Genetically-modified organism | การตัดแต่งพันธุกรรม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Genetic transformation | การถ่ายทอดทางพันธุกรรม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Genetic markers | เครื่องหมายพันธุกรรม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Heredity | พันธุกรรม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Genetically Modified plant | พืชดัดแปลงพันธุกรรม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Genetically Modified Organisms | สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม, Example: <p>สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม (Genetically Modified Organisms - GMOs) คือ สิ่งมีชีวิตที่ได้รับการตัดต่อยีนที่ควบคุมลักษณะที่ต้องการโดยใช้เทคโนโลยีพันธุวิศวกรรม เพื่อให้ได้สิ่งมีชีวิตที่มีคุณสมบัติที่ดีตามต้องการ เช่น การดัดแปลงพันธุกรรมของพืชให้มีความต้านทานต่อแมลงศัตรูพืชหรือสามารถเจริญอยู่ได้ในสิ่งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม การดัดแปลงพันธุกรรมของจุลินทรีย์ให้สามารถผลิตเอ็นไซม์ที่เป็นประโยชน์ในทางอุตสาหกรรม ถึงแม้เทคโนโลยีนี้จะมีประโยชน์หลายอย่าง แต่ก็เกิดคำถามถึงความปลอดภัยของการใช้สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมต่อสิ่งแวดล้อม ความหลากหลายทางชีวภาพ และสุขอนามัยของประชาชน ดังนั้นจึงมีกฎหมายและคณะทำงานทางด้านความปลอดภัยทางชีวภาพมากำกับดูแลตั้งแต่การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม ตลอดจนถึงการบริโภคสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมและการเพาะปลูกสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม <p> <p>กฎหมายทางด้านความปลอดภัยทางชีวภาพประกอบด้วย <p> <p>- พระราชบัญญัติกักพืช พ.ศ. 2507 <p>- พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542 <p>- พระราชบัญญัติเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ พ.ศ. 2544 <p>- พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 <p>- ร่างพระราชบัญญัติความปลอดภัยทางชีวภาพแห่งชาติ <p>- แนวทางปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety Guidelines) <p> <p>คณะทำงานทางด้านความปลอดภัยทางชีวภาพประกอบด้วย <p> <p>- กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ กรมป่าไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ กรมควบคุมมลพิษ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง <p>- กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้แก่ กรมวิชาการเกษตร กรมปศุสัตว์ กรมประมง <p>- กระทรวงสาธารณสุข ได้แก่ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา <p>- กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แก่ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ <p>- กระทรวงอุตสาหกรรม ได้แก่ กรมโรงงานอุตสาหกรรม <p>- กระทรวงพาณิชย์ ได้แก่ กรมการค้าต่างประเทศ <p>- คณะกรรมการด้านความปลอดภัยทางชีวภาพของแต่ละสถาบัน (Institutional Biosafety Committee - IBC) <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ. (2551). เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม (จีเอ็มโอ) และความปลอดภัยทางชีวภาพ. ปทุมธานี : สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. <br> <br>Technical Biosafety Committee. (2010). Updated Status and Perspective of Thailand on Research and Development of Modern Biotechnology and Biosafety Regulation. 3 rd ed. Pathumthani : National Center for Genetic Engineering and Biotechnology. [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Genetic code | รหัสพันธุกรรม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Genetic programming (Computer science)) | การโปรแกรมเชิงพันธุกรรม [คอมพิวเตอร์] |
Preimplantation genetic diagnosis | การวินิจฉัยทางพันธุกรรมก่อนการฝังตัว [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Chimera | ไคมีรา, สิ่งมีชีวิตที่มีเนื้อเยื่อบางส่วนประกอบด้วยเซลล์ที่มีความแตกต่างทางพันธุกรรมมากกว่าหนึ่งชนิด เช่น ต้นไม้ที่มีใบด่าง [นิวเคลียร์] |
Spontaneous mutations | การกลายพันธุ์เกิดเอง, การเปลี่ยนแปลงของสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ (DNA) ของเซลล์สิ่งมีชีวิต ที่เกิดขึ้นจากปัจจัยต่างๆ ที่มีอยู่ในธรรมชาติ เช่น แสงแดด อุณหภูมิ หรือเกิดจากความผิดพลาดในกระบวนการสร้างและซ่อมแซมดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิตนั้น [นิวเคลียร์] |
Human Genome Project | โครงการถอดรหัสพันธุกรรมมนุษย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Mutation | การกลายพันธุ์, การกลาย, การเปลี่ยนแปลงของสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ(DNA) ของเซลล์สิ่งมีชีวิตซึ่งสามารถถ่ายทอดไปยังลูกหลานได้, Example: [นิวเคลียร์] |
Mutant | พันธุ์กลาย, ผลจากการกลาย, สิ่งมีชีวิตที่สารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ เกิดการกลายพันธุ์ขึ้นหนึ่งลักษณะหรือมากกว่า สามารถถ่ายทอดไปยังรุ่นถัดไป และสังเกตเห็นผลที่เกิดจากการกลายพันธุ์ได้ [นิวเคลียร์] |
Mutagenesis | กระบวนการกลายพันธุ์, กระบวนการที่เกิดขึ้นเมื่อสารพันธุกรรม หรือ ดีเอ็นเอ ของเซลล์สิ่งมีชีวิตเกิดการเปลี่ยนแปลงไป ทำให้เซลล์นั้นหรือเซลล์ที่เกิดจากการแบ่งตัวของเซลล์ดังกล่าวมีรูปร่างลักษณะหรือพฤติกรรมต่างไปจากเดิม กระบวนการนี้อาจเกิดขึ้นเอง หรือเกิดจากการเหนี่ยวนำโดยสิ่งก่อกลายพันธุ์ ถ้าเกิดที่เซลล์สืบพันธุ์ จะมีการส่งผ่านหรือถ่ายทอดลักษณะผิดปกติไปยังรุ่นถัดไป แต่ถ้าเกิดที่เซลล์ร่างกาย การกลายจะจำกัดเฉพาะที่เนื้อเยื่อส่วนนั้น [นิวเคลียร์] |
Lethal mutation | การกลายถึงตาย, การเปลี่ยนแปลงของสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอของเซลล์สิ่งมีชีวิตส่วนที่ควบคุมกระบวนการทำงานที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตและการพัฒนา แล้วมีผลกระทบทำให้สิ่งมีชีวิตนั้นไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้ หรือเกิดการตายในรุ่นถัดไป [นิวเคลียร์] |
Induced mutation | การกลายพันธุ์จากการเหนี่ยวนำ, การเปลี่ยนแปลงของสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ ของเซลล์สิ่งมีชีวิต โดยการใช้รังสีแกมมา หรือสารเคมีบางชนิด เหนี่ยวนำให้เกิดการกลาย [นิวเคลียร์] |
Hereditary effect | ผลต่อพันธุกรรม, ผลกระทบของรังสีต่อสารพันธุกรรมของเซลล์สืบพันธุ์ของผู้ที่ได้รับรังสี แล้วถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมไปยังรุ่นถัดไป [นิวเคลียร์] |
Biodiversity | ความหลากหลายทางชีวภาพ, ความหลากหลายทางชีวภาพ จัดเป็น ๓ ระดับ ได้แก่ ความหลากหลายทางพันธุกรรม (genetic diversity) ความหลากหลายของชนิดหรือชนิดพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต (species diversity) และความหลากหลายของระบบนิเวศ (ecological diversity) [Assistive Technology] |
Genetic diseases, Inborn ; Genetic disorders ; Hereditary diseases | โรคพันธุกรรม [TU Subject Heading] |
Genetic techniques | เทคนิคพันธุกรรม [TU Subject Heading] |
Genetic transcription | การถอดรหัสพันธุกรรม [TU Subject Heading] |
Genome mapping | แผนที่พันธุกรรม [TU Subject Heading] |
Germplasm resources | ทรัพยากรพันธุกรรม [TU Subject Heading] |
Germplasm resources, Plant | ทรัพยากรพันธุกรรมพืช [TU Subject Heading] |
Heredity | พันธุกรรม [TU Subject Heading] |
Plant genome mapping | แผนที่พันธุกรรมพืช [TU Subject Heading] |
Polymorphism, Genetic | โพลีมอร์ฟิสม์ทางพันธุกรรม [TU Subject Heading] |
Translocation, Genetic | การสลับตำแหน่งในทางพันธุกรรม [TU Subject Heading] |
Genetic effec | ผลต่อพันธุกรรม , ผลกระทบของรังสีต่อสารพันธุกรรมของเซลล์สืบพันธุ์ของผู้ที่ได้รับรังสี แล้วถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมไปยังรุ่นถัดไป [นิวเคลียร์] |
Genotype | ลักษณะสำคัญของพันธุกรรม, Example: คู่ยีนส์ที่อยู่ในตำแหน่งเดียวกัน [สิ่งแวดล้อม] |
Gene | ยีน, ส่วนของดีเอ็นเอทำหน้าที่กำหนดลักษณะทางพันธุกรรมต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต ผ่านการสร้างโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างและกิจกรรมต่างๆ ของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ลักษณะที่ปรากฏภายนอกแบบต่างๆ เช่น รูปร่างหน้าตาของเด็กที่มีส่วนคล้ายกับพ่อแม่ สีสันของดอกไม้ หรือรสชาติของผลไม้ รวมไปถึงลักษณะภายในบางอย่างที่ไม่อาจสังเกตเห็นได้ด้วยตา เป็นผลโดยตรงหรือผลบางส่วน (ร่วมกับสิ่งแวดล้อม) จากการทำงานของยีน [เทคโนโลยีชีวภาพ] |
Abnormalities, Congenital | ความผิดปกติของอวัยวะสืบพันธุ์, ความผิดปกติทางพันธุกรรม, ความผิดปกติเป็นแต่กำเนิด [การแพทย์] |
Abnormalities, Genetic | พันธุกรรมและโครไมโซมที่ผิดปกติ, ความพิการแต่กำเนิด [การแพทย์] |
Achondroplasia | อคอนโดรเพลเซีย; ความผิดปกติของกระดูก; โรคทางพันธุกรรมโดยมีแขนขาสั้นตัวเตี้ย; อะคอนโดรเพลเซีย; อะคอนโดรเพลเซีย, โรค [การแพทย์] |
Angioedema, Hereditary | แองจิโออีดีม่ากรรมพันธุ์, แองจิโออีเดมาที่เกิดจากพันธุกรรม [การแพทย์] |
Cells, Allogeneic | เซลล์ของบุคคลอื่นซึ่งไม่เกี่ยวข้องกัน, เซลล์ที่มีลักษณะทางพันธุกรรมแตกต่างกัน [การแพทย์] |
Coagulation Defects, Hereditary | ความบกพร่องในการแข็งตัวของเลือดที่เป็นพันธุกรรม [การแพทย์] |
Cytoplasmic Inheritance | พันธุกรรมในซัยโตพลาสม [การแพทย์] |
Diabetes, Primary | เบาหวานเกิดจากพันธุกรรม [การแพทย์] |
Endocrinopathies, Heritable | พยาธิภาวะของต่อมไร้ท่อชนิดที่สืบทอดทางพันธุกรรม [การแพทย์] |
Extrachromosomal Inheritance | พันธุกรรมนอกโครโมโซม [การแพทย์] |
Friedreich's Ataxia | โรคอแทกเซียของฟรีไดรช์, โรคพันธุกรรมทางระบบประสาทชนิดมีพยาธิสภาพที่ไขสันหลัง [การแพทย์] |
Fructose Intolerance, Hereditary | ความคงทนฟรุกโตสตามพันธุกรรม [การแพทย์] |
DNA bank | DNA bank, สถานที่เก็บรวบรวมตัวอย่างต่างๆ ที่สามารถนำมาศึกษาต่อทางพันธุกรรมได้, Example: เช่น เนื้อเยื่อ เซลล์ ชิ้นส่วนของอวัยวะ เลือด และสิ่งที่ส่งตรวจในห้องปฏิบัติการ เป็นต้น ในทางปฏิบัติมักพบมีความคาบเกี่ยวระหว่างห้องปฏิบัติการวินิจฉัยและห้อง ปฏิบัติการวิจัย [ชีวจริยธรรม] |
Embryo splitting | Embryo splitting, การโคลนนิ่งตัวอ่อน (embryo cloning) เนื่องจากเป็นการทำให้เกิดตัวอ่อนหลายตัวที่มีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนกัน โดยที่เซลล์ของตัวอ่อนจะถูกแบ่งออกไปตั้งแต่เซลล์ยังอยู่ในระยะที่สามารถ แบ่งตัวเพื่อเกิดตัวอ่อนที่เหมือนกันได้ และเซลล์ที่ถูกแยกไปจะสามารถพัฒนาเป็นตัว [ชีวจริยธรรม] |
genetic research | genetic research, หมายถึงการวิเคราะห์ (analysis) ดีเอ็นเอ อาร์เอ็นเอ โครโมโซม โปรตีน และสารชีวเคมี เพื่อที่จะวินิจฉัยยีนหรือสารพันธุกรรมที่ถ่ายทอดได้ ลักษณะการกลายพันธุ์ ลักษณะที่เป็นผลของยืน (phenotypes) หรือลักษณะของโครโมโซม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหาความชุก อัตราการแสดงออก [ชีวจริยธรรม] |
phamacogenomics | phamacogenomics, เป้าหมายของศาสตร์นี้คือการใช้ข้อมูลด้านพันธุกรรมเพื่อการวินิจฉัยโรค ช่วยในการทำนายความเสี่ยงการเกิดโรคในแต่ละบุคคล และทำให้แพทย์สามารถให้การรักษาผู้ป่วยแต่ละรายได้อย่างเหมาะสม เช่น การกำหนดชนิดและปริมาณยา ตามลักษณะทางพันธุกรรมของผู้ป่วย [ชีวจริยธรรม] |
stem cell lines | stem cell lines, หมายถึงเซลล์ที่มีความคงตัวในด้านพันธุกรรม และไม่สามารถพัฒนาเป็นตัวเต็มวัยได้ [ชีวจริยธรรม] |
deoxyribonucleic acid (DNA) | กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก (ดีเอ็นเอ), กรดนิวคลีอิกชนิดหนึ่ง มีลักษณะโครงสร้างโมเลกุลเป็นเกลียวคู่คล้ายบันไดเวียน เป็นสารพันธุกรรมมีอยู่ในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |