ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ตัวอ่อน, -ตัวอ่อน- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ตัวอ่อน | (n) caterpillar, See also: embryo, Example: ตัวอ่อนของมดซึ่งเกิดจากนางพญาจะได้รับการดูแลเป็นอย่างดี, Count Unit: ตัว, Thai Definition: ทารกในครรภ์, ลูกอ่อนในครรภ์ที่จะเติบโตต่อไป | ตัวอ่อน | (n) caterpillar, See also: embryo, Example: ตัวอ่อนของมดซึ่งเกิดจากนางพญาจะได้รับการดูแลเป็นอย่างดี, Count Unit: ตัว, Thai Definition: ทารกในครรภ์, ลูกอ่อนในครรภ์ที่จะเติบโตต่อไป |
|
| กบ ๒ | น. ชื่อสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกหลายชนิด ในสกุล Rana วงศ์ Ranidae ลำตัวสั้นป้อมมีขนาดต่าง ๆ กัน ขาคู่หลังใหญ่และยาวกว่าขาคู่หน้า ตีนแบนมีพังผืดติดเป็นพืด เมื่อโตเต็มที่ไม่มีหาง กระโดดได้ไกล ว่ายน้ำ ดำน้ำได้เร็ว เมื่อยังเป็นตัวอ่อนมีหาง อยู่ในน้ำเรียกว่า ลูกอ๊อด ภายหลังจึงงอกขา หางหดหายไป แล้วขึ้นอาศัยบนบก หน้าแล้งอยู่แต่ในรู ไม่ออกหาอาหารชั่วคราว เรียกว่า กบจำศีล เช่น กบนา [ Hoplobatrachus rugulosus (Wiegmann) หรือ R. rugulosus (Wiegmann) ]. | กระสือ ๓ | น. ชื่อตัวอ่อนหิ่งห้อยและตัวเต็มวัยหิ่งห้อยเพศเมียที่ไม่มีปีกหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Lampyridae เช่น สกุล Lamprigera, Pyrocoelia, Diaphanesยาวได้ถึง ๑๐ เซนติเมตร อยู่ตามพื้นดิน สามารถทำแสงจากอวัยวะทำแสงที่อยู่ปลายท้องได้ เรียกว่า หนอนกระสือ. (ดู หิ่งห้อย ประกอบ). | ก้ามกราม | น. ชื่อกุ้งชนิด Macrobrachium rosenbergii (De Man) ในวงศ์ Palaemonidae ตัวโต เปลือกสีครามปนเขียว ก้ามใหญ่สีฟ้าหรือสีคราม มีหนาม ไข่ฟักเป็นตัวอ่อนในน้ำกร่อยแล้วมาอาศัยเจริญเติบโตจนเป็นตัวเต็มวัยในน้ำจืด, กุ้งก้ามคราม หรือ กุ้งหลวง ก็เรียก, เพศเมียเรียก กุ้งนาง. | กินูน | น. ชื่อแมลงพวกด้วงหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Scarabaeidae ลำตัวมีขนาดและสีแตกต่างกันแล้วแต่ชนิด ตัวอ่อนอาศัยอยู่ในดินกินรากพืช ตัวเต็มวัยอาศัยอยู่บนต้นไม้กินใบไม้ มักบินเข้าหาแสงไฟ ชาวบ้านในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือนิยมนำมารับประทาน ที่พบบ่อย เช่น ชนิด Anomala antiqueGyllenhal ลำตัวสีดำเหลือบน้ำเงิน ยาว ๑๘-๒๐ มิลลิเมตร ชนิด Sophrops foveatus Moser ลำตัวสีน้ำตาลแดง ยาวประมาณ ๑๕ มิลลิเมตร, แมลงนูน ก็เรียก. | กุ้งนาง | น. กุ้งก้ามกรามเพศเมีย ลำตัวและก้ามมีขนาดเล็กกว่าเพศผู้เสมอเมื่อมีอายุเท่ากัน สีอ่อนกว่ากุ้งก้ามกรามซึ่งเป็นเพศผู้ วางไข่ติดหน้าท้อง ไข่ฟักเป็นตัวอ่อนในน้ำกร่อย แล้วมาอาศัยเจริญเติบโตจนเป็นตัวเต็มวัยในน้ำจืด. | แก้ว ๓ | น. ชื่อหนอนผีเสื้อหลายชนิด ส่วนใหญ่อยู่ในวงศ์ Papilionidae และ Sphingidae ลำตัวอ่อนนุ่ม ยาว ๕-๖ เซนติเมตร ผิวลำตัวเรียบเป็นมัน มีสีต่าง ๆ กัน บางชนิดสีเขียว เขียวอมเหลือง และบางชนิดมีลายเป็นดวง ๆ บางชนิดปล่อยสารใสคล้ายแก้วเมื่อแห้งจะเห็นเป็นทาง เช่น หนอนแก้วส้ม ชนิด Papilio demoleus malayanusWallace, P. polytes romulus Cramer ในวงศ์ Papilionidae หนอนยี่โถ ชนิด Dephnis nerii (Linn.) ในวงศ์ Sphingidae. | ไข่ ๑ | น. ตัวสืบพันธุ์ประกอบด้วยเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย อาหาร และสิ่งห่อหุ้มซึ่งอาจจะเป็นไข่ขาว วุ้น เยื่อถุงไข่ หรือเปลือก ส่วนมากมีรูปร่างกลม จะมีตัวอ่อนภายในหรือไม่ก็ได้, ฟอง ก็เรียก, ลักษณนามว่า ฟอง ลูก หรือ ใบ | ไข่ขาว | น. ส่วนของไข่สัตว์ เช่น ไข่ของนก ไข่ของสัตว์เลื้อยคลาน มีสีขาวใสอยู่รอบ ๆ ไข่แดง เป็นสารโปรตีนทำหน้าที่ป้องกันส่วนที่เป็นเซลล์ของไข่ เวลาเซลล์ของไข่แบ่งตัวเจริญเป็นตัวอ่อน ไข่ขาวจะเป็นอาหารของตัวอ่อนด้วย | ไข่แดง | น. ส่วนของไข่สัตว์ เช่น ไข่ของนก ไข่ของสัตว์เลื้อยคลาน อยู่รอบส่วนที่จะเจริญเป็นตัวอ่อน มักมีสีเหลืองหรือแดง เป็นสารประเภทไขมันที่สะสมไว้สำหรับเลี้ยงตัวอ่อนขณะที่เติบโต. | ครรภ์ไข่ปลาอุก | น. ครรภ์ผิดปรกติที่เซลล์เยื่อหุ้มตัวอ่อนกลายเป็นเนื้องอกในมดลูก มีลักษณะเป็นเม็ดติดกันเป็นพวงคล้ายไข่ปลาอุก. | ครั่ง ๑ | (คฺรั่ง) น. ชื่อเพลี้ยหอยชนิด Kerria lacca (Kerr) ในวงศ์ Kerriidae เพศเมียไม่มีปีก ขณะเป็นตัวอ่อนระยะแรกมีขาและหนวด เคลื่อนไหวได้ เมื่อลอกคราบเวลาต่อมาจะไม่มีขา เกาะอยู่กับที่ดูดกินนํ้าเลี้ยงจากต้นไม้ เช่น จามจุรี และผลิตสารซึ่งเรียกว่า ขี้ครั่ง นำไปใช้ทำประโยชน์ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ หลายอย่าง เช่น เชลแล็ก สีย้อมผ้า. | ชีปะขาว ๒ | น. ชื่อแมลงในอันดับ Ephemeroptera ลำตัวอ่อนนิ่มบอบบางสีขาว หนวดสั้นมากมองเกือบไม่เห็น ปีกบางใสรูปสามเหลี่ยม มีเส้นปีกมากมาย เมื่อเกาะปีกจะตั้งตรง ที่ปลายท้องมีหางยาวคล้ายเส้นด้าย ๒-๓ เส้น เมื่อถูกรบกวนจะปล่อยของเหลวเหนียวสีขาวขุ่น เช่น ชนิด Ephemeraspp . ในวงศ์ Ephemeridae, ชีผ้าขาว ชีผะขาว หรือ สับปะขาว ก็เรียก. | ดอกไม้ทะเล | น. ชื่อสัตว์ทะเลไม่มีกระดูกสันหลังหลายชนิด ในอันดับ Actininaria ลำตัวอ่อนนุ่ม รูปทรงกระบอก ยืดหดได้ ด้านหนึ่งเป็นฐานสำหรับยึด ด้านตรงข้ามเป็นช่องปาก มีหนวดมาก เมื่อยืดตัวออกคล้ายดอกไม้บาน เมื่อหดตัว เรียก สะดือทะเล, ดากทะเล หรือ เห็ดหลุบ ก็เรียก. | ดักแด้ ๑ | น. ชื่อตัวอ่อนระยะสุดท้ายของแมลงหลายชนิด มีรูปร่างเปลี่ยนไปจากตัวหนอน บางชนิดสร้างปลอกหุ้มตัวรูปร่างแตกต่างกัน เช่น รูปไข่ รูปกลม รูปกระสวย ทำด้วยเส้นใย เศษใบไม้ หรือดิน เพื่อเจริญไปเป็นตัวเต็มวัย ระยะนี้อยู่กับที่ไม่กินอาหาร, แดกแด้ หรือ แด็กแด้ ก็เรียก. | ดา ๑, ดานา | น. ชื่อแมลงพวกมวน Lethocerus indicus (Lepeletier & Serville) ในวงศ์ Belostomatidae ปากสั้นแหลมคม ลำตัวกว้าง รูปไข่ แบนลง ความยาวจากหัวถึงปลายปีก ๖-๘ เซนติเมตร ปีกสีน้ำตาลแก่หรือน้ำตาลอมเขียว ขาคู่หน้าแข็งแรงใช้จับเหยื่อ เจาะดูดกินของเหลวจากเหยื่อเป็นอาหาร ตัวอ่อนอยู่ในน้ำ ตัวเต็มวัยมักบินเข้าหาแสงไฟ ตัวผู้มีต่อมกลิ่นนิยมนำไปผสมอาหาร, แมลงดา หรือ แมลงดานา ก็เรียก. | ดาโป้งเป้ง | น. ชื่อแมลงพวกมวนหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Nepidae ที่พบบ่อยอยู่ในสกุล Laccotrephesเช่น ชนิด L. ruberLinn. และ L. robustus Stål ลำตัวยาว ๓-๔ เซนติเมตร มีหางยาวยื่นออกมา ๒ เส้น ตัวอ่อนอยู่ในน้ำ ขาคู่หน้าแข็งแรง จับสัตว์น้ำขนาดเล็กเช่นลูกน้ำหรือดักแด้ยุงกิน, มวนแมงป่องน้ำ หรือ แมลงดาโป้งเป้ง ก็เรียก, พายัพเรียก ดากลั้นเยี่ยว หรือ ดาเยี่ยว, อีสานเรียก แมงฮอด อีงอด งอดน้ำ หรือ กะโซ่น้ำ, ปักษ์ใต้เรียก แมลงจิ้มฟันจระเข้ หรือ แมลงดาขี้ควาย. | ดาสวน | น. ชื่อแมลงพวกมวนชนิด Sphaerodema rusticum (Fabricius) และ S. molestum (Dufour) ในวงศ์ Belostomatidae ลักษณะคล้ายแมลงดานาแต่ตัวเล็กกว่ามาก ลำตัวยาวประมาณ ๑.๕ เซนติเมตร ตัวอ่อนอยู่ในน้ำ กินแมลงหรือสัตว์น้ำขนาดเล็ก ตัวเต็มวัยมักบินเข้าหาแสงไฟ เพศเมียวางไข่บนหลังเพศผู้เป็นกลุ่มยึดติดกันด้วยสารเหนียว นำมาคั่วกับเกลือกินได้, แมลงดาสวน สีเสียด แมลงสีเสียด มวนหลังไข่ หรือ มวนก้าน ก็เรียก | ตัวจี๊ด | น. ชื่อพยาธิตัวกลมชนิด Gnathostoma spinigerum Owen ในวงศ์ Gnathostomatidae ลำตัวสีแดง ยาว ๑๐-๕๐ มิลลิเมตร ตัวเต็มวัยพบในกระเพาะของสุนัข แมว และเสือ ตัวอ่อนพบในปลา ไก่ กบ หรือสัตว์เลื้อยคลาน ติดต่อถึงคนได้ เมื่อกินเนื้อสัตว์เหล่านี้ที่ยังดิบซึ่งมีตัวอ่อนของพยาธิชนิดนี้อยู่ ตัวอ่อนเมื่ออยู่ในคนสามารถเคลื่อนตัวไปตามเนื้อเยื่อส่วนต่าง ๆ ได้ อาจเป็นตุ่มนูนขึ้นมาตามผิวหนัง ทำให้บวมและปวด, หนอนด้น ก็เรียก. | ตัวตืด | น. ชื่อพยาธิหลายชนิดหลายวงศ์ ในชั้น Cestoda ตัวแบนเป็นปล้องเรียงต่อกันเป็นแถบยาว หัวมีอวัยวะใช้เกาะยึด ถัดมาลำตัวเป็นปล้อง จำนวนปล้องแตกต่างกันไป มีตั้งแต่ ๒-๓ ปล้อง จนถึง ๑, ๐๐๐ ปล้อง ปล้องท้ายสุดเกิดก่อน ปล้องถัดจากคอเกิดหลังสุด มักอาศัยดูดอาหารในลำไส้ของมนุษย์และสัตว์มีกระดูกสันหลัง ทำให้เป็นโรคโลหิตจาง ถ้ามีจำนวนมากจะไปกั้นทางเดินอาหาร ทำให้ปวดท้องอย่างรุนแรง ชนิดที่อยู่ในคน เช่น ชนิด Taenia solium Linn. ซึ่งตัวอ่อน เรียก เม็ดสาคู อยู่ในเนื้อหมู ชนิด T. saginata Goeze ซึ่งตัวอ่อนอยู่ในเนื้อวัว, ทั้ง ๒ ชนิดอยู่ในวงศ์ Taeniidae และเป็นพยาธิในลำไส้เล็กของมนุษย์และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมบางชนิด. | น้ำนอง ๑ | น. ชื่อปลวกหลายชนิด หลายสกุล และหลายวงศ์ ในอันดับ Isoptera ลำตัวสีดำหรือนํ้าตาลแก่ อาศัยอยู่ใต้ดิน เมื่อมีนํ้านองเกิดตะไคร่ขึ้น พอนํ้าลดจะเดินเป็นขบวนเพื่อมากินตะไคร่และคาบไปเลี้ยงตัวอ่อน จึงเห็นตัวเฉพาะในเวลานํ้านอง เช่น ชนิด Hospitalitermes medioflavusHolmgren, H. asahinaiMorimoto, H. birmanicus Snyder ในวงศ์ Termitidae. | ปอ ๓ | น. ชื่อแมลงอันดับย่อย Anisoptera ในอันดับ Odonata หัวและอกสั้นป้อม ส่วนท้องแคบยาว หนวดสั้นเล็กมองคล้ายขน ตาโตใหญ่ ๒ ข้างอยู่ชิดกัน ปีก ๒ คู่บางใส เส้นลายปีกเป็นร่างแห โคนปีกคู่หลังแผ่กว้าง ปีกคู่หลังใหญ่กว่าปีกคู่หน้า มีสีแตกต่างกันตามชนิด เมื่อเกาะปีกกางขนานกับพื้น ตัวอ่อนอยู่ในน้ำ กินสัตว์น้ำขนาดเล็ก เช่น ชนิด Crocothemis servilia (Drury) ในวงศ์ Libellulidae, แมลงปอ ก็เรียก. | ปากจอบ | น. ชื่อสัตว์เลื้อยคลานจำพวกจิ้งเหลน ชนิด Isopachys gyldenstolpei Lönnberg ในวงศ์ Scincidae ปลายปากบนยื่นยาวกว่าปากล่าง ลักษณะแบนกว้างคล้ายจอบ ตัวกลมเป็นมัน สีนํ้าตาลเหลืองลายดำ ไม่มีขา หางสั้น ปลายตัด อาศัยตามดินร่วนหรือดินปนทราย กินตัวอ่อนแมลงและสัตว์ขนาดเล็ก, จิ้งเหลนด้วงหางลาย ก็เรียก. | มด ๑ | น. ชื่อแมลงหลายชนิดในวงศ์ Formicidae ส่วนท้องปล้องที่ ๑ หรือปล้องที่ ๑ และปล้องที่ ๒ ที่ติดกับอกคอดกิ่ว ด้านหลังส่วนที่คอดมีโหนกนูน ลักษณะนี้ทำให้มดแตกต่างไปจากต่อ แตน และปลวก มีรูปร่าง ลักษณะ สี และกลิ่นแตกต่างกันตามชนิด เดินกันเป็นทางเพื่อขนอาหาร หรือย้ายรัง เป็นแมลงสังคม ทำรังอยู่เป็นกลุ่ม แบ่งชั้นวรรณะเป็นมดนางพญา มดผู้ และมดงาน มดงานเป็นมดเพศเมียที่เป็นหมันทำหน้าที่สร้างรัง เลี้ยงดูตัวอ่อน และหาอาหาร บางชนิดเมื่อถูกรบกวนจะป้องกันตัวโดยใช้อวัยวะต่อยปล่อยกรดหรือกัดให้เกิดแผลและปล่อยกรดออกมาทำให้เกิดอาการระคายเคืองหรือทำให้เจ็บปวดได้. | เม็ดสาคู | น. ชื่อตัวอ่อนของพยาธิตัวตืดหมู ชนิด Taenia Solium Linn. ในวงศ์ Taeniidae ฝังตัวอยู่ในอวัยวะต่าง ๆ ของหมู ลักษณะเป็นถุงรูปคล้ายเม็ดสาคู ภายในมีหัวของตัวตืด. | แมลงช้าง | น. ชื่อแมลงหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Myrmeleontidae มีปีก ๒ คู่ใสคล้ายแมลงปอ มีหนวดยาว ๑ คู่ ตัวอ่อนมีขากรรไกรหน้าเรียก เขี้ยว ยาวโค้งคล้ายงาช้าง อาศัยตามพื้นดินที่เป็นฝุ่นหรือทรายที่แห้งโดยฝังตัวอยู่ในหลุมซึ่งขุดเป็นรูปกรวยเพื่อล่อให้มดหรือสัตว์ขนาดเล็กตกลงไปแล้วจับกิน เช่น แมลงช้างในสกุล Myrmeleon และในสกุล Palpares วงศ์ Mymeleontidae, ตุ้ม หรือ ตุ๊ดตู่ ก็เรียก. | แย้ ๑ | น. ชื่อสัตว์เลื้อยคลานในวงศ์ Uromastycidae ลำตัวแบนราบคล้ายกิ้งก่า ยาวประมาณ ๑๖ เซนติเมตร ข้างตัวมีสีสวย ไม่มีหนามสันหลัง อาศัยขุดรูอยู่ในดิน หากินตามพื้นดิน กินพืชและตัวอ่อนแมลง ไม่ขึ้นต้นไม้ ในประเทศไทยที่พบแล้วมี ๔ ชนิด คือ ชนิด Leiolepis belliana (Hardwick & Gray), L. reevesii (Gray), L. triploida Peters และ L. boehmei Darevski & Kupriyanova. | ริวกิว | น. ชื่อปลาทะเลหรือน้ำกร่อย ชนิด Arius thalassinus (Rüppell) ในวงศ์ Ariidae ลำตัวกลม ยาว ท้องแบน ปลายจะงอยปากมนในปลาขนาดเล็ก และแหลมป้านในปลาขนาดโต ด้านบนของหัวและลำตัวมีสีน้ำตาลอ่อนปนแดง หรือฟ้าอมเทา ตัวผู้มีพฤติกรรมฟักไข่และดูแลตัวอ่อนโดยอมไว้ในช่องปาก พบห่างฝั่งมากกว่าปลากดชนิดอื่น ๆ ขนาดยาวได้ถึง ๑.๘๕ เมตร, กดทะเล กดโคกกะโส เลียวเซียว ลู่ทู่ กด หรือ อุก ก็เรียก.(ดู กด และ อุก). | เรือดไม้ | น. ชื่อแมลงหลายชนิดหลายสกุล ในอันดับ Psocoptera ขนาดเล็กมาก ตัวยาว ๑-๒ มิลลิเมตร ลำตัวอ่อนมาก มักมีสีขาว อาจพบได้ทั้งชนิดมีปีกและไม่มีปีก ชนิดมีปีก ปีกมี ๒ คู่ เป็นแผ่นบางใส ขณะหุบปีกคลุมตัวเป็นรูปคล้ายหลังคา อาศัยอยู่ตามกองกระดาษ หนังสือ เศษขยะเก่า ๆ ในบ้าน ที่เก็บของในพิพิธภัณฑ์ต่าง ๆ ตามเปลือกไม้หรือบริเวณตามตะไคร่นํ้านอกบ้าน ที่อยู่ตามหนังสือเรียก เหาหนังสือ เช่น ชนิด Psocatropos microps (Enderlein) ในวงศ์ Psyllipsocidae, เลือดไม้ หรือ เหาไม้ ก็เรียก. | ลูกอ๊อด | น. ตัวอ่อนของกบ คางคก เป็นต้น ที่เพิ่งออกจากไข่ ตัวกลม ๆ มีหางแหลม ส่วนใหญ่จะมีสีดำหรือสีน้ำตาล หายใจด้วยเหงือก. | หนอน ๑ | (หฺนอน) น. ชื่อตัวอ่อนของแมลงหลายชนิดเมื่อฟักออกจากไข่ มีลักษณะอ่อนนุ่ม ลำตัวเป็นปล้อง มีรูปร่างหลายแบบ ส่วนใหญ่เป็นรูปทรงกระบอก มีขาหรือไม่มีขา เคลื่อนที่โดยการเดินหรือคืบคลาน. | หมอเทศ | น. ชื่อปลาน้ำจืดชนิด Oreochromis mossambicus (Peters) ในวงศ์ Cichlidae ลักษณะคล้ายปลานิล คือ ลำตัวป้อม แบนข้าง แนวสันหลังโค้งมากกว่าแนวสันท้อง ลำตัวและครีบมีสีเทาปนดำแต่จางลงจนเป็นสีน้ำตาลที่ด้านข้างและอมเหลืองที่ท้อง ตัวผู้มีสีเข้มกว่าและโตกว่าตัวเมียและมีพฤติกรรมในการทำรังเป็นหลุมคล้ายท้องกระทะที่พื้นท้องน้ำ ตัวเมียทำหน้าที่ฟักไข่ที่ผสมแล้วและดูแลตัวอ่อนโดยการอมไข่ไว้ในช่องปาก มีประวัติของถิ่นกำเนิดอยู่ในทะเลสาบทวีปแอฟริกา นำเข้ามาเลี้ยงเป็นอาหารจนแพร่หลาย อยู่ในน้ำกร่อยได้ ขนาดยาวได้ถึง ๓๖ เซนติเมตร. | หมาร่า | น. ชื่อแมลงพวกต่อหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Sphecidae และ Eumenidae ลักษณะแตกต่างจากต่อ ในวงศ์ Vespidae คือปล้องต้น ๆ ของส่วนท้องมีส่วนคอดยาวกว่า ใช้ดินเหนียวทำรังขนาดเท่ากำปั้นหรือเล็กกว่าติดตามกิ่งไม้หรือตามที่อยู่อาศัยของคน ในรังส่วนใหญ่มีหนอนหรือแมลงลำตัวอ่อนนุ่มที่ถูกต่อยจนเป็นอัมพาตเพื่อเก็บไว้เป็นอาหารของตัวอ่อน เช่น ชนิด Sceliphron javanum (Lepeletier) ในวงศ์ Sphecidae และชนิด Eumenes esuriens Fabricius ในวงศ์ Eumenidae. | เห็บ ๑ | น. ชื่อแมงสัตว์ขาปล้องหลายชนิด หลายสกุล หลายวงศ์ อันดับ Aearina มีขา ๘ ขา ลักษณะทั่วไปคล้ายไร แต่ส่วนใหญ่มักโตกว่า และปากมีลักษณะเป็นแท่ง มีหนามโค้งเล็ก ๆ กระจายอยู่รอบปลายปาก แผ่นแข็งของรูหายใจอยู่บริเวณด้านข้างของลำตัวเรียงกันเลยโคนขาคู่ที่ ๔ มีทั้งชนิดที่มีผนังลำตัวแข็งและผนังลำตัวอ่อน เป็นตัวเบียนดูดกินเลือดสัตว์ และเป็นพาหะนำโรค เช่น เห็บวัว (Boophilus caudatus Neumann) เห็บสุนัข [ Rhipicephalus sanguineus (Latreille.) ] ทั้ง ๒ ชนิดอยู่ในวงศ์ Ixodidae. | เอ็มบริโอ | (-บฺริ-) น. ตัวอ่อนของสัตว์หรือต้นอ่อนของพืชที่ยังไม่เจริญเติบโตจนถึงขั้นที่มีอวัยวะครบบริบูรณ์. |
| schizont | ๑. ระยะชิซอนต์๒. ตัวอ่อนระยะชิซอนต์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | cyst, hydatid | ถุงน้ำตัวอ่อนตัวตืด [ มีความหมายเหมือนกับ hydatid ๑ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | embryo | ตัวอ่อน, เอ็มบริโอ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | hydatid | ๑. ถุงน้ำตัวอ่อนตัวตืด [ มีความหมายเหมือนกับ cyst, hydatid ]๒. รูปคล้ายถุง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | hydatid cyst | ถุงน้ำตัวอ่อนตัวตืด [ มีความหมายเหมือนกับ hydatid ๑ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Embryo transplantation | การย้ายฝากตัวอ่อน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Cercariae | ตัวอ่อนพยาธิใบไม้ระยะเซอร์คาเรีย [TU Subject Heading] | Embryo transfer | การย้ายฝากตัวอ่อน [TU Subject Heading] | Larvae | ตัวอ่อน [TU Subject Heading] | Embryonic Stem Cell Line | กลุ่มเซลล์ต้นตอจากตัวอ่อน, Example: เซลล์ต้นตอจากตัวอ่อนที่ถูกเพาะเลี้ยงในห้องทดลอง โดยมีการควบคุมให้มีการแบ่งตัวเพิ่มจำนวนเป็นระยะเวลาหลายเดือนโดยที่ยังคงสภาพเป็นเซลล์ที่ไม่จำเพาะ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Germ Layers | ชั้นเนื้อเยื่อตัวอ่อน, Example: การปฏิสนธิของไข่จะก่อให้เกิดการแบ่งตัวของเซลล์ และเซลล์ที่แบ่งตัวสร้างตัวเองเพิ่มขึ้นนี้จะรวมตัวกันเกิดเป็นโครงสร้างที่มีลักษณะเป็นชั้นจำนวน 3 ชั้นได้แก่ เอกโตเดิร์ม (Ectoderm) มีโซเดิร์ม(Mesoderm) และเอนโดเดิร์ม (Endoderm) ซึ่งเรียกชั้นเหล่านี้ว่า ชั้นเนื้อเยื่อตัวอ่อน (Germ Layers) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Human Embryonic Fibroblasts | ไฟโบรบลาสจากตัวอ่อนมนุษย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Embryo transplantation | การย้ายฝากตัวอ่อน [TU Subject Heading] | Embryonic Stem Cells | เซลล์ต้นตอจากตัวอ่อน, Example: เซลล์ต้นตอจากตัวอ่อนซึ่งได้รับมาจากตัวอ่อนที่มีอายุประมาณ 5 วัน ก่อนจะฝังตัวเข้าไปในมดลูก เซลล์ต้นตอชนิดนี้มีคุณสมบัติในการเปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์ชนิดจำเพาะได้หลายชนิด [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Human Embryonic Stem Cells | เซลล์ต้นตอจากตัวอ่อนมนุษย์, Example: เซลล์ต้นตอที่สกัดแยกมาจากมวลเซลล์ชั้นในของบลาสโตซิสต์ และเซลล์ต้นตอชนิดนี้มีคุณสมบัติเป็นพลูริโพเทนท์ (Pluripotent) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Differentiation | กระบวนการที่เซลล์ชนิดไม่จำเพาะจากตัวอ่อน เปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์ที่มีคุณสมบัติเฉพาะ, Example: เช่น เซลล์หัวใจ เซลล์ตับ หรือเซลล์กล้ามเนื้อ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Trophoblast | เนื้อเยื่อชั้นนอกสุดของตัวอ่อน, Example: ซึ่งทำหน้าที่เกี่ยวกับการฝังตัวลงในผนังมดลูก (Implantation) และจะพัฒนาเปลี่ยนไปเป็นรก (Placenta) นอกจากนี้ยังทำหน้าที่เกี่ยวกับการควบคุมการแลกเปลี่ยนออกซิเจน และสารเคมีที่จำเป็นในการทำงานของระบบเมตาบอลิซึมระหว่างแม่กับตัวอ่อน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Blastocyst | ตัวอ่อนซึ่งเป็นระยะก่อนที่จะฝังตัวกับมดลูก, Example: โดยประกอบด้วยเซลล์ประมาณ 150 เซลล์ ซึ่งเกิดจากการแบ่งตัวหลังจากการปฏิสนธิ บลาสโตซิสต์จะมีลักษณะเป็นทรงกลมและประกอบด้วยโครงสร้างสามส่วน ซึ่งได้แก่ โทรโฟบลาส (Trophoblast) เป็นโครงสร้างชั้นนอกสุดของเซลล์ บลาสโตซีล (Blastocoel) เป็นโครงสร้างชั้นในมีลักษณะเป็นช่องกลวง และมวลเซลล์ชั้นใน (Inner Cell Mass) เป็นกลุ่มเซลล์ซึ่งอยู่ที่ปลายด้านหนึ่งของบลาสโตซีล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Blastocoel | โครงสร้างที่มีลักษณะเป็นช่องกลวงอยู่ภายในบลาสโตซิสต์ของตัวอ่อน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Mesoderm | โครงสร้างชั้นกลางของชั้นเนื้อเยื่อตัวอ่อน (Germ Layers) ซึ่งพัฒนาเกิดมาจากมวลเซลล์ชั้นในของบลาสโตซิสต์, Example: มีโซเดิร์มจะพัฒนาไปเป็นกระดูก กล้ามเนื้อ เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ไต และอวัยวะที่เกี่ยวข้อง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Amniotic Cavity | ถุงน้ำที่หุ้มตัวอ่อน [การแพทย์] | Amniotic Sac | ถุงน้ำหล่อตัวอ่อน, ถุงแอมเนียน, ถุงน้ำหล่อเลี้ยงเด็ก, ถุงหุ้มตัวเด็ก, ถุงน้ำคร่ำ [การแพทย์] | Atonic | ชักตัวอ่อน [การแพทย์] | Blast Cells | เม็ดเลือดขาวตัวอ่อน, เซลล์ของบลาสต์, เซลล์อ่อน [การแพทย์] | Blast Transformation | การเปลี่ยนแปลงรูปร่างเป็นเซลล์บล๊าส, เปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์ตัวอ่อน [การแพทย์] | Blasts | เซลล์ตัวอ่อน [การแพทย์] | Cells, Embryonal | เซลล์ตัวอ่อน [การแพทย์] | Chick Embryo | เอ็มบริย์โอไก่, เอ็มบริโอไก่, ตัวอ่อนของไก่ [การแพทย์] | Chorionic Villi, Young | คอริโอนิควิลไลตัวอ่อน [การแพทย์] | Cysticercosis | ซิสติเซอโคสิส;ซิสติเซอร์โคซิส;มีตัวอ่อนอยู่ในเนื้อเยื่อ;ซิสติเซอร์โคซิส;ซีสติคเซอโคซีส;ซิย์สติเซอร์โคซิส;ซิสติเซอโคซิส, โรค [การแพทย์] | Eggs, Embryonated | ตัวอ่อนระยะแรกซึ่งเจริญเต็มที่อยู่ภายในไข่, ไข่ซึ่งมีตัวอ่อนอยู่ภายใน, ไข่ฟัก, ไข่ฟักที่มีตัวอ่อน [การแพทย์] | Eggs, Unembryonated | ไข่ยังไม่มีตัวอ่อน [การแพทย์] | Embryo | ตัวคัพภ, เอ็มบริย์โอ, เอ็มบริโอ, ตัวอ่อน, คัพภ, ตัวคัพภะ, ตัวอ่อนในครรภ์มารดา, คัพภะ, ทารกในครรภ์ที่ยังเป็นตัวอ่อน, เอมไบรโอ, ทารกในครรภ์, ตัวอ่อนในครรภ์, ทารกขณะอยู่ในครรภ์ [การแพทย์] | Embryocidal Agents | สารที่ออกฤทธิ์ทำลายตัวอ่อน [การแพทย์] | Embryogenesis | การสร้างตัวอ่อน, การเจริญของตัวอ่อนในครรภ์ [การแพทย์] | Embryonic Phase | ระยะเป็นตัวอ่อน [การแพทย์] | Embryonic Rest | เนื้องอกเกิดจากเนื้อเยื่อตัวอ่อน, ส่วนเหลือของเอมบริโอ [การแพทย์] | Embryotoxic | พิษต่อตัวอ่อน [การแพทย์] | Fetal Circulation | การไหลของเลือดตัวอ่อนในครรภ์ [การแพทย์] | Fetal Resorption | การดูดกลืนตัวอ่อน, การตายของลูกหนูในครรภ์ [การแพทย์] | Fetus | เด็กในครรภ์, ตัวอ่อนในครรภ์มารดา, ทารกในครรภ์, ทารกอยู่ในครรภ์มารดา, ตัวอ่อน, ฟีตัส, ฟีทัส, ทารกในครรภ์มารดา, ทารก [การแพทย์] | Filariform Larva | ตัวอ่อนระยะที่3 [การแพทย์] | Floppy | อาการตัวอ่อน [การแพทย์] | Flukes, Juvenile | พยาธิตัวอ่อน [การแพทย์] | embryo | embryo, ระยะการพัฒนาของตัวอ่อนที่อยู่ในช่วงระหว่าง 9 สัปดาห์หลังจากปฏิสนธิ ต่อเนื่องจากเซลล์ตัวอ่อนระยะที่พัฒนาไปเป็นเซลล์ใดก็ได้ (totipotent cell) กลายเป็นตัวอ่อนที่มีอวัยวะพื้นฐาน ระยะตัวอ่อนนี้รวมถึงระยะ zygote blastocyst และ pre-embryo [ชีวจริยธรรม] | embryo banks | embryo banks, ธนาคารตัวอ่อน [ชีวจริยธรรม] | Embryo splitting | Embryo splitting, การโคลนนิ่งตัวอ่อน (embryo cloning) เนื่องจากเป็นการทำให้เกิดตัวอ่อนหลายตัวที่มีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนกัน โดยที่เซลล์ของตัวอ่อนจะถูกแบ่งออกไปตั้งแต่เซลล์ยังอยู่ในระยะที่สามารถ แบ่งตัวเพื่อเกิดตัวอ่อนที่เหมือนกันได้ และเซลล์ที่ถูกแยกไปจะสามารถพัฒนาเป็นตัว [ชีวจริยธรรม] | embryonic stem cell | embryonic stem cell, สเต็มเซลล์ที่ได้จากตัวอ่อนระยะแรกๆ มักได้มาจากตัวอ่อนหลังจากปฏิสนธิจนถึง 14 วัน ซึ่งเซลล์เหล่านี้สามารถเปลี่ยนแปลงกลายเป็นเซลล์ชนิดอื่นๆ เนื่องจากเซลล์จะยังคงคุณสมบัติในการเปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์ชนิดต่าง ๆ ได้ เซลล์เหล่านี้สามารถพัฒนาไปเป็นสิ่งมีชีวิต [ชีวจริยธรรม] | fetal germ stem cells | fetal germ stem cells, สเต็มเซลล์ที่ได้มาจากเซลล์สืบพันธ์ (primordial germ cell) ของทารกในครรภ์ระยะแรกก่อนที่จะกลายไปเป็นไข่หรืออสุจิ เซลล์นี้จะได้มาจากเนื้อเยื่อของตัวอ่อนที่เกิดการแท้งระหว่างการตั้งครรภ์ระยะแรก [ชีวจริยธรรม] | Gene cloning | Gene cloning, การทำสำเนายีนให้มีประมาณเพิ่มขึ้น การโคลนนิ่งชนิดนี้ไม่ได้เกี่ยวข้องโดยตรงกับการวิจัยเกี่ยวกับสเต็มเซลล์ ที่ได้จากตัวอ่อน (embryonic stem cell research:ESCR) ไม่ใช่การทำโคลนนิ่งตัวอ่อนทั้งตัว เพียงแต่อาจเป็นการสอดใส่ยืนที่ต้องการเข้าไปในตัวอ่อนหรือสเต็มเซลล์ [ชีวจริยธรรม] | human embryos | human embryos, ตัวอ่อนมนุษย์ [ชีวจริยธรรม] | Pre-embryo | Pre-embryo, คือตัวอ่อนระยะในการพัฒนาในช่วง 14 วัน หลังการปฏิสนธิ [ชีวจริยธรรม] | zygote | zygote, ไข่ที่ได้รับการผสมกับอสุจิ หรือคือไข่ที่ได้รับการผสมกับอสุจิ หรือตัวอ่อนที่มีเซลล์เพียงเซลล์เดียวหลังการปฏิสนธิ [ชีวจริยธรรม] | larva | ตัวอ่อน, สัตว์ในระยะแรกที่ออกจากไข่ของสัตว์ซึ่งเจริญแบบมีเมทามอร์โฟซิส ตัวอ่อนจะมีรูปร่างลักษณะแตกต่างไปจากเมื่อโตเต็มวัย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | amnion | ถุงน้ำคร่ำ, ถุงหุ้มเอ็มบริโอของสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังชั้นสูง มีลักษณะเป็นเยื่อบาง ๆ ภายในถุงมีของเหลวบรรจุอยู่ ทำหน้าที่ป้องกันตัวอ่อนจากการกระทบกระเทือน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
| The body mistakenly identifies the embryo... as an unwanted foreign substance... and creates antibodies to fight and reject it. | ตัวอ่อนเป็นวัตถุแปลกปลอมที่ไม่ต้องการ และสร้างแอนติบอดี้มาต่อสู้ และขับมันออก Junior (1994) | There's plenty of room to hold the embryo through the first trimester. | มีที่ว่างพอจะฝังตัวอ่อนได้สามเดือน Junior (1994) | So embryo three is entering its two-to-four stage. | ตัวอ่อนหมายเลขสามเข้าสู่ภาวะที่สองจากสี่ Junior (1994) | Just stop taking the Expectane. | แค่หยุดทานเอ็กซ์เพกเทน ตัวอ่อนก็หลุดออกมาแล้ว Junior (1994) | Hang in there | อย่าทำตัวอ่อนแออย่างนั้นสิ Crying Out Love in the Center of the World (2004) | You could say he's kind of like a larva. | เหมือนยังเป็นตัวอ่อนอยู่ Final Fantasy VII: Advent Children (2005) | Larva? | ตัวอ่อน? Final Fantasy VII: Advent Children (2005) | When a woman comes here for an exam, We implant a cloned embryo | เมื่อมีผู้หญิงมารับการตรวจ เราจะปลูกถ่ายตัวอ่อนโคลนไว้ในตัวเธอ Æon Flux (2005) | You wanna take Cracker Jack with you? He's very flexible. | นายอยากพาแคร็กเกอร์แจ็คไปด้วยมั้ย เขาตัวอ่อนมากนะ Four Brothers (2005) | Squished insect larva. Protein. | ตำตัวอ่อนแมลง โปรตีน Rescue Dawn (2006) | When did you start bending over for the big boys? | นี่คุณเริ่มทำตัวอ่อนน้อม กับพวกนั้นตั้งแต่เมื่อไหร่ Hollow Man II (2006) | Uh, prior to implantation, our embryo was accidentally switched with another client's. | ก่อนที่จะทำการฝังตัวอ่อน ตัวอ่อนของคุณเกิดสับเปลี่ยนกับลูกค้าคนอื่น It Takes Two (2006) | No, I'm afraid your embryo didn't take. | ไม่ ผมเกรงว่าตัวอ่อนของคุณไม่ได้ถูกนำไปใช้ It Takes Two (2006) | And her even more limber friend | กับเพื่อนที่ตัวอ่อนยิ่งกว่า Go Your Own Way (2008) | And he comes off really slick, and then he turns around and he's all sensitive and caring about people. | และเขากลบเกลื่อนมันได้ลื่นมาก แต่แล้วเขากลับ ทำตัวอ่อนไหวและห่วงใยผู้คน All in the Family (2008) | And ten pounds of live insect larvae, | กับกล่องเก็บตัวอ่อนแมลง 10 อัน The Dreamscape (2008) | This is where they implanted the embryos, but this isn't where the actual cloning would take place. | นี่เป็นที่เขาฝังตัวอ่อน แต่ไม่ใช่ สถานที่จริงๆที่ ใช้ในการทำโคลนนิ่ง Resurrection (2008) | "Why choose to do the embryo implanting here?" | "ทำไมจึงเลือก ฝังตัวอ่อนเด็ก ที่นี่"? Resurrection (2008) | They're like embryonic stem cells. They become whatever they want. | พวกมันเหมือนตัวอ่อนของสเตมเซล พวกมันเป็นแบบที่พวกมันต้องการ Not Cancer (2008) | It's a viral infection. It can infect the fetus. | มันติดเชื้อไวรัส มันสามารถติดต่อไปยังตัวอ่อนได้ Joy (2008) | Yank the fetus. If she survives the surgery, she'll be fine. | โยกคลอนตัวอ่อน.ถ้าเธอรอด จากการผ่าตัด เธอจะหาย Dying Changes Everything (2008) | Fetuses have been transplanted before. Whole uteruses too. | ตัวอ่อนถูกปลูกถ่ายก่อนมดลูกทั้งหมด Dying Changes Everything (2008) | Just terminating the fetus when it's glued to her intestines is high-risk surgery. | แค่ทำลายตัวอ่อน เมื่อมันติดกับลำไส้เธอ เป็นการผ่าตัดที่มีความเสี่ยงมาก Dying Changes Everything (2008) | Removing the fetus. | ย้ายตัวอ่อน Dying Changes Everything (2008) | The patient's joints don't hurt, abdominal pain went away when the fetus did, and no palpable lymph nodes. | คนไข้ไม่เจ็บข้อ อาการปวดท้องจะหายไปเมื่อตัวอ่อน และคลำไม่พบว่าต่อมน้ำเหลืองโต Dying Changes Everything (2008) | As a fetus, Aurora learned to process information... just like a computer. | ขณะที่เป็นตัวอ่อนออโรร่า.. เรียนรู้การประมวลผลข้อมูลต่างๆ แบบเดียวกันกับคอมพิวเตอร์ Babylon A.D. (2008) | She was just a vessel... a prototype that wasn't built to last. | เธอเป็นแค่ท่อทางผ่าน.. ให้.. ตัวอ่อนต้นแบบ.. Babylon A.D. (2008) | I remember you used to be really loose and limber. | ผมจะได้ว่าคุณเคยตัวอ่อนนี่นา New York, I Love You (2008) | - I didn't mean loose like... - I know what you're saying. | ผมไม่ได้หมายถึงตัวอ่อน แบบ ทีนี้คุณจะพูดอะไรอีกล่ะ New York, I Love You (2008) | Without more Energon, hatchlings will keep dying. | ไม่มีเอ็นเนอร์จอนเพิ่ม ตัวอ่อนก็จะตายไปเรื่อยๆ Transformers: Revenge of the Fallen (2009) | ...gestating in that inside of you. | ...ตัวอ่อนของเอี่ยนจะฟักออกมาจากตัวนาย. Transformers: Revenge of the Fallen (2009) | But now, thanks to you, we're safe to grovel before every petty tyrant who enters our system. | แต่ตอนนี้ ขอบคุณท่านมาก พวกเราปลอดภัยพอที่จะทำตัวอ่อนน้อม ต่อไอ้พวกทรราชต่ำช้าทุกคนที่เข้ามาในระบบดาวของเรา Defenders of Peace (2009) | Whether is it a rat or a cat, I can't stand seeing people around me being so weak. | ฉันทนไม่ได้ที่จะเห็นคนรอบๆตัวอ่อนแอ Episode #1.6 (2009) | This whining, puking larva. Are you trying to convert me? | พวกขี้แย พวกน่ารังเีกียจ พวกตัวอ่อน ของเขา On the Head of a Pin (2009) | And if you must know, I'm late for my chiropractor. | เธอตัวอ่อนมากเลย Carrnal Knowledge (2009) | They can wake you up in the middle of the night, all night long, you know, and... | หญิงตั้งครรภ์ ตัวอ่อนในท้องจะอ่อนไหวต่อ ระดับของสารปรอทมากที่สุด The Cove (2009) | Her own body would have destroyed the fetus | ภูมิคุ้มกันของเธอจึงไป ทำลายตัวอ่อนในครรภ์ Night of Desirable Objects (2009) | - You're never sentimental. - Oh, I'm not. It's just for her. | เธอไม่เคยทำตัวอ่อนไหวมาก่อน โอ้ ไม่หรอก แค่เป็นกับเธอ Free (2009) | Why can't one of these fetuses babysit? | ทำไมไม่ให้ หนึ่งในพวกตัวอ่อนนี่ ไปเลี้ยงเด็กล่ะ? I Always Feel Like Somebody's Watchin' Me (2009) | I was kicked off the cheerleading squad for being too flexible. | ฉันไม่ได้เป็น เชียร์ลีดเดอร์ เพราะว่าฉันตัวอ่อนเกินไป 17 Again (2009) | It's true. I was quite the contortionist. | มันจริงนะ แม่เป็นพวกตัวอ่อน Easy A (2010) | Also maggots. | เหมือนพวกตัวอ่อนไม่มีผิด Beautifully Broken (2010) | Yeah, I'd say the tadpole's at least nine weeks on. | ผมขอแจ้งว่า ตัวอ่อนอายุอย่างน้อยเก้าสัปดาห์แล้ว It Hurts Me Too (2010) | That feels like an embryo, | มันเหมือนกับตัวอ่อนเลย The Man from the Other Side (2010) | shape-shifter embryo. | ตัวอ่อนของพวกเปลี่ยนรูปร่างนี่ The Man from the Other Side (2010) | But presumably the embryonic shape-shifters | แต่น่าเชื่อว่า ตัวอ่อนของพวกเปลี่ยนรูปร่างนั้น The Man from the Other Side (2010) | Is it possible that t he shape-shifter embryo | เป็นไปได้มั้ยว่า ตัวอ่อนของพวกเปลี่ยนรูปร่าง The Man from the Other Side (2010) | Our synthetic friends. | เจ้าตัวอ่อนสังเคราะห์นั่นน่ะ The Man from the Other Side (2010) | Is this embryo supposed to reanimate it? | จะให้เจ้าตัวอ่อนนี่ปลุกเขาขึ้นมาเหรอ The Man from the Other Side (2010) | Throw in the embryonic cells of a blue shark and the remains of a human vertebra. | เพิ่มเติมในเซลส์ตัวอ่อน ของฉลามสีน้ำเงิน และกระดูกสันหลังของซากศพ The Predator in the Pool (2010) |
| | hatchling | (n) ตัวอ่อนที่พึ่งฟักออกจากไข่ เช่น นก, สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ, ปลา และสัตว์เลื้อยคลาน, ลูกเจี๊ยบ | stonefly | (n, name) สโตนฟลาย เป็นแมลงใน อันดับ พลีคอปเทอร่า (Order Plecoptera: Class Insecta) ลักษณะตัวเต็มวัย (adult) แบ่งออกเป็น ส่วนหัว ส่วนอก และส่วนท้อง ชัดเจน; ส่วนหัว (head) มีหนวด (antennae) ยาว 1 คู่ มีตารวม (compound eyes) 1 คู่ มีตาเดี่ยว (ocelli) 0-3 ตา มีปากแบบกัดกิน (Chewing mouthpart), ส่วนอก (thorax) มีขา 3 คู่ มีปีก 2 คู่เป็นแผ่นบางใส (membranous wings) ปีกคู่หลัง (hind wings) จะซ้อนพับอยู่ใต้ปีกคู่หน้า (fore wings), ส่วนท้อง (abdomen) ยาวแบ่งเป็นปล้อง; มีการเจริญเติบโตแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete metamorphosis) คือเจริญเติบโตจากไข่ ฟักออกมาเป็นตัวอ่อน ลอกคราบหลายครั้งจนเป็นตัวเต็มวัย โดยไม่มีระยะดักแด้; ในระยะตัวอ่อน (nymph) มีลักษณะคล้ายตัวเต็มวัยแต่ไม่มีปีก อาจพบเหงือก (gills) รูปร่างต่าง ๆ ตามลำตัวเป็นอวัยวะช่วยในการหายใจ อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำไหล (Lotic habitat, running water) บางชนิดมีนิสัยการกินแบบผู้ล่า (predator) กินสัตว์อื่นที่มีขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร แต่บางชนิดกินเศษซากตะกอนในแหล่งน้ำเป็นอาหาร (detritivore) และเมื่อลอกคราบครั้งสุดท้ายเป็นตัวเต็มวัยจะอาศัยอยู่บนบกใกล้แหล่งน้ำ สโตนฟลายบางชนิดที่มีวงจรชีวิตระยะตัวอ่อนเป็นเวลายาวนาน เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะจับคู่ผสมพันธุ์ทันทีโดยไม่กินอาหาร แต่ในบางชนิดที่มีวงจรชีวิตใช้เวลาในระยะตัวอ่อนน้อย เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะกินน้ำหรือเศษซากพืชหรือซากตะกอนเพียงเล็กน้อย เพื่อพัฒนาระบบสืบพันธุ์ให้เจริญเต็มที่ ก่อนจับคู่ผสมพันธุ์ เมื่อผสมพันธุ์แล้วตัวเต็มวัยเพศเมียจะวางไข่ลงในแหล่งน้ำไหลเพื่อให้ไข่ฟักออกมาเป็นตัวอ่อนอาศัยเจริญเติบโตในแหล่งน้ำไหลนั้นต่อไป; จากลักษณะการดำรงชีวิตโดยอาศัยพึ่งพาแหล่งน้ำอยู่เกือบตลอดทั้งวงจรของชีวิต แมลงชนิดนี้จึงจัดอยู่ในกลุ่มของแมลงน้ำ (Aquatic insect), See also: plecoptera | aardwolf | (n) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ออกหากินเวลากลางคืน อาศัยอยู่ในที่ราบตอนใต้ของแอฟริกา กินปลวกและแมลงตัวอ่อนเป็นอาหาร เป็นสัตว์ตระกูลเดียวกับไฮยีน่า | Amyotrophic Lateral Sclerosis (ALS) | (n, name) โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ พยาธิสภาพของโรคเอแอลเอสอยู่ที่บริเวณแกนสมอง และไขสันหลัง ทำให้ผู้ป่วยมีกล้ามเนื้อแขนขา และลำตัวอ่อนแรง กลืนลำบาก และพูดไม่ชัด คำว่า “Amyotrophic” หมายถึง กล้ามเนื้ออ่อนแรง ฝ่อลีบและเต้นพลิ้ว (fasciculation) ส่วนคำว่า “Lateral sclerosis” หมายถึงรอยโรคในทางเดินของกระแสประสาทซึ่งควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในไขสันหลัง โรคเอแอลเอสพบน้อยมาก โดยพบได้เพียง 4 ถึง 6 ต่อประชากร 100, 000 คน และโอกาสที่จะพบผู้ป่วยรายใหม่มีเพียง 1.5 ถึง 2.5 ต่อประชากร 100, 000 คนต่อปี โรคนี้เป็นกับผู้ใหญ่วัยใดก็ได้ แต่จะพบบ่อยขึ้นตามอายุ อายุเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 65 ปี โดยมักเป็นในเพศชายมากกว่าเพศหญิง จนถึงปัจจุบัน ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าโรคเอแอลเอสเกิดขึ้นได้อย่างไร ผู้ป่วยราวร้อยละ 5 (โดยเฉพาะผู้ป่วยอายุน้อย) อาจมีประวัติโรคนี้ในครอบครัว สิ่งแวดล้อมหรือสารพิษบางชนิด อาจมีผลกับการเกิดโรคนี้ เนื่องจากพบว่าในบางพื้นที่ของโลก เช่นที่เกาะกวม พบโรคนี้มากกว่าที่อื่น นอกจากนั้นการศึกษาทางระบาดวิทยายังพบว่า นักกีฬาบางประเภท โดยเฉพาะนักฟุตบอลอาชีพมีโอกาสเป็นโรคนี้สูงกว่าประชากรทั่วไป ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของโรคนี้อาจเกิดจาก กลไกภูมิคุ้มกันต่อตนเองผิดปกติ (Autoimmune attack) หรือเกิดจากกลไกอนุมูลอิสระ (Free radicals) ทำลายเซลล์ประสาทของตนเอง ส่วนอีกทฤษฎีหนึ่งเชื่อว่า การเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทในสมองและไขสันหลังเกิดจากสารสื่อนำกระแสประสาท (neurotransmitter) ที่เรียกว่ากลูตาเมต (glutamate) กระตุ้นให้เกิดการทำลายเซลล์ (ข้อมูลจาก ผศ.นพ.รุ่งนิรันดร์ ประดิษฐสุวรรณ สาขาวิชาอายุรศาสตร์ปัจฉิมวัย : http://www.thonburihospital.com/th/tip_detail.asp?id=22 , http://www.inf.ku.ac.th/article/diag/520506/alsmnd.html) |
| eft | (n) ตัวอ่อนซาลามานเดอร์, Syn. newt | embryo | (n) ตัวอ่อนของคน, สัตว์, See also: ต้นอ่อนของพืช | embryology | (n) การศึกษาเกี่ยวกับการเติบโตและพัฒนาการของตัวอ่อนของมนุษย์ | embryology | (n) วิชาว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับตัวอ่อนของสิ่งมีชีวิตและพัฒนาการ | fetal | (adj) เกี่ยวกับทารกในครรภ์, See also: เกี่ยวกับตัวอ่อนในครรภ์, Syn. foetal | fetation | (n) การตั้งครรภ์, See also: การพัฒาตัวอ่อน | fetus | (n) ทารกในครรภ์, See also: ตัวอ่อนในครรภ์, Syn. embryo, unborn child | foetal | (adj) เกี่ยวกับทารกในครรภ์, See also: เกี่ยวกับตัวอ่อนในครรภ์ | grovel before | (phrv) ทำตัวอ่อนน้อมต่อ | grovel to | (phrv) ทำตัวอ่อนน้อมต่อ | grub | (n) ตัวอ่อนของแมลง, See also: ตัวหนอน, Syn. caterpillar, entozoon | instar | (n) แมลงหลังระยะตัวอ่อนระหว่างการลอกคราบ | larva | (n) ตัวอ่อนของสัตว์, Syn. maggot, grub | fet | (prf) ตัวอ่อน | feti | (prf) ตัวอ่อน | feto | (prf) ตัวอ่อน | royal jelly | (n) อาหารเหลวที่ผึ้งงานใช้เลี้ยงตัวอ่อน | slug | (n) ตัวอ่อนของแมลง | spinneret | (n) อวัยวะส่วนสร้างเส้นใย, See also: ตัวอ่อนของดักแด้ | strawworm | (n) ตัวอ่อนของแมลงปีกคู่มีขนชนิดหนึ่ง, Syn. caddis worm | wireworm | (n) หนอนลำตัวแข็งเป็นตัวอ่อนของแมลงเต่าทองและทำลายรากพืช |
| aphidlion | (เอฟิดไล'อัน) n. ตัวอ่อนหรือปรสิตบนตัว aphid | arehenteron | (อาร์คเอน'เทอรอน) n. โพรงย่อยอาหารเริ่มแรกของตัวอ่อน. -archenteronic adj. (primitive enteron) | callow | (แคล'โล) adj. ไร้ประสบการณ์, อ่อนหัด, ยังบินไม่ได้ (นกตัวอ่อน) , ต่ำและเปียกชื้น n. สนามที่ต่ำและเปียกชื้น, Syn. youthful | celom | n. ช่องในตัวอ่อน, ช่องในร่างกายระหว่างผนังร่างกายกับลำไส้ | chigger | n. ตัวอ่อน 6 ขาของเห็บ | chorion | (โค'รีออน) n. เยื้อหุ้มทารก (ตัวอ่อน), See also: chorionic adj. ดูchorion chorial adj. ดูchorion | coelom | n. ช่องในตัวอ่อน, ช่องในร่างกายระหว่างผนังร่างกายกับลำไส้ | coelome | n. ช่องในตัวอ่อน, ช่องในร่างกายระหว่างผนังร่างกายกับลำไส้ | ectoderm | (เอค'ทะเดิร์ม) n. เยื่อชั้นนอกของเซลล์ของตัวอ่อน (embryo), See also: ectodermal, ectodermic adj. | ectogony | (เอค'โทโกนี) n. อิทธิพลของตัวอ่อนที่มีต่อมารดา | embryo | (เอม'บรีโอ) n. ทารกในครรภ์ระหว่าง1-8 อาทิตย์, ตัวอ่อน, ต้นอ่อนที่อยู่ในเมล็ดพืช, ระยะแรกเริ่ม, See also: embryoid adj., Syn. seed | grub | (กรับ) n. ตัวด้วง, ตัวอ่อนที่เดินงุ่มง่ามของแมลง, คนเซ่อซ่า. v. ขุดรู, ขุดราก, ขุดตอ, ถอนราก, ให้อาหาร, ค้นหา, ค้นหา, ใช้ชีวิตที่ต้องทำงานอย่างน่าเบื่อหน่าย, เรียนหนัก., See also: grubber n., Syn. victuals, food, eats | instar | (อิน'สทาร์) n. แมลงหลังระยะตัวอ่อนระหว่างการลอกคราบ | larva | (ลาร์'วะ) n. ดักแด้, ตัวอ่อน, หนอนตัวอ่อน. adj., See also: larval adj. pl. larvae | maggot | (แมก'เกิท) n. ตัวอ่อนที่ไร้ขาของแมลง, ความคิดวิตถาร, See also: maggoty adj. | meristem | (เมอ'ริสเทม) n. เนื้อเยื่อของตัวอ่อน | metamorphosis | (เมททะมอร์'โฟซิส) n.การเปลี่ยนแปลงรูปร่างโครงสร้างหรือสารที่สมบูรณ์, การเปลี่ยนแปลงที่สมบูรณ์, การเปลี่ยนแปลงของแมลงจากตัวอ่อน (larva) เป็นแมลง pl. metamorphoses | nursery | (เนิร์ซ'เซอรี) n. ห้องหรือสถานที่เลี้ยงเด็ก, สถานที่ปลูกต้นไม้ (โดยเฉพาะตัวอ่อน) , โรงเพาะต้นไม้ | paedogenesis | (พีโดเจน'นิสซิส) n. การผลิตลูกโดยตัวอ่อน (larva), See also: paedogenetic adj. paedogenic adj. | pedogenesis | (พีโดเจน'นิสซิส) n. การผลิตลูกโดยตัวอ่อน (larva), See also: paedogenetic adj. paedogenic adj. | royal jelly | n. น้ำอาหารที่ผึ้งงานขยอกออกมาเลี้ยงตัวอ่อนในรังผึ้ง | zoea | (โซ'เอีย) n. ตัวอ่อนชองสัตว์ทะเล 10 ขาและไร้กระดูกสันหลังชนิดหนึ่ง, See also: zoeal adj. |
| embryo | (adj) อยู่ในขั้นต้น, อยู่ในระยะเริ่มแรก, ที่ยังเป็นตัวอ่อน | embryo | (n) ทารกในครรภ์, ตัวอ่อน, ขั้นต้น, ระยะเริ่มแรก | embryonic | (adj) ในขั้นต้น, เป็นตัวอ่อน, เพิ่งเริ่มก่อตัว, ยังไม่โต, เริ่มแรก | larva | (n) หนอนแมลง, ดักแด้, ตัวอ่อน | larval | (adj) เกี่ยวกับหนอนแมลง, เกี่ยวกับตัวอ่อน | maggot | (n) ตัวหนอน, ตัวอ่อนของแมลง |
| cryopreservation | (n) การแช่แข็ง (Freezing) เพื่อรักษาสภาพของเซลล์หรือเนื้อเยื่อ เช่น Embryo cryopreservation คือการแช่งแข็งตัวอ่อน (Embryo) เพื่อหยุดการแบ่งเซลล์ไว้ในระยะ Blastula | developmental toxicity | (n) อันตรายต่อการเจริญเติบโตของตัวอ่อน | embryologist | (n) นักวิทยาศาสตร์เพาะเลี้ยงตัวอ่อน, See also: embryo | mayfly | (n, name, uniq) ชีปะขาว หรือชีผะขาวก็เรียก ชีผ้าขาวก็เรียก หรือเมย์ฟลายส์ (mayflies) ชื่อวิทยาศาสตร์ เอพฮีมีรอบเทอรา (Ephemeroptera) ตัวขนาดเล็กถึงกลาง ปีกบางมีเส้นมากมาย ปีกคู่แรกใหญ่กว่าคู่หลัง ตัวเมียวางไข่ในน้ำ ตัวอ่อนรูปร่างเรียวยาวอาศัยในน้ำนาน 1-2 ปี ลอกคราบหลายครั้งจนเป็นแมลงโตเต็มวัย มีปีก ชอบเล่นไฟ มันมีอายุเพียง 1-2 วันเท่านั้น ไม่กินอาหาร ผสมพันธุ์แล้วตาย ฤดูกาลวางไข่อยู่ในราวกลางเดือนเมษายน พบใกล้แหล่งน้ำ บ่อน้ำ ลำธาร ตัวแก่เต็มที่จะลอกคราบออกพร้อมบินขึ้นจากผิวน้ำไปยังแสงสว่าง เป็นการบินขึ้นมาดูโลกครั้งแรกและครั้งสุดท้ายในชีวิต | Stoneflies | (n) สโตนฟลาย เป็นแมลงใน อันดับ พลีคอปเทอร่า (Order Plecoptera: Class Insecta) ลักษณะตัวเต็มวัย (adult) แบ่งออกเป็น ส่วนหัว ส่วนอก และส่วนท้อง ชัดเจน; ส่วนหัว (head) มีหนวด (antennae) ยาว 1 คู่ มีตารวม (compound eyes) 1 คู่ มีตาเดี่ยว (ocelli) 0-3 ตา มีปากแบบกัดกิน (Chewing mouthpart), ส่วนอก (thorax) มีขา 3 คู่ มีปีก 2 คู่เป็นแผ่นบางใส (membranous wings) ปีกคู่หลัง (hind wings) จะซ้อนพับอยู่ใต้ปีกคู่หน้า (fore wings), ส่วนท้อง (abdomen) ยาวแบ่งเป็นปล้อง; มีการเจริญเติบโตแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete metamorphosis) คือเจริญเติบโตจากไข่ ฟักออกมาเป็นตัวอ่อน ลอกคราบหลายครั้งจนเป็นตัวเต็มวัย โดยไม่มีระยะดักแด้; ในระยะตัวอ่อน (nymph) มีลักษณะคล้ายตัวเต็มวัยแต่ไม่มีปีก อาจพบเหงือก (gills) รูปร่างต่าง ๆ ตามลำตัวเป็นอวัยวะช่วยในการหายใจ อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำไหล (Lotic habitat, running water) บางชนิดมีนิสัยการกินแบบผู้ล่า (predator) กินสัตว์อื่นที่มีขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร แต่บางชนิดกินเศษซากตะกอนในแหล่งน้ำเป็นอาหาร (detritivore) และเมื่อลอกคราบครั้งสุดท้ายเป็นตัวเต็มวัยจะอาศัยอยู่บนบกใกล้แหล่งน้ำ สโตนฟลายบางชนิดที่มีวงจรชีวิตระยะตัวอ่อนเป็นเวลายาวนาน เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะจับคู่ผสมพันธุ์ทันทีโดยไม่กินอาหาร แต่ในบางชนิดที่มีวงจรชีวิตใช้เวลาในระยะตัวอ่อนน้อย เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะกินน้ำหรือเศษซากพืชหรือซากตะกอนเพียงเล็กน้อย เพื่อพัฒนาระบบสืบพันธุ์ให้เจริญเต็มที่ ก่อนจับคู่ผสมพันธุ์ เมื่อผสมพันธุ์แล้วตัวเต็มวัยเพศเมียจะวางไข่ลงในแหล่งน้ำไหลเพื่อให้ไข่ฟักออกมาเป็นตัวอ่อนอาศัยเจริญเติบโตในแหล่งน้ำไหลนั้นต่อไป; จากลักษณะการดำรงชีวิตโดยอาศัยพึ่งพาแหล่งน้ำอยู่เกือบตลอดทั้งวงจรของชีวิต แมลงชนิดนี้จึงจัดอยู่ในกลุ่มของแมลงน้ำ (Aquatic insect), See also: Stonefly, Plecoptera, Stonefly, Syn. Plecoptera | ้hornworm | ตัวอ่อนของผีเสื้อราตรี |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |