ปกติมีการประชุมปีละครั้ง " [การทูต] | ASEAN-JAPAN SUMMIT | การประชุมสุดยอดอาเซียน-ญี่ปุ่น เป็นการประชุมระหว่างผู้นำอาเซียนและนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น ซึ่งในหลักการจะจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียน โดยเริ่มครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2540 [การทูต] | ASEAN Ministerial Meeting on Agriculture and Forestry | การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านการเกษตรและป่าไม้ จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี เพื่อกำหนดนโยบายและติดตามความร่วมมือด้านเกษตรและป่าไม้ของอาเซียน [การทูต] | AEM-MITI Economic and Industrial Cooperation Committee | คณะกรรมการความร่วมมือทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมระหว่างอาเซียนกับญี่ปุ่น เป็นกรอบการหารือระหว่างรัฐมนตรีเศรษฐกิจของอาเซียนกับกระทรวงการค้าต่าง ประเทศและอุตสาหกรรมของญี่ปุ่น จัดประชุมครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2541 [การทูต] | ASEAN Ministers on Energy Meeting | การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านพลังงาน จัดขึ้นปีละครั้ง เพื่อกำหนดแนวนโยบายในการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างสมาชิกอาเซียนด้าน พลังงาน [การทูต] | Amendments to the Charter of the United Nations | การแก้ไขกฎบัตรสหประชาชาติ กฎบัตรของสหประชาชาตินั้น เปิดโอกาสให้มีการแก้ไขได้โดยสมัชชาสหประชาชาติหรือโดยที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ของสมาชิกสหประชาชาติ ซึ่งอาจจะประชุมกัน ณ วันเวลาและสถานที่ตามแต่จะมีการตกลงกัน โดยคะแนนเสียง 2 ใน 3 ส่วนของสมัชชาใหญ่ และโดยคะแนนเสียงของสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงใด ๆ 7 เสียง ในที่ประชุมใหญ่นั้น สมาชิกแต่ละประเทศของสหประชาชาติจะมีเสียงลงคะแนน 1 เสียงการที่จะแก้ไขกฎบัตรสหประชาชาติให้เป็นผลสำเร็จ จะต้องได้เสียงสนับสนุนจากสมาชิกเป็นจำนวน 2 ใน 3 ส่วนของสมาชิกทั้งหมดในสมัชชาหรือจากที่ประชุมใหญ่ เมื่อการแก้ไขกฎบัตรเป็นที่รับรองแล้ว จะมีผลบังคับต่อสมาชิกทั้งหมดของสหประชาชาติ ก็ต่อเมื่อได้รับการสัตยาบันจากสมาชิก 2 ใน 3 ส่วนของจำนวนทั้งหมด รวมทั้งการรับรองจากสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงด้วยอาทิเช่น ในสมัยประชุมที่ 18 ของสมัชชาใหญ่ การแก้ไขกฎบัตรได้รับการรับรองเห็นชอบด้วย โดยผ่านข้อมติที่ 1991 (XVII) ในการแก้ไขครั้งนี้ได้เพิ่มจำนวนสมาชิกของคณะมนตรีความมั่นคงจาก 11 เป็น 15 คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมจาก 18 เป็น 27 ประเทศ การแก้ไขดังกล่าวได้รับการลงมติรับรองเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม ค.ศ. 1963 ในปัจจุบันนี้ ประเทศสมาชิกเป็นจำนวนมากกำลังเรียกร้องให้มีการปรับจำนวนสมาชิกถาวรของคณะ มนตรีความมั่นคงเสียใหม่ [การทูต] | ASEAN Ministerial Meeting | การประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน " เป็นการประชุมประจำปีของรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน โดยประเทศสมาชิกอาเซียนที่เป็นประธานคณะกรรมการประจำอาเซียนจะเป็น เจ้าภาพ ส่วนใหญ่จะจัดการประชุมในช่วงเดือนกรกฎาคมของทุกปี " [การทูต] | ASEAN Ministers Meeting on Development Planning | การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านการวางแผนการพัฒนา [การทูต] | ASEAN Ministerial Meeting on the Environment | การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อม จัดขึ้นเป็นประจำทุก 3 ปี เพื่อหารือ กำหนดนโยบาย และติดตามผลความคืบหน้าของความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อม [การทูต] | ASEAN Ministerial Meeting on Haze | การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนเกี่ยวกับปัญหาหมอกควัน " จัดขึ้นตามความจำเป็นและด้วยความเห็นชอบของทุกประเทศสมาชิก เพื่อติดตามความคืบหน้าของการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ อาเซียนด้านปัญหาหมอกควัน " [การทูต] | ASEAN Ministers' Meeting on Rural Development and Poverty Eradication | การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านการพัฒนาชนบทและการขจัดความยากจน [การทูต] | ASEAN Ministerial Meeting on Science and Technology | การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี " จัดขึ้นเป็นประจำทุก 3 ปี เพื่อหารือ กำหนดนโยบาย และติดตามผลความคืบหน้าของการดำเนินงานความร่วมมือด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี โดยในช่วงกลางระหว่างสามปีดังกล่าวจะมีการประชุม รัฐมนตรีอาเซียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างไม่เป็นทางการด้วย " [การทูต] | ASEAN Ministerial Meeting on Transnational Crime | การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านอาชญากรรมข้ามชาติ [การทูต] | ASEAN Ministers Responsible for Information | การประชุมรัฐมนตรีสารนิเทศอาเซียน เป็นการประชุมระดับรัฐมนตรีที่รับผิดชอบงานทางด้านสารนิเทศของประเทศสมาชิก อาเซียน จัดขึ้นทุก ๆ 2 ปี [การทูต] | ASEAN Regional Forum | การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก " เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรี ต่างประเทศของประเทศคู่เจรจาของอาเซียน (Dialogue Partners) ได้แก่ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย จีน รัสเซีย และสหภาพยุโรป ผู้สังเกตการณ์ (Observers) ของอาเซียน ได้แก่ ปาปัวนิวกินี และประเทศอื่น ๆ ที่มีบทบาทสำคัญในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เช่น มองโกเลียและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดย ARF ได้ใช้ ""geographical footprint"" หรือขอบเขตทางภูมิศาสตร์ เป็นปัจจัยสำคัญเพื่อประกอบการพิจารณารับสมาชิกใหม่ ปัจจุบัน ARF มีประเทศสมาชิก 22 ประเทศ กับ 1 กลุ่ม (สหภาพยุโรป) โดยมีการประชุมเป็นประจำทุกปีในช่วงต่อเนื่องกับการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting - AMM) เป็นเวทีปรึกษาหารือเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ระดับพหุภาคีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และพัฒนาแนวทางการ ดำเนินการทางการทูตเชิงป้องกัน (Preventive Diplomacy) ที่มุ่ง ป้องกันการเกิดและขยายตัวของความขัดแย้ง โดยใช้มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (Confidence Building Measures - CBMs) ระหว่างกัน ทั้งนี้ ARF มีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งที่ 1 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2537 และไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ARF ระดับรัฐมนตรีอีกครั้ง ซึ่งเป็นครั้งที่ 7 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2543 นอกจากการประชุม ARF ประจำปีแล้วยังมีการดำเนินกิจกรรมระหว่างปี (Inter-sessional Activities) ในสองระดับ คือ กิจกรรมที่เป็นทางการ (Track I) และกิจกรรมที่ไม่เป็นทางการ (Track II) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดร่วมกันระหว่างรัฐบาลกับสถาบันวิชาการของ ประเทศผู้เข้าร่วม ARF ได้แก่ (1) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมกลุ่มสนับสนุนว่าด้วยมาตรการสร้างความไว้เนื้อ เชื่อใจของ ARF (ARF Inter-sessional Support Group on Confidence Building Measures - ARF ISG on CBMs) (2) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการบรรเทาภัยพิบัติของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Disaster Relief - ARF ISM on DR) (3) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการรักษาสันติภาพของ ARF (Inter-sessional Meeting on Peace-keeping Operations - ARF ISM on PKO) และ (4) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการประสานและร่วมมือด้านการค้นหาและกู้ภัย ของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Search and Rescue Coordination - ARF ISM on SAR) " [การทูต] | ASEAN Standing Committee | คณะกรรมการประจำอาเซียน " ประกอบด้วยอธิบดีกรมอาเซียนของทุกประเทศสมาชิก มีหน้าที่ ควบคุม ดูแล ติดตามการดำเนินงานของกลไกและกิจกรรมต่าง ๆ ของอาเซียน ปกติจะประชุมปีละ 6 ครั้ง เป็นการประชุมในนามของ รัฐมนตรีต่างประเทศ ในช่วงกลางระหว่างการประชุมประจำปีของ รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน " [การทูต] | ASEAN Council on Petroleum | คณะมนตรีอาเซียนด้านปิโตรเลียม เป็นกลไกการหารือระหว่างวิสาหกิจแห่งชาติของประเทศสมาชิกอาเซียนที่ประกอบ กิจการด้านปิโตรเลียม มีการประชุมปีละ 2-3 ครั้ง เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลและแสวงหาความร่วมมือระหว่างกัน [การทูต] | ASEAN Senior Officials Meeting | การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียน เป็นการประชุมระดับปลัดกระทรวงการต่างประเทศของประเทศสมาชิก เพื่อติดตามและเสนอนโยบายด้านการเมือง ความมั่นคง และเรื่องอื่น ๆ ต่อรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน [การทูต] | ASEAN Troika | กลุ่มผู้ประสานงานของอาเซียน " เป็นข้อเสนอของไทยในการประชุมสุดยอดอย่างไม่เป็นทางการ ณ กรุงมะนิลา เมื่อ 28 พฤศจิกายน 2542 ซึ่งได้รับความเห็นชอบจาก ผู้นำประเทศ/รัฐบาลอาเซียน เป็นกลไกเฉพาะกิจในระดับรัฐมนตรี มีวัตถุประสงค์เพื่อให้อาเซียนสามารถแก้ไขและร่วมมือกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ทันท่วงทีและใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น ในเรื่องที่ส่งผลกระทบต่อสันติภาพ และในเรื่องที่อาเซียนมีความห่วงกังวลร่วมกันว่ามี แนวโน้มที่จะส่งผลกระทบต่อสันติภาพและเสถียรภาพของภูมิภาค ทั้งนี้ กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนจะปฏิบัติงานโดยยึดหลักการที่สำคัญของอาเซียน คือ หลักฉันทามติ และการไม่แทรกแซงกิจการภายใน กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนประกอบด้วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของ ประเทศที่เป็นประธานคณะกรรมการประจำของ อาเซียนในปัจจุบัน อดีต และอนาคต " [การทูต] | ASEM Economic Ministers' Meeting | การประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจเอเชีย-ยุโรป [การทูต] | ASEM Foreign Ministers' Meeting | การประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศเอเชีย-ยุโรป [การทูต] | ASEM Science and Technology Ministers' Meeting | การประชุมรัฐมนตรีวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเอเชีย-ยุโรป [การทูต] | Bangkok Process | เป็นการประชุมอย่างไม่เป็นทางการในระดับรัฐมนตรี เพื่อแลกเปลี่ยน ข้อคิดเห็นระหว่างกันอย่างตรงไปตรงมาและสร้างสรรค์เกี่ยวกับแนวทางในการสนับ สนุนกระบวนการสร้างความปรองดองภายในชาติและการพัฒนาประชาธิปไตยในพม่าตาม ?Roadmap towards Democracy in Myanmar? เดิมเรียกว่า Forum on International Support for National Reconciliation in Myanmar ประเทศไทยได้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุม Bangkok Process ครั้งแรกเมื่อ 15 ธันวาคม 2546 ที่กระทรวงการต่างประเทศ โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศหรือผู้แทนพิเศษของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศจาก 12 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย ออสเตรีย จีน ฝรั่งเศส เยอรมนี อินเดีย อินโดนีเซีย อิตาลี ญี่ปุ่น พม่า สิงคโปร์ และไทย รวมทั้งนาย Razali Ismail เป็นผู้แทนพิเศษของเลขาธิการสหประชาชาติว่าด้วยพม่าเข้าร่วม [การทูต] | Commencement of the Functions of the Head of Diplomatic Mission | การเริ่มต้นรับหน้าที่ของหัวหน้าคณะผู้แทนทางการ ทูต กล่าวคือ เมื่อหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตเดินทางไปถึงนครหลวงของประเทศผู้รับแล้ว ควรรีบแจ้งให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศทราบว่า ตนได้เดินทางมาถึงแล้วและขอนัดเยี่ยมคารวะ ตามปกติกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นหน้าที่ของอธิบดีกรมพิธีการทูตจะดำเนินการตระเตรียมให้หัวหน้าคณะ ผู้แทนทางการทูตได้เข้ายื่นสารตราตั้งต่อไประหว่างนั้น หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตจะต้องไม่ไปพบเยี่ยมผู้ใดเป็นทางการ จนกว่าจะได้ยื่นสารตราตั้งเรียบร้อยแล้ว อย่างไรก็ดี หัวหน้าคณะผู้แทนอาจขอพบเป็นการภายในกับหัวหน้าของคณะทูตานุทูต (Dean หรือ Doyen of the Diplomatic Corps) ได้ เพื่อขอทราบพิธีการปฏิบัติในการเข้ายื่นสารตราตั้งต่อประมุขของประเทศผู้รับ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนา ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 13 ว่า1. พึงถือได้ว่าหัวหน้าคณะผู้แทนได้เข้ารับภารกิจหน้าที่ของตนในรัฐผู้รับ เมื่อตนได้ยื่นสารตราตั้งหรือเมื่อตนได้บอกกล่าวการมาถึงของตน พร้อมทั้งได้เสนอสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้งต่อกระทรวงการต่างประเทศของ รัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกันในแนวปฏิบัติที่มีอยู่ในรัฐผู้รับ ซึ่งจะต้องใช้ในทำนองอันเป็นเอกรูป2. ลำดับของการยื่นสารตราตั้ง หรือสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้ง จะได้พิจารณากำหนดตามวันและเวลาของการมาถึงของหัวหน้าคณะผู้แทน [การทูต] | Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต] | Coordinated Mekong Ministerial Initiative against Trafficking | การประชุมระดับรัฐมนตรีของประเทศไทยในอนุภูมิภาค แม่น้ำโขง เพื่อต่อต้านการค้ามนุษย์ [การทูต] | Communiqué | คำประกาศทางการหรือแถลงการณ์ทางการ ซึ่งรายงานให้ทราบผลของการประชุม หรือการเจรจาเป็นทางการระหว่างเจ้าหน้าที่ชั้นผู้ใหญ่ในรัฐบาล เช่น ประมุขของรัฐ หัวหน้ารัฐบาล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ เอกอัครราชทูต หรือบุคคลอื่นในระดับนั้น คำแถลงการณ์ที่เรียกว่า Communiqué นี้ไม่มีรูปแบบโดยเฉพาะแต่อย่างใด โดยปกติอะไรที่ได้ตกลงกันไว้ในการเจรจาจะบรรจุไว้ด้วยถ้อยคำกว้างๆ ส่วนอะไรที่มิได้ระบุไว้ในแถลงการณ์มักจะมีความสำคัญยิ่งกว่าถ้อยคำที่เขียน ไว้เสียด้วย [การทูต] | courtesy call | การเยี่ยมคารวะ เป็นการเข้าพบเพื่อทำความรู้จักกันของบุคคลสำคัญหรือนักการทูต เช่น การเข้าพบระหว่างนักการทูตด้วยกัน หรือนักการทูตเข้าพบรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีของประเทศอื่นเข้าพบนายกรัฐมนตรี ฯลฯ [การทูต] | Committee of Permanent Representatives to ASEAN | คณะกรรมการผู้แทนถาวรประจำอาเซียน ประกอบด้วยผู้แทนถาวร (ระดับเอกอัครราชทูต) ประจำอาเซียนของประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศ ทำหน้าที่ในการติดต่อประสานงานกับสำนัก เลขาธิการอาเซียนสนับสนุนการทำงานของคณะมนตรีประชาคมอาเซียนรวมทั้งองค์กร ระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขาต่าง ๆ [การทูต] |
| I'm only an elected official here. | ผมเป็นแค่เพียงเทศมนตรีที่ได้รับการคัดเลือกของที่นี่ The Nightmare Before Christmas (1993) | The mayor is helping repatriated Algerians. | "นายกเทศมนตรีกำลังช่วย ส่งตัวชาวแอลจีเรียมา Wild Reeds (1994) | He now speaks to Field Marshal Herring, Minister of War. | รัฐมนตรีการสงคราม The Great Dictator (1940) | Lord Mayor, sir... I've made it, I'm back. | นายกเทศมนตรีครับ ฉันได้ทำมันฉัน กลับ Yellow Submarine (1968) | - Our Lord Mayor. | พระเจ้าของเรา นายกเทศมนตรี Yellow Submarine (1968) | Lord Mayor, sir... unbonk yourself. | นายกเทศมนตรีครับ ไม่เคาะ ตัวเอง Yellow Submarine (1968) | Young Fred? - You do, Lord Mayor. | คุณทำ นายกเทศมนตรี Yellow Submarine (1968) | We'll get other instruments, Lord Mayor. | เราจะได้รับเครื่องมืออื่น ๆ นายกเทศมนตรี Yellow Submarine (1968) | Manifestations which you, if I might add, as minister of science have been unable to fathom. | ปรากฏการณ์ประหลาด ซึ่งคุณรัฐมนตรีวิทยาศาสตร์ ยังไม่สามารถอธิบายได้ Beneath the Planet of the Apes (1970) | As minister of science, it is my duty to find out whether some other form of life exists. | ฐานะรัฐมนตรีวิทยาศาสตร์ ฉันมีหน้าที่ค้นหาว่า... มีสิ่งมีชีวิตรูปแบบอื่นอีกมั้ย Beneath the Planet of the Apes (1970) | Listen, we had a shark attack at South Beach this morning, Mayor. | มีคนโดนฉลามกัดที่เช้าท์บีช เมื่อเช้านี่ครับ เทศมนตรี Jaws (1975) | Mr. Mayor, Chief, ladies and gentlemen. | ท่านเทศมนตรี สารวัตร... สุภาพบุรุษเเละสตรีทุกท่าน Jaws (1975) | I want you to meet Matt. This is Larry Vaughn, our mayor. | ผมอยากให้คุณรู้จักเเม็ท นี่เเลร์รี่ วอห์น นายกเทศมนตรีของเรา Jaws (1975) | Terrific, huh, Mayor? | ยอดมั้ย ท่านเทศมนตรี Jaws (1975) | I've got to close the beach, call the Mayor. | ผมต้องปิดหาด โทรหาท่านเทศมนตรี Jaws (1975) | Summer's over. You're the mayor of Shark City. | ฤดูร้อนไม่มีเเล้ว คุณเป็นนายกเทศมนตรีเมืองฉลาม Jaws (1975) | Get the Mayor off my back so I don't have more of this zoning crap. | อย่าให้เทศมนตรีมายุ่งล่ะ ผมจะได้ไม่ต้องเจอเรื่องเเบ่งเขตอีก Jaws (1975) | My next story is about the mania of Minister Missiroli | เรื่องราวถัดไปของฉันคือเกียวกับรัฐมนตรี mania of Missiroli Salò, or the 120 Days of Sodom (1975) | I went to the Minister's office at ten one morning | ฉันไปที่ office at ของรัฐมนตรี สิบหนึ่งตอนเช้า Salò, or the 120 Days of Sodom (1975) | I want you to be the first prime minister of India to name your entire cabinet to make the head of every government department a Muslim. | ผมอยากให้คุณเป็นนายกรัฐมนตรี คนแรกของอินเดีย และแต่งตั้งคณะรมต.ของคุณเอง ให้รมต.ของทุกกระทรวงเป็นมุสลิม Gandhi (1982) | Secretary of State Caulfield met with the president for two hours this morning at the White House. | รัฐมนตรีกระทรวงการ ต่างประเทศของ โคฟีลด พบกับ ประธานสองชั่วโมงในเช้าวันนี้ ที่ทำเนียบขาว 2010: The Year We Make Contact (1984) | I'm Chattar Lal, Prime Minister to His Highness, the Maharaja of Pankot. | ฉัน Chattar ลาลนายกรัฐมนตรี ที่จะเสด็จ, มหาราชาแห่ง Pankot ของเขา Indiana Jones and the Temple of Doom (1984) | I'm not worried, Mr. Prime Minister, just, uh... just, um, interested. | ฉันไม่กังวลนายนายกรัฐมนตรีเพียงแค่เอ่อ ... เพียงแค่เอ่อสนใจ Indiana Jones and the Temple of Doom (1984) | I'm the Mayor's son in this village. | ฉันเป็นลูกชายเทศมนตรี ของหมู่บ้านนี้นะ Vampire Hunter D (1985) | Mayor Grundy barfed on his wife's tits! | นายกเทศมนตรีกรันดี้ อ้วกรดหน้าอกภรรยา! Stand by Me (1986) | Groups of unemployed workers, who have grown in number due to the tax reforms enacted by the former Prime Minister, are rioting all across the country. | กลุ่มคนว่างงานที่เพิ่มจำนวนขึ้น เนื่องจากการแก้ไขกฎหมายภาษี ตามคำสั่งของอดีตนายกรัฐมนตรี ลุกฮือขึ้นประท้วงทั่วประเทศ Akira (1988) | And with the confusion among members of parliament sparked by the comments of Finance Minister Takanashi during a recent parliament inquiry, there seems to be no compromise insight between the government and opposition. | และความสับสนในหมู่สมาชิกสภา จากคำพูดของ รัฐมนตรีคลัง ทาคานาชิ ระหว่างการตรวจสอบโดยสภา ดูเหมือนจะไม่มีทางประนีประนอมกัน ระหว่างรัฐบาลกับฝ่ายค้าน Akira (1988) | We Parliament members have been begging the public to bear with us while we straighten out the former Prime Minister's historic tax reform blunders, so where, exactly, are we supposed to get that kind of money? | เราสมาชิกรัฐสภาขอให้อดทน กับเหตุการณ์สาธารณะที่เกิดกับเรา... ...ขณะที่เราตรงออกจากรูปแบบการปฎิรูปภาษี ของการผิดพลาดจากรัฐมนตรีท่านแรก ดังนั้นที่ไหน, ความเป็นจริง, คือเราสมมุติการ ได้รับชนิดของเงินหรือไม่? Akira (1988) | It has psychological interest, Minister, in so far as the writer sounds... | มันมีความสนใจทางด้านจิตใจรัฐมนตรีว่าการกระทรวงในเพื่อให้ห่างไกลเป็นนักเขียนเสียง ... The Russia House (1990) | He's already got the mayor breathing down my neck. | เขาแล้วมีนายกเทศมนตรีลงลำคอหายใจของฉัน Teenage Mutant Ninja Turtles (1990) | Lord Chamberlain, may I request... an audience with the regent and ministers of the cabinet? | ท่านขุนนาง กระหม่อมขอเข้าพบ... ท่านผู้สำเร็จราชการและคณะรัฐมนตรี สักครู่ได้หรือไม่ Seven Years in Tibet (1997) | I asked the opinion of the ministers, not that of a mere secretary. | เราถามความเห็นของคณะรัฐมนตรีNมิใช่เลขาธิการอย่างเจ้า Seven Years in Tibet (1997) | Secretary to the ministers of the government. | เลขาธิการคณะรัฐมนตรี Seven Years in Tibet (1997) | Perhaps you could help us explain... why the ministers... demand that the Chinese government... | คุณจะช่วยอธิบาย... ว่าทำไมคณะรัฐมนตรี ถึงได้สั่งให้รัฐบาลจีน Seven Years in Tibet (1997) | I cannot speak for the regent nor the ministers, Excellence. | กระหม่อมจะกล่าวแทนท่านผู้สำเร็จราชการ หรือคณะรัฐมนตรีไม่ได้ครับ ใต้เท้า Seven Years in Tibet (1997) | The robe of a minister is so much finer than your old brown robe, isn't it? | ชุดคลุมของรัฐมนตรีเนื้อดีกว่า ชุดคลุทเก่าๆ สีตุ่นของนายตั้งเยอะ Seven Years in Tibet (1997) | When you were defense minister to the previous Dalai Lama... then you wanted to reorganize the army. | ตอนที่ท่านเป็นรัฐมนตรีกระทรวงกลาโหม ภายใต้องค์ทะไลลามะองค์ก่อน ท่านอยากเปลี่ยนแปลง การจัดการกองทัพ Seven Years in Tibet (1997) | The rising star of the cabinet, Minister Ngawang Jigme... made an offering of his own to greet the Chinese generals... and lead them through Lhasa. | ดาวรุ่งดวงใหม่ในคณะรัฐมนตรี รัฐมนตรีนาวาง จิกมี เสนอตัวออกไปต้อนรับ สามนายพลจากจีน และพาเข้ามายังลาซา Seven Years in Tibet (1997) | Ngawang Jigme, our newly appointed governor... is preparing to send troops toward the Chinese column... in order to stop their progression." | นาวาง จิกมี ผู้ซึ่งเพิ่งได้รับ การแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี จัดเตรียมกองกำลังเพื่อเข้า ปะทะกับกองทัพจีน เพื่อหยุดไม่ให้รุกคืบไปมากกว่านี้" Seven Years in Tibet (1997) | If I did not know that, I would not have been appointed governor. | ถ้าผมไม่รู้ ก็คงไม่ได้รับแต่งตั้ง แต่งตั้งให้เป็นรัฐมนตรีหรอกครับ Seven Years in Tibet (1997) | Minister, I really think I should sign as well. | ท่านรัฐมนตรี ฉันคิดว่าคุณควรจะเซ็นตรงนี้ Harry Potter and the Prisoner of Azkaban (2004) | Yeah, the one who dragged you onto presidential campaign rallies! | เออนั่นแหละ คนที่ลากนาย.. เข้าไปหานายกเทศมนตรีน่ะ Christmas in August (1998) | Our next Minister of Justice. | นั่นว่าที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมคนต่อไป Brokedown Palace (1999) | Your Minister of Justice has agreed. | เราตกลงกันแล้วนี่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของคุณได้ตกลงแล้ว Brokedown Palace (1999) | I don't think the minister's suggesting you had anything to do with this. | ฉันไม่คิดว่าท่านรัฐมนตรีจะหมายความ ว่าเราขโมยมันไปนะ Harry Potter and the Prisoner of Azkaban (2004) | There has been a fierce discussion between ruling party members... following the Prime Minister's off-color remarks... at a reception yesterday. | มีการอภิปรายอย่างดุเดือด ระหว่างสมาชิก... ติดตามนายกรัฐมนตรี กล่าววิพากษ์วิจารณ์... ถึงการต้อนรับเมื่อวานนี้. Visitor Q (2001) | It's from the mayor. You're a loose cannon. | มันมาจากนายกเทศมนตรี คุณเป็นปืนใหญ่ Showtime (2002) | Cornelius Fudge, Minister of Magic. | คอร์นีเลียส ฟัดจ์ รัฐมนตรีกระทรวงเวทย์มนตร์ Harry Potter and the Chamber of Secrets (2002) | - Only Councillor Hamann's opening prayer. | -ท่านเทศมนตรีเพิ่งกล่าวเปิดงานเท่านั้น The Matrix Reloaded (2003) | - Councillor Hamann. | -ท่านเทศมนตรี ฮามานน์ The Matrix Reloaded (2003) |
| อดีตนายกรัฐมนตรี | [adīt nāyok ratthamontrī] (n, exp) EN: former prime minister FR: ancien Premier ministre [ m ] | อดีตรัฐมนตรี | [adīt ratthamontrī] (n, exp) EN: former Minister FR: ancien ministre [ m ] | จุฬาราชมนตรี | [julārātchmontrī] (n) EN: chief of the Muslim in Thailand FR: chef des musulmans de Thaïlande [ m ] | คณะมนตรี | [khanamontrī] (n) EN: council ; congress | คณะมนตรีบริหาร | [khanamontrī børihān] (n, exp) EN: executive congress | คณะมนตรีความมั่นคง | [khanamontrī khwām mankhong] (x) EN: The Security Council | คณะรัฐมนตรี | [khana ratthamontrī] (n, exp) EN: cabinet ; Council of Ministers FR: conseil des ministres [ m ] ; conseil de gouvernement [ m ] ; cabinet des ministres [ m ] (vx) | คณะเทศมนตรี | [khana thētsamontrī = khana thēsamontrī] (n, exp) EN: municipal council ; town council ; city council FR: conseil municipal [ m ] ; conseil communal [ m ] | มนตรี | [montrī] (n) EN: counselor ; adviser ; high government official ; senior government official FR: conseiller [ m ] ; dignitaire de l'État [ m ] | นายกรัฐมนตรี | [nāyokratthamontrī] (n, exp) EN: Prime Minister ; Premier FR: Premier ministre [ m ] | นายกรัฐมนตรีคนใหม่ | [nāyokratthamontrī khon mai] (n, exp) FR: le nouveau Premier ministre | นายกเทศมนตรี | [nāyok thēsamontrī] (n) EN: mayor FR: maire [ m, f ] ; bourgmestre (Belg.) [ m, f ] ; maïeur = mayeur (Belg.) [ m ] | รัฐมนตรี | [ratthamontrī] (n) EN: minister ; government minister ; cabinet minister ; secretary FR: ministre [ m, f ] ; ministre d'État [ m, f ] | รัฐมนตรีช่วยว่าการ | [ratthamontrī chūay wākān] (n, exp) EN: deputy ; assistant secretary ; junior minister | รัฐมนตรีมหาดไทย | [Ratthamontrī Mahātthai] (n, prop) EN: Minister of Interior ; Minister of the Interior ; Minister of Home Affairs FR: ministre de l'Intérieur [ m ] | รัฐมนตรีรักษาด้วย | [ratthamontrī raksā dūay] (n, exp) EN: caretaker cabinet FR: gouvernement en affaires courantes [ m ] | รัฐมนตรีตรายาง | [ratthamontrī trāyāng] (n, exp) EN: rubber-stamp minister | รัฐมนตรีว่าการ | [ratthamontrī wākān] (n, exp) EN: cabinet minister ; secretary | รัฐมนตรีว่าการต่างประเทศ | [Ratthamontrī Wākān Tāngprathēt] (n, prop) EN: Minister of Foreign Affairs ; Secretary of State FR: ministre des Affaires étrangères [ m ] | รองนายกรัฐมนตรี | [røng-nāyokratthamontrī] (n) EN: Deputy Prime Minister ; vice-premier | รองนายกรัฐมนตรี | [røng-nāyokratthamontrī] (n) EN: Deputy Prime Minister | รองนายกเทศมนตรี | [røng nāyok thēsamontrī] (n, exp) EN: deputy mayor FR: adjoint au maire [ m ] ; échevin [ m ] (Belg.) | รองรัฐมนตรี | [røng ratthamontrī] (n) EN: vice-minister ; deputy minister FR: vice-premier ministre [ m ] | สำนักนายกรัฐมนตรี | [samnak nāyokratthamontrī] (n, exp) EN: Prime Minister's office FR: services du Premier ministre [ mpl ] | เทศมนตรี | [thēsamontrī] (n) EN: municipal councillor ; member of a municipal council FR: conseiller municipal [ m ] ; conseiller communal [ m ] | เทศมนตรี | [thētsamontrī = thētsamontrī] (n, exp) EN: municipal councillor FR: conseiller municipal [ m ] ; conseiller communal [ m ] | ครม. (คณะรัฐมนตรี) | [khørømø. (khana ratthamontrī)] EN: cabinet |
| | alderman | (n) เทศมนตรี | backbench | (n) ที่นั่งของสมาชิกรัฐสภา (ที่ไม่ใช่รัฐมนตรีหรือตำแหน่งสำคัญ), Ant. front bench | cabinet | (n) คณะรัฐมนตรี | cabinet minister | (n) รัฐมนตรี | Excellency | (n) คำเรียกอย่างยกย่องสำหรับผู้มีตำแหน่งทางราชการสูง เช่น รัฐมนตรี เอกอัครราชทูต | Lord Mayor | (n) นายกเทศมนตรี (ในประเทศอังกฤษ) | mayor | (n) นายกเทศมนตรี, Syn. alderman, governor, councilor | mayoral | (adj) เกี่ยวกับนายกเทศมนตรี | mayoress | (n) นายกเทศมนตรีหญิง | Minister | (n) รัฐมนตรี | minister | (n) รัฐมนตรี, See also: นักการฑูต, Syn. cabinet member, ambassdor, consul, high officer | ministerial | (adj) เกี่ยวกับรัฐมนตรี, See also: เกี่ยวกับกระทรวง, Syn. magisterial, official | ministry | (n) คณะรัฐมนตรี | premier | (n) นายกรัฐมนตรี | prime minister | (n) นายกรัฐมนตรี, Syn. PM, leader | privy council | (n) สภาองคมนตรี, Syn. cabinet | privy councillor | (n) องคมนตรี | secretary | (n) รัฐมนตรี, See also: เจ้าหน้าที่ระดับสูง, เลขาธิการ, Syn. secretaire | Secretary of State | (n) รัฐมนตรีต่างประเทศของสหรัฐอเมริกา | vice-premier | (n) รองนายกรัฐมนตรี |
| alcalde | (แอลแคล' ดี) n., (pl. -des) นายกเทศมนตรีที่มีอำนาจพิจารณาคดี., Syn. alcade | alderman | (ออล' เดอเมิน) n., (pl. -men) เทศมนตรี, สมาชิกสภาเทศบาล, ข้าหลวงใหญ่. | aulic council | สภาองคมนตรีของจักรพรรดิ์โรมันสมัยก่อน | cabinet | (แคบ'บิเนท) n. คณะรัฐมนตรี, ตู้, ตู้มีลิ้นชัก, ตู้เฟอร์นิเจอร์ที่มีชั้นวางวิทยุ, โทรทัศน์, ห้องเล็ก, ห้องลับadj. เกี่ยวกับคณะรัฐมนตรี, เกี่ยวกับห้องส่วนตัว, Syn. chest | chancellery | (ชาน'ชะเลอรี) n. ตำแหน่งเสนาบดี, สำนักงานเสนาบดี, รัฐมนตรี, ตำแหน่งอัครมหาเสนาบดีของบางประเทศ, สถานเอกอัครราชฑูต, สถานกงสุลใหญ่, เจ้าหน้าที่ทั้งหมดของสถานเอกอัครราชฑูต (หรือกงสุล) , เลขานุการเอกอัครราชทูต (หรือกงสุล) , นายกรัฐมนตรี (ของบางประเทศ) , ตุลาการใหญ่ของบางประเ | chancellor | (ชาน'ซะเลอ) n. เสนาบดี, อัครมหาเสนาบดี, นายกรัฐมนตรี, เอกอัครราชทูต, ตุลาการใหญ่, See also: chancellorship n. | chancellor of the exchequ | n. รัฐมนตรีกระทรวงการคลังของอังกฤษ | city manager | n. เทศมนตรี, ผู้ที่สภาเทศบาลเมือง | commissary | (คอม'มิเซอรี) n. ร้านขายอาหารและเสบียง, ที่จ่ายเสบียง, รองหัวหน้า, commissar, รองอธิบดีตำรวจ, รองนายกเทศมนตรี | council | (เคา'เซิล) n. สภา, คณะกรรมการ, คณะกรรมาธิการ, กลุ่มคณะนิติบัญญัติ, กลุ่มคณะที่ปรึกษา, การประชุม, องค์กรร่วม, คณะมนตรี -Conf. counsel | home secretary | รัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทยของอังกฤษ | lenin | (เลน'นิน) n. Vladimir Ilyich นายกรัฐมนตรีโซเวียต (ค.ศ.1918-1924) | lord mayor | n. นายกเทศมนตรีเมืองใหญ่ | mayor | (เม'เออะ, แม'เออะ) n. นายกเทศมนตรี -mayoral adj., See also: mayorship n. | mayoralty | (เม'เออรัลที, แม'เออรัลที) n. สำนักนายกเทศมนตรี | mayoress | (เม'เออริส, แม'เออริส) n. นายกเทศมนตรีหญิง | minister | (มิน'นิสเทอะ) n. พระ, รัฐมนตรี vi. ทำหน้าที่เป็นพระ, ช่วยเหลือ, รับใช้, ทำให้เกิดขึ้น. vt. จัดการ, จัดให้มี, Syn. priest | ministerial | (มินนิสเทีย'เรียล) adj. เกี่ยวกับพระ, เกี่ยวกับรัฐมนตรี, เกี่ยวกับการรับใช้ เป็นเครื่องมือ | ministry | (มิน'นิสทรี) n. กระทรวง, คณะรัฐมนตรี, คณะสงฆ์, การบริการ, การช่วยเหลือ | portfolio | (พอร์ทโฟ'ลีโอ, โพร์ท-) n. กระเป๋าเอกสาร, แผงหนังสือราชการ, ตำแหน่งรัฐมนตรี, หลักทรัพย์การลงทุน | premier | (พรีเมียร์', พริมเยียร์') n. นายกรัฐมนตรี, อัครมหาเสนาบดี. adj. เป็นหัวหน้า, นำหน้า, ครั้งแรก, เก่าที่สุด., See also: premiership n., Syn. prime minister | privy council | n. สภาองคมนตรี | privy councillor | n. องคมนตรี | privy councilor | n. องคมนตรี | secretariat | (เซคริแท'เรียท) n. กองเลขาธิการ, สำนักงานเลขาธิการ, สำนักงานเลขานุการ, สำนักงานรัฐมนตรี, ตำแหน่งเลขาธิการ, ตำแหน่งรัฐมนตรี, ตำแหน่งเลขานุการ, เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานดังกล่าว | secretariate | (เซคริแท'เรียท) n. กองเลขาธิการ, สำนักงานเลขาธิการ, สำนักงานเลขานุการ, สำนักงานรัฐมนตรี, ตำแหน่งเลขาธิการ, ตำแหน่งรัฐมนตรี, ตำแหน่งเลขานุการ, เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานดังกล่าว | secretary | (เซค'ริเทอรี) n. เลขานุการ, เลขาธิการ, เลขานุการส่วนตัว, ผู้ทำหนังสือ, รัฐมนตรี, เจ้าหน้าที่ชั้นผู้ใหญ่ของรัฐ, โต๊ะเขียน, See also: secretaryship n. pl. secretaries, Syn. stenographer | secretary of state | n. รัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศของอเมริกา, (อังกฤษ) รัฐมนตรี | treasurer | (เทรช'เ?อะเรอะ) n. ผู้รักษาทรัพย์สมบัติ, เหรัญญิก -Phr. (Lord High Treasurer เสนาบดีฝ่ายการคลัง, ขุนคลัง, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง), See also: treasurership n. | vice chancellor | n. รองอัครมหาเสนาบดี, รองนายกรัฐมนตรี, รองอธิการบดีมหาวิทยาลัย | vice-premier | (ไวสฺ'เพรม'เมียร์) n. รองนายกรัฐมนตรี | vizi | (er) (วิเซียร์', วิส'เซียร์) n. ขุนนางผู้ใหญ่ในประเทศมุสลิม (โดยเฉพาะที่เป็นรัฐมนตรี) ., See also: vizierate n. vizirate n. viziership n. vizirship n. vizierial adj. vizerial adj. |
| alderman | (n) เทศมนตรี, สมาชิกสภาเทศบาล | cabinet | (n) ตู้ใส่ของ, ห้องลับ, ห้องเล็ก, ห้องส่วนตัว, คณะรัฐมนตรี | chancellor | (n) อธิการบดี, อัครมหาเสนาบดี, นายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรี, เลขานุการสถานทูตน | council | (n) สภา, คณะมนตรี, สภาองคมนตรี, คณะกรรมการ, กลุ่มคณะนิติบัญญัติ | mayor | (n) นายกเทศมนตรี | mayoralty | (n) ตำแหน่งนายกเทศมนตรี, สำนักนายกเทศมนตรี | minister | (n) ทูต, พระ, รัฐมนตรี, ผู้รับใช้ | ministerial | (adj) เกี่ยวกับทูต, เกี่ยวกับรัฐมนตรี, เป็นเครื่องมือ | ministry | (n) กระทรวง, คณะสงฆ์, คณะรัฐมนตรี | portfolio | (n) กระเป๋าถือ, กระเป๋าเอกสาร, หลักทรัพย์, ตำแหน่งรัฐมนตรี | premier | (n) นายกรัฐมนตรี, อัครมหาเสนาบดี | PRIME prime minister | (n) นายกรัฐมนตรี, อัครมหาเสนาบดี | provost | (n) ประธาน, หัวหน้าพระ, นายกเทศมนตรี, พระครู | secretary | (n) เลขาธิการ, เลขานุการ, รัฐมนตรี, โต๊ะเขียนหนังสือ |
| Council of Ministers | "คณะมนตรีบริหาร" เป็นชื่อเรียกรัฐบาลระดับแคว้น รัฐ หรือภูมิภาค คำนี้ปรากฎในบางประเทศที่ใช้ระบอบการปกครองแบบสหพันธรัฐ หัวหน้าคณะมนตรีบริหารมักมีชื่อตำแหน่งว่า "มุขมนตรี" | endorsement | (n) officially approved ได้รับการอนุญาต ในที่นี้หมายถึง ได้รับการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งให้เป็นนายกรัฐมนตรี | House of Councillors | (org) ราชมนตรีสภา | Human Rights Commission | (n, name, org, uniq) คณะมนตรีสิทธิมนุษยชน | minister of state | (n) ตำแหน่งรัฐมนตรีชั้นสองของสหราชอาณาจักร ได้แก่ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง หรือ รัฐมนตรีว่าการทบวง | premiership | (n, adj) (พรีเมียร์', พริมเยียร์') n. นายกรัฐมนตรี, อัครมหาเสนาบดี. adj. เป็นหัวหน้า, นำหน้า, ครั้งแรก, เก่าที่สุด. คำศัพท์ย่อย: premiership n. คำที่มีความหมายเหมือนกัน: prime minister | puppet government | (n) รัรัฐบาลหุ่นเชิด รัฐบาลที่ทำงานโดยมีผู้อื่นบางการอยู่ข้างหลัง เช่น คุณสมัครดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีโดยมีคุณทักษิณเป็นคนคอยสั่งการ แต่งตั้ง โยกย้ายตำแหน่งต่างๆและกำหนดนโยบายต่างๆเพื่อเอื้อประโยชน์แก่ตนและญาติพี่น้อง แม้จะพักอาศัยอยู่ไกลถึงลอนดอนก็ตาม | shadow cabinet | (n) คณะรัฐมนตรีเงา | shadow minister | (n) รัฐมนตรีเงา | the Cabinet Secretary-General | เลขาธิการคณะรัฐมนตรี | Undersecretary | (exp) รัฐมนตรีว่าการทบวง (เช่นรัฐมนตรีว่าการทบวงทหารบกสหรัฐ) หรือ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง (เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมสหรัฐ) |
| 内閣 | [ないかく, naikaku] (n) คณะรัฐมนตรี | 内閣不信任案 | [ないかくふしんにんあん, naikakufushinnin'an] (n) ญัตติเพื่อเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจคณะรัฐมนตรี | 内閣総理大臣 | [ないかくそうりだいじん, naikakusouridaijin] (n) นายกรัฐมนตรี, See also: 総理大臣, 首相 | 労働大臣 | [ろうどうだいじん, roudoudaijin] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน | 外相 | [がいしょう, gaishou] (n) รัฐมนตรีต่างประเทศ | 大臣 | [だいじん, daijin] (n) รัฐมนตรี | 安全保障理事会 | [あんぜんほしょうりじかい, anzenhoshourijikai] (n) คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ, See also: 国連 | 常任理事国 | [じょうにんりじこく, jouninrijikoku] (n) ประเทศสมาชิกถาวรประจำคณะมนตรีความมั่นคง | 総理大臣 | [そうりだいじん, souridaijin] (n) นายกรัฐมนตรี, See also: 首相 | 財務相 | [ざいむしょう, zaimushou] (n) รัฐมนตรีคลัง | 首相 | [しゅしょう, shushou] (n) นายกรัฐมนตรี |
| 運輸大臣 | [うんゆだいじん, unyudaijin] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม |
| Minister | (n) |der, pl. Minister| รัฐมนตรี | Ministerpräsident | (n) |der, pl. Ministerpräsidenten| รัฐมนตรีประจำรัฐ, ตำแหน่งผู้ว่าการรัฐใดๆ ในเยอรมนี เช่น Der Ministerpräsident von Beden-Württemberg heißt Erwin Teufel. | Außenminister | (n) |der, pl. Außenminister| รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ | Ära | (n) |die, pl. Ären| ยุคสมัย เช่น Beginn der Ära Merkel การเริ่มต้นแห่งยุคของ Merkel นายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกของเยอรมนี, Syn. Epoche | Kabinett | (n) |das, pl. Kabinette| คณะรัฐมนตรี (ย่อว่า ครม.) เช่น Ohne Blutvergießen besetzten die Militärs die Schaltstellen der Macht, riefen das Kriegsrecht aus und erklärten das Kabinett und den Senat für aufgelöst. |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |