ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

*ความเห็น*

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ความเห็น, -ความเห็น-
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


Longdo Dictionary ภาษา จีน (ZH) - ไทย (TH) (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
观点[guān diǎn, ㄍㄨㄢ ㄉㄧㄢˇ,  ] (n) ความเห็น มุมมอง

Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
ความเห็น(n) opinion, See also: view, viewpoint, idea, suggestion, assumption, belief, thought, Syn. ความคิดเห็น, ข้อคิดเห็น, ข้อคิด, ทัศนคติ, ความคิด, ความนึกคิด, Example: นักวิชาการคอมพิวเตอร์มีความเห็นไม่ตรงกันว่าควรจะตีพิมพ์เรื่องของไวรัสในแง่เทคนิคดีหรือไม่
ความเห็นใจ(n) sympathy, See also: pity, compassion, commiseration, Syn. ความเห็นอกเห็นใจ, Example: พรรคฝ่ายค้านกล่าวนำด้วยถ้อยคำที่นุ่มนวล ขอความเห็นใจในช่วงแรก และต่อด้วยการชี้แจงเหตุผล, Thai Definition: ความร่วมรู้สึกในใจ, การเห็นน้ำใจ
ลงความเห็น(v) conclude, See also: judge, Syn. สรุป, Example: เพราะไม่มีหลักฐานที่บ่งชี้ว่าหล่อนกระทำผิด อัยการสูงสุดจึงลงความเห็นสั่งไม่ฟ้อง
ออกความเห็น(v) express an opinion, See also: make a suggestion, give an opinion, Syn. แสดงความเห็น, เสนอความเห็น, ออกความคิดเห็น, Example: หมอปัญญาและเพื่อนๆ กำลังขอความเห็นจากทันตแพทย์ทั้งหลาย ให้ช่วยกันออกความเห็น
ออกความเห็น(v) express an opinion, See also: make a suggestion, give an opinion, Syn. แสดงความเห็น, เสนอความเห็น, ออกความคิดเห็น, Example: หมอปัญญาและเพื่อนๆ กำลังขอความเห็นจากทันตแพทย์ทั้งหลาย ให้ช่วยกันออกความเห็น
ความเห็นพ้อง(n) agreement, See also: consent, approval, compliance, unanimity, Syn. ความเห็นด้วย, Ant. การปฏิเสธ, การโต้แย้ง, การคัดค้าน, การท้วงติง, การติง, Example: ทั้งลักกี้และแลนสกี้มีความเห็นพ้องต้องกันว่า เบนจามินมีความผิด, Thai Definition: ความคิดเห็นไปในทำนองเดียวกัน
ความเห็นแจ้ง(n) enlightenment, See also: insight, Example: ความสุขที่เกิดจากปัญญาที่มีความรู้ความเห็นแจ้งคือความสุขที่แท้จริง, Thai Definition: การทำให้เข้าใจ, การให้ความสว่าง
การลงความเห็น(n) conclusion, See also: coming to a conclusion, Example: การอนุมัติเงินงบประมาณต้องได้รับการลงความเห็นจากที่ประชุม
ความเห็นแก่ตัว(n) selfishness, See also: exploitation, utilization, Syn. ความเห็นแก่ได้, Example: ความเห็นแก่ตัวเป็นสาเหตุแห่งความชั่วทั้งมวล, Thai Definition: การมุ่งเอาแต่ประโยชน์ส่วนตัว
ความเห็นแก่ได้(n) exploitation, See also: profit, benefit, advantage, selfishness, Syn. ความเห็นแก่ตัว, Example: ความเห็นแก่ได้ของผู้ประกอบการและความประมาทของคนงานทำให้เกิดอุบัติเหตุเช่นนี้, Thai Definition: การมุ่งเอาแต่ประโยชน์ส่วนตัว
ความเห็นส่วนตัว(n) personal opinion, See also: personal idea, personal concept, personal thought, Example: คุณมีสิทธิ์ในการที่จะแสดงความเห็นส่วนตัวซึ่งอาจจะแตกต่างจากคนในกลุ่ม
ความเห็นอกเห็นใจ(n) sympathy, See also: compassion, condolence, Syn. ความเห็นใจ, ความเข้าใจ, Example: ครอบครัวของผู้ตายได้รับความเห็นอกเห็นใจจากชาวบ้านเป็นอย่างมาก, Thai Definition: ความร่วมรู้สึกในใจหรือเข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
ความเห็นน. ข้อวินิจฉัยหรือความเชื่อที่แสดงออกตามที่เห็น รู้ หรือ คิด เช่น ฉันมีความเห็นว่านักมวยไทยจะเป็นฝ่ายชนะ ผมมีความเห็นว่าเขาเป็นคนน่าเชื่อถือ.
ลงความเห็นก. มีความเห็นร่วมกัน.
การออกเสียงประชามติน. การขอความเห็นชอบจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่อาจกระทบถึงประโยชน์ส่วนได้เสียของประเทศชาติหรือประชาชน โดยวิธีการให้ออกเสียงลงมติโดยตรง.
เกลียว(เกฺลียว) ว. โดยปริยายหมายความว่า ขยันขันแข็ง เช่น หากินตัวเป็นเกลียว, นํ้าหนึ่งใจเดียวกัน เช่น เข้ากันเป็นเกลียว, ในลักษณะนี้ ถ้าไม่เข้าเกลียวกัน คือแตกพวกหรือไม่ถูกกัน หรือมีความเห็นไม่ลงรอยกัน ขัดแย้งกัน เรียกว่า ปีนเกลียว.
ข้อคิดเห็นน. ความเห็น.
คณะกรมการจังหวัดน. คณะบุคคลซึ่งทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการจังหวัดในการบริหารราชการแผ่นดินในจังหวัดนั้น และให้ความเห็นชอบในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด กับปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายหรือมติของคณะรัฐมนตรีกำหนด.
คณะองคมนตรีน. คณะบุคคลซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงเลือกและแต่งตั้งตามพระราชอัธยาศัยจากผู้ทรงคุณวุฒิ ประกอบด้วยประธานองคมนตรีคนหนึ่ง และองคมนตรีอื่นอีกไม่เกินจำนวนที่รัฐธรรมนูญกำหนด มีหน้าที่ถวายความเห็นต่อพระมหากษัตริย์ในพระราช-กรณียกิจทั้งปวงที่พระมหากษัตริย์ทรงปรึกษา และมีหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ.
คล้อยตามก. สอดคล้องไปในทางเดียวกัน, มีความเห็นอย่างเดียวกัน, เช่น ฉันเห็นคล้อยตามเขา.
เครือข่ายน. ระบบ เส้นทาง หรือการปฏิบัติงานที่ติดต่อประสานกันเป็นโยงใย เช่น เครือข่ายโทรคมนาคม เครือข่ายวิทยุชุมชน, กลุ่มบุคคลหรือองค์กรที่มีความเห็นใกล้เคียงกัน มีการติดต่อสนับสนุนซึ่งกันและกัน เช่น เครือข่ายนักวิจัย.
งัดข้อก. เกร็งแขนขัดกัน แล้วออกกำลังกดให้แขนอีกฝ่ายหนึ่งล้มลง, โดยปริยายหมายความว่า โต้เถียงกัน, มีความเห็นขัดแย้งกัน, ไม่ลงรอยกัน.
เจตภูต(เจดตะพูด) น. สภาพเป็นผู้คิดอ่าน คือ มนัส, ที่เรียกในภาษาสันสกฤตว่า “อาตมัน” เรียกในภาษาบาลีว่า “อัตตา” ก็มี “ชีโว” ก็มี, มีอยู่ในลัทธิว่า “ในโลกนี้ไม่มีอะไรสูญ แม้คนและสัตว์ตายแล้ว ร่างกายเท่านั้นทรุดโทรมไป ส่วนเจตภูตเป็นธรรมชาติไม่สูญ ย่อมถือปฏิสนธิในกำเนิดอื่นสืบไป”, ลัทธินี้ทางพระพุทธศาสนาจัดเป็นสัสตทิฐิ แปลว่า ความเห็นว่าเที่ยง, ตามสามัญที่เข้าใจกัน เจตภูต คือวิญญาณที่สิงอยู่ในตัวคน กล่าวกันว่าออกจากร่างได้ในเวลานอนหลับ.
ฉันท- ๒, ฉันท์ ๒, ฉันทะความร่วมความคิดความเห็นกัน เช่น ลงมติเป็นเอกฉันท์, ความไว้เนื้อเชื่อใจ เช่น มอบฉันทะ.
ฉันทานุมัติ(ฉันทานุมัด) น. ความเห็นชอบตามโดยความพอใจ, การได้รับมอบหมายด้วยความเต็มใจ.
ตัดสินก. ลงความเห็นชี้ขาด.
แตกคอก. หมางใจกันเพราะภายหลังเกิดมีความเห็นหรือรสนิยมไม่ตรงกัน, แตกสามัคคี.
แตกฝูงก. ปลีกตัวออกจากหมู่, มีความประพฤติหรือความเห็นผิดแผกไปจากหมู่.
โต้แย้งก. แสดงความเห็นแย้งกัน.
ทรรศนะ(ทัดสะนะ) น. ความเห็น, การเห็น, เครื่องรู้เห็น, สิ่งที่เห็น, การแสดง, ทัศนะ ก็ใช้.
ทัศน-, ทัศน์, ทัศนะ, ทัศนา(ทัดสะนะ-, ทัด, ทัดสะ-) น. ความเห็น, การเห็น, เครื่องรู้เห็น, สิ่งที่เห็น, การแสดง, ทรรศนะ ก็ใช้.
ทางสายกลางน. มรรคมีองค์ ๘ อันเป็นทางสายเดียวที่จะนำไปสู่ความดับทุกข์ ประกอบด้วย ๑. สัมมาทิฐิ ความเห็นชอบ ๒. สัมมาสังกัปปะ ความดำริชอบ ๓. สัมมาวาจา การเจรจาชอบ ๔. สัมมากัมมันตะ การกระทำชอบ ๕. สัมมาอาชีวะ การเลี้ยงชีวิตชอบ ๖. สัมมาวายามะ ความพยายามชอบ ๗. สัมมาสติ ความระลึกชอบ ๘. สัมมาสมาธิ ความตั้งใจมั่นชอบ รวมเรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา แปลว่า ทางสายกลาง
ทาบทามก. ติดต่อสอบถามเพื่อฟังความเห็นก่อนที่จะตกลงกัน.
ทิฏฐุชุกรรมน. การทำความเห็นให้ตรง คือ เห็นถูกทาง เช่น เห็นว่า ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว (เป็นข้อหนึ่งในบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ คือ ทานมัย สีลมัย ภาวนามัย อปจายนมัย เวยยาวัจจมัย ปัตติทานมัย ปัตตานุโมทนามัย ธัมมัสสวนมัย ธัมมเทสนามัย ทิฏฐุชุกรรม).
ทิฐิ(ทิดถิ) น. ความเห็น เช่น สัมมาทิฐิ ความเห็นชอบ มิจฉาทิฐิ ความเห็นผิด
ที่ปรึกษาน. ผู้มีหน้าที่ให้ความเห็นและคำแนะนำ.
ธรรมทรรศนะน. ความเห็นชัดเจนในธรรม.
ปรึกษา(ปฺรึกสา) ก. หารือ, ขอความเห็นแนะนำ, พิจารณาหารือกัน, พิจารณาอภิปรายกัน เช่น ประชุมปรึกษา, พิจารณาร่างคำพิพากษา เช่น ผู้ปรึกษา (ในทางศาล).
ปรึกษา(ปฺรึกสา) น. เรียกความเห็นแนะนำที่ให้เนื่องด้วยการหารือ ว่า คำปรึกษา, เรียกผู้มีหน้าที่ให้ความเห็นแนะนำว่า ที่ปรึกษา, เรียกผู้รับหารือเพื่อให้ความเห็นแนะนำ ว่า ผู้รับปรึกษา.
ปีนเกลียวว. มีความเห็นไม่ลงรอยกัน, ขัดแย้งกัน, แตกพวกหรือไม่ถูกกัน.
ผ่านได้รับความเห็นชอบ เช่น พระราชบัญญัติงบประมาณผ่านสภาแล้ว
ผู้บริหารท้องถิ่นน.ผู้ซึ่งได้รับเลือกตั้ง หรือแต่งตั้งโดยความเห็นชอบของสภาท้องถิ่นให้ทำหน้าที่บริหารกิจการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด นายกเทศมนตรี.
ฝักถั่วน. การแสดงความอ่อนน้อม อ้อนวอน หรือขอร้องโดยวิธียกมือไหว้ เช่น มืออ่อนเป็นฝักถั่ว, การพลอยยกมือแสดงความเห็นชอบตามเขาไป มักใช้พูดตำหนินักการเมืองในเวลาลงคะแนนเสียง.
ฝ่ายค้านน. ฝ่ายที่แสดงความเห็นโต้แย้งความเห็นของฝ่ายเสนอในการโต้วาที, ตรงข้ามกับ ฝ่ายเสนอ, สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคที่ไม่ได้ร่วมเป็นรัฐบาล ซึ่งทำหน้าที่ค้านรัฐบาลในรัฐสภา, โดยปริยายหมายถึง ผู้ที่มีความเห็นโต้แย้งกับผู้อื่น เช่น เรื่องนี้แม้ใครจะเห็นด้วยก็ตาม แต่ฉันขอเป็นฝ่ายค้าน.
ฝ่ายเสนอน. ฝ่ายที่แสดงความเห็นให้ฝ่ายค้านโต้แย้งตามญัตติในการโต้วาที, ตรงข้ามกับ ฝ่ายค้าน.
พระราชกำหนดน. รูปแบบของกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นให้มีผลใช้บังคับไปพลางก่อนตามคำแนะนำของฝ่ายบริหาร เนื่องจากเป็นกรณีฉุกเฉินที่มีความจำเป็นเร่งด่วนเพื่อประโยชน์ในอันที่จะรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะ ตามเงื่อนไขที่กำหนดให้รัฐธรรมนูญ พระราชกำหนดเมื่อได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาแล้วมีผลใช้บังคับเป็นพระราชบัญญัติ.
มติ(มะติ) น. ความเห็น, ความคิดเห็น, เช่น ที่ประชุมลงมติ มติของข้าพเจ้า, ความรู้
มโนทุจริต(มะโนทุดจะหฺริด) น. ความประพฤติชั่วทางใจ มี ๓ อย่าง ได้แก่ ความโลภอยากได้ของของผู้อื่น ๑ ความพยาบาท ๑ ความเห็นผิดจากทำนองคลองธรรม ๑.
มโนสุจริต(มะโนสุดจะหฺริด) น. ความประพฤติชอบทางใจ มี ๓ อย่าง ได้แก่ ความไม่โลภอยากได้ของของผู้อื่น ๑ ความไม่พยาบาท ๑ ความเห็นถูกตามทำนองคลองธรรม ๑.
มรรค, มรรค-, มรรคาในพระพุทธศาสนา เป็นชื่อแห่งโลกุตรธรรม คู่กับ ผล มี ๔ ชั้น คือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค อรหัตมรรค, ทางที่จะนำไปสู่ความพ้นทุกข์ เป็น ๑ ในอริยสัจ ๔ ได้แก่ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ และมรรค เรียกเต็มว่า มรรคมีองค์ ๘ ประกอบด้วย สัมมาทิฐิ–ความเห็นชอบ ๑ สัมมาสังกัปปะ–ความดำริชอบ ๑ สัมมาวาจา–การเจรจาชอบ ๑ สัมมากัมมันตะ–การงานชอบ ๑ สัมมาอาชีวะ–การเลี้ยงชีวิตชอบ ๑ สัมมาวายามะ–ความพยายามชอบ ๑ สัมมาสติ–ความระลึกชอบ ๑ สัมมาสมาธิ–ความตั้งใจชอบ ๑ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า มัชฌิมาปฏิปทา คือ ทางสายกลาง.
มฤจฉาทิฐิน. มิจฉาทิฐิ, ความเห็นผิดทางธรรม.
มากหมอมากความว. หลายคนก็มีความเห็นแตกต่างกันเป็นหลายอย่างจนตกลงกันไม่ได้.
มิจฉาทิฐิน. ความเห็นผิดจากทำนองคลองธรรม.
มุติ(มุ-ติ) น. ความรู้สึก, ความเห็น, ความเข้าใจ.
ไม่เห็นจะว. ใช้ประกอบแสดงความเห็นหรือความรู้สึกในลักษณะที่ว่า ไม่สมควรที่จะ ไม่น่าจะ รู้สึกว่าไม่ เช่น ไม่เห็นจะน่ารักเลย ไม่เห็นจะน่ากลัวเลย.
ยืนกรานก. ยืนคำอยู่อย่างใดก็อย่างนั้น (ไม่ยอมถอนหรือเปลี่ยนความเห็นเป็นอื่น).
เยภุยสิกาน. ความเห็นข้างมาก.
แย้งก. ไม่ตรงหรือลงรอยเดียวกัน เช่น ความเห็นแย้งกัน ข้อความแย้งกัน
รับฟังก. รับไว้พิจารณา เช่น ผู้บังคับบัญชารับฟังความเห็นของผู้ใต้บังคับบัญชา.
เราส. สรรพนามบุรุษที่ ๑ เป็นคำแทนตัวผู้พูด จะเป็นคนเดียวหรือหลายคนก็ได้ ถ้าผู้พูดเป็นคนคนเดียว อาจพูดแทนคนอื่น ๆ รวมทั้งตัวเองด้วย เช่น เราทุกคนเป็นคนไทย หรืออาจพูดกับผู้ที่มีฐานะเสมอกัน เช่น เรามีความเห็นอย่างนี้ เธอมีความเห็นอย่างไร หรืออาจพูดกับผู้ที่มีฐานะต่ำกว่า เช่น อธิบดีพูดกับนักการว่า ปีนี้เราจะขึ้นเงินเดือนให้ ๒ ขั้น, สรรพนามบุรุษที่ ๒ เป็นคำใช้สำหรับผู้มีอำนาจหรือผู้ใหญ่พูดกับผู้น้อย เช่น เจ้าหน้าที่ถามผู้ต้องหาว่า เราจะรับสารภาพไหม.
เรียกร้องก. ร้องขอแกมบังคับให้ทำหรือให้งดการกระทำ เช่น เรียกร้องขอความเป็นธรรม เรียกร้องขอความเห็นใจ.
ลงคะแนนก. แสดงความเห็นโดยลงเป็นคะแนน.

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
political clearanceการได้รับความเห็นชอบจากผู้นำทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
RFC (request for comment)อาร์เอฟซี (เอกสารขอความเห็น) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
report, minorityบันทึกความเห็นแย้งของฝ่ายข้างน้อย (เช่น ในสภา ในศาล) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
request for comment (RFC)เอกสารขอความเห็น (อาร์เอฟซี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
sympathyความเห็นใจ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
sanction๑. ทางบังคับ, วิธีการบังคับ๒. การให้ความเห็นชอบ, การยืนยันรับรอง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
opinion๑. ความคิดเห็น, ความเห็น๒. มติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
opinion, advisoryความเห็นของศาล (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
opinion, concurringความเห็นพ้อง (ที่มีเหตุผลแตกต่างกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
opinion, dissentingความเห็นแย้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
opinion, expertความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
opinions in evidenceความเห็นตามคำพยาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
annotationความเห็นประกอบ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
ad referendum (L.)เพื่อขอความเห็นชอบ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
agrément (Fr.)การให้ความเห็นชอบในการแต่งตั้งทูต [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
minority opinionความเห็นฝ่ายข้างน้อย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
minority reportบันทึกความเห็นแย้งของฝ่ายข้างน้อย (เช่น ในสภา ในศาล) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
clearance, politicalการได้รับความเห็นชอบจากผู้นำทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
consultary responseความเห็นของศาลในกรณีพิเศษ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
confirmationการให้ความเห็นชอบ, การให้สัตยาบัน, การยืนยัน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
concurring opinionความเห็นพ้อง (ที่มีเหตุผลแตกต่างกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
divided courtความเห็นที่แตกต่างกันของคณะผู้พิพากษา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
dissenting opinionความเห็นแย้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
dissenting opinionความเห็นแย้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
expert opinionความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
view๑. ความเห็น๒. ตรวจ, ตรวจสอบ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
hung juryคณะลูกขุนที่มีความเห็นขัดแย้งกัน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
hypothetical questionปัญหาที่ต้องอาศัยความเห็นผู้เชี่ยวชาญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
วีดิทัศน์วีดิทัศน์, <br />วีดิทัศน์<br />มาจากคำว่า <br /><ul><li>วีติ หมายถึง รื่นเริง, ยินดี</li><li>ทัศน์ หมายถึง ความเห็น, การเห็น, การแสดง<br /></li></ul><br /> [เทคโนโลยีการศึกษา]
Selfishnessความเห็นแก่ตัว [TU Subject Heading]
Agrémentความเห็นชอบ ในการแต่งตั้งเอกอัครราชทูตไปประจำในประเทศใด กำหนดให้ประเทศผู้ส่งขอความเห็นชอบจากประเทศผู้รับก่อน [การทูต]
Agreementการที่รัฐที่ผู้จะไปประจำตำแหน่งในรัฐนั้นได้ตกลง เห็นชอบกับบุคคลที่รัฐผู้ส่งเสนอชื่อให้เป็นผู้แทนทางการทูต อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้ บัญญัติไว้ว่า1. รัฐผู้ส่งไม่จำเป็นต้องทำให้เป็นที่แน่นอนว่า รัฐผู้รับได้ให้ความเห็นชอบแล้ว สำหรับบุคคลที่รัฐผู้ส่งเสนอจะแต่งตั้งเป็นหัวหน้าคณะผู้แทนไปยังรัฐนั้น2. รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องให้เหตุผลแก่รัฐผู้ส่งในการปฏิเสธไม่ให้ความเห็นชอบ เมื่อได้รับความเห็นชอบแล้ว ผู้ที่ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตซึ่งรอการถวายสารตราตั้งจะต้องเริ่มดำเนิน การเพื่อเดินทางไปยังรัฐผู้รับในเรื่องนี้ มีตัวอย่างไม่น้อยที่รัฐผู้รับปฏิเสธไม่ให้ความเห็นชอบด้วยเหตุผลบางอย่าง นับตั้งแต่อ้างว่า การเสนอชื่อผู้รับการแต่งตั้งได้กระทำกะทันหันเกินไป และมิได้แจ้งข้อเท็จจริงมาก่อน หรือว่าผู้ที่ได้รับการเสนอให้เป็นผู้แทนทางการทูตผู้นั้นเคยกล่าวตำหนิ วิพากษ์รัฐผู้รับ หรือผู้รับการเสนอชื่อมมีภรรยาเป็นชาวยิว หรือผู้รับการเสนอชื่อถือศาสนาโรมันคาทอลิก หรือผู้นั้นเคยปฏิบัติไม่ดีต่อชนชาติของรัฐผู้รับ หรือผู้นั้นในขณะนั้นกำลังอยู่ในระหว่างถูกฟ้องร้อง ถูกกล่าวหาว่าฉ้อโกง เป็นต้นกล่าวโดยย่อ agr?ment คือ การให้ความเห็นชอบของรัฐผู้รับ แก่บุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อจากรัฐผู้ส่งให้เป็นผู้แทนทางการทูตนั่นเอง [การทูต]
ASEAN Ministerial Meeting on Hazeการประชุมรัฐมนตรีอาเซียนเกี่ยวกับปัญหาหมอกควัน " จัดขึ้นตามความจำเป็นและด้วยความเห็นชอบของทุกประเทศสมาชิก เพื่อติดตามความคืบหน้าของการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ อาเซียนด้านปัญหาหมอกควัน " [การทูต]
ASEAN Troikaกลุ่มผู้ประสานงานของอาเซียน " เป็นข้อเสนอของไทยในการประชุมสุดยอดอย่างไม่เป็นทางการ ณ กรุงมะนิลา เมื่อ 28 พฤศจิกายน 2542 ซึ่งได้รับความเห็นชอบจาก ผู้นำประเทศ/รัฐบาลอาเซียน เป็นกลไกเฉพาะกิจในระดับรัฐมนตรี มีวัตถุประสงค์เพื่อให้อาเซียนสามารถแก้ไขและร่วมมือกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ทันท่วงทีและใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น ในเรื่องที่ส่งผลกระทบต่อสันติภาพ และในเรื่องที่อาเซียนมีความห่วงกังวลร่วมกันว่ามี แนวโน้มที่จะส่งผลกระทบต่อสันติภาพและเสถียรภาพของภูมิภาค ทั้งนี้ กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนจะปฏิบัติงานโดยยึดหลักการที่สำคัญของอาเซียน คือ หลักฉันทามติ และการไม่แทรกแซงกิจการภายใน กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนประกอบด้วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของ ประเทศที่เป็นประธานคณะกรรมการประจำของ อาเซียนในปัจจุบัน อดีต และอนาคต " [การทูต]
ASEAN Vision 2020วิสัยทัศน์อาเซียน พ.ศ. 2563 เป็นเอกสารซึ่งที่ประชุมสุดยอดอาเซียนที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2540 ได้ให้ความเห็นชอบ เพื่อแสดงถึงความมุ่งมั่นและพันธกรณีของอาเซียนที่จะนำประชาชนในภูมิภาคนี้ ไปสู่ (1) การเป็นภูมิภาคที่มีสันติภาพและเสถียรภาพ (2) ความเป็นหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้งด้วยการรวมตัวทางเศรษฐกิจ อย่างใกล้ชิดยิ่งขึ้น (3) การเป็นสังคมที่เปิดกว้าง มีความเป็นปึกแผ่นและเอื้ออาทรต่อกัน และ (4) การกระชับความสัมพันธ์กับคู่เจรจาและโลกภายนอก บนพื้นฐานของความเป็นหุ้นส่วนที่เท่าเทียมกันและมีความเคารพซึ่งกันและกัน [การทูต]
Conference Diplomacyกระบวนการเจรจาระหว่างรัฐบาลต่อรัฐบาลในรูปของการ ประชุม แทนที่จะกระทำโดยวิถีทางการทูตตามปกติ คือ โดยทางเอกอัครราชทูต หรือผู้แทนทางการทูตถาวร การประชุมแบบหนึ่งซึ่งเรียกว่า การประชุมโต๊ะกลม เพื่อทำหน้าที่ระงับปัญหาระหว่างประเทศนั้น เริ่มนิยมกระทำกันหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 การประชุมระหว่างประเทศนี้จะประกอบด้วยคณะผู้แทน ซึ่งมีหัวหน้าคณะที่ได้รับมอบอำนาจเต็ม และรัฐบาลของประเทศที่ร่วมประชุมเป็นผู้ส่งไป ในเรื่องนี้มีความเห็นแตกต่างกันอยู่บ้าง บ้างเห็นว่า ควรเป็นการประชุมทางการทูตตามประเพณีที่กระทำกันโดยใช้ผู้เชี่ยวชาญโดยอาชีพ ซึ่งเป็นไปตามวิถีทางการทูตตามปกติมากกว่า [การทูต]
declarationปฏิญญา มีความหมาย 3 อย่าง คือ (1) ความตกลงระหว่างประเทศ ซึ่งมีลักษณะผูกพัน (2) ปฏิญญาฝ่ายเดียว ซึ่งก่อสิทธิและหน้าที่ให้แก่ประเทศอื่น และ (3) ปฏิญญาซึ่งรัฐหนึ่งแถลงให้รัฐอื่นทราบความเห็นและเจตนาของตนในเรื่องบาง เรื่อง [การทูต]
Declarationคำประกาศ หรือ ปฏิญญา ตามความเห็นของผู้ทรงคุณความรู้ทางกฎหมายระหว่างประเทศ ส่วนมากได้ให้ความเห็นว่า คำนี้มีความหมายต่างกันอยู่สามประการ คือประการแรก ใช้เป็นชื่อเรียกข้อกำหนดต่าง ๆ ของสนธิสัญญา กล่าวคือ ตามสนธิสัญญานี้ ภาคีคู่สัญญารับที่จะปฏิบัติตามแนวทางบางประการในอนาคตประการที่สอง เป็นคำประกาศถ่ายเดียว (Unilateral Declaration) ซึ่งก่อให้เกิดสิทธิและหน้าที่แก่รัฐอื่นๆ เช่น คำประกาศสงครามประการสุดท้าย หมายถึง การกระทำซึ่งรัฐหนึ่งหรือหลายรัฐได้ติดต่อแจ้งไปยังรัฐอื่น ๆ ซึ่งเป็นการอธิบายหรือให้เหตุผลสนับสนุนพฤติกรรมของฝ่ายตนในอดีต หรืออธิบายทรรศนะและเจตจำนงเกี่ยวกับเรื่องบางเรื่อง คำประกาศสำหรับความหมายสองประการหลังไม่ถือว่ามีลักษณะเป็นสนธิสัญญาอนึ่ง ในกรณีคำประกาศถ่ายเดียว (Unilateral Declaration) นั้น บางทีรัฐหนึ่งต้องการเสนอนโยบายหรือหนทางปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งของตน โดยประกาศนโยบายหรือหนทางปฏิบัตินั้นไปให้รัฐอื่นๆ ทราบกันไว้ อาทิเช่น ลัทธิมอนโร (Monroe Doctrine) ซึ่งสหรัฐอเมริกาได้ประกาศออกไปในรูปคำประกาศถ่ายเดียว เป็นต้น [การทูต]
Extraditionการส่งผู้ร้ายข้ามแดน การที่ชาติหนึ่งยอมส่งคนในชาติของตนให้แก่อีกชาติหนึ่ง คือคนในชาติที่ถูกกล่าวหา หรือต้องโทษฐานกระทำความผิดภายนอกเขตแดนของตน และเป็นความผิดที่กระทำขึ้นในเขตอำนาจของอีกชาติหนึ่ง ซึ่งมีความสามารถที่จะตัดสินคดี รวมทั้งลงโทษบุคคลที่ถูกกล่าวหานั้นข้ออ้างว่า ในกรณีที่ชนชาติหนึ่งซึ่งถูกกล่าวหาว่าประกอบอาชญากรรมแล้วหลบหนีไปยังต่าง ประเทศนั้น รัฐของผู้ที่ประกอบอาชญากรรมมีสิทธิที่จะขอให้ต่างประเทศนั้นส่งตัวผู้กระทำ ผิดกลับคืนมา เพื่อส่งตัวขึ้นศาลเพื่อพิจารณาลงโทษได้ แต่หลายคนยังมีความเห็นแตกต่างกันอยู่ในข้อนี้ มีไม่น้อยที่สนับสนุนหลักการที่ว่า กฎหมายระหว่างประเทศมิได้รับรองหน้าที่ที่จะต้องส่งผู้ร้ายข้ามแดน กล่าวคือ นอกจากสนธิสัญญาส่งผู้ร้ายข้ามแดนที่มีต่อกันแล้ว กฎหมายระหว่างประเทศมิได้รับรองสิทธิที่จะส่งผู้ร้ายข้ามแดนให้แก่กัน อย่างไรก็ดี ตามสนธิสัญญาที่มีต่อกัน ผู้ร้ายที่หนีความยุติธรรมจะถูกส่งไปให้อีกประเทศหนึ่งตามสนธิสัญญานั้น จักกระทำโดยวิถีทางการทูต ส่วนผู้หลบหนีเจ้าหน้าที่เพราะเหตุผลทางการเมือง จะส่งข้ามแดนอย่างผู้ร้ายไม่ได้ และเมื่อหลบหนีไปยังอีกประเทศหนึ่งได้สำเร็จ ประเทศนั้นๆ มักจะให้อาศัยพักพิงในประเทศของตนเป็นในฐานะผู้ลี้ภัยทางการเมือง [การทูต]
Exercise of Consular Functions in a Third Stateการปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลในรัฐที่สาม (A Third State) ในเรื่องนี้ข้อ 7 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้ระบุว่า?เมื่อได้บอกกล่าวให้รัฐที่เกี่ยวข้องทราบ แล้ว รัฐูผู้ส่งอาจมอบหมายให้สถานีที่ทำการทางกงสุลที่ได้ตั้งอยู่ในรัฐหนึ่งโดย เฉพาะปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลในอีกรัฐหนึ่งได้ นอกจากจะมีการคัดค้านอย่างชัดเจนโดยรัฐหนึ่งในบรรดารัฐที่เกี่ยวข้อง?นอกจาก นี้ สถานที่ทำการทางกงสุลยังอาจปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลแทนรัฐที่สามได้ เรื่องนี้ข้อ 8 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้กำหนดว่า เมื่อบอกกล่าวอย่างเหมาะสมแก่รัฐผู้รับแล้ว สถานที่ทำการทางกงสุลของรัฐผู้ส่งอาจปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลในรัฐผู้รับ แทนรัฐที่สามได้ นอกจากรัฐผู้รับนั้นจะคัดค้าน และพนักงานฝ่ายกงสุลอาจปฏิบัติการหน้าที่ของตนนอกเขตกงสุลได้ในพฤติการณ์ พิเศษ และด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ ทั้งนี้เป็นไปตามข้อ 6 แห่งอนุสัญญากรุงเวียนนา อย่างไรก็ดี ยังไม่มีความเห็นเป็นเอกฉันท์ที่จะให้พนักงานฝ่ายกงสุลปฏิบัติการหน้าที่ทาง กงสุลนอกเขตกงสุล ฝ่ายที่เห็นด้วยว่าควรปฏิบัติการนอกเขตกงสุลได้ อ้างว่า การใช้เอกสิทธิ์เช่นนั้นเป็นการชอบแล้ว ด้วยเหตุผลที่ว่า อาจจะมีภาวะฉุกเฉินเกิดขึ้นในสถานที่นอกเขตกงสุล ซึ่งเป็นความจำเป็นที่พนักงานฝ่ายกงสุลจะได้ให้บริการในทันที่ที่มีการแจ้ง โดยกะทันหัน [การทูต]
Final Actกรรมสารสุดท้าย คือคำแถลงหรือคำสรุปอย่างเป็นทางการจากเรื่องราวการ ประชุม คำแถลงนี้จะระบุสนธิสัญญาและอนุสัญญาที่ได้มีการลงนามกันอันเป็นผลจากการ ประชุม และในบางกรณีจะผนวกความเห็นหรือข้อเสนอแนะหรือความปรารถนาจากที่ประชุมไว้ ด้วย ผู้แทนที่มีอำนาจเต็มเท่านั้นจะเป็นผู้ลงนามในกรรมสารสุดท้าย ในตอนสุดท้ายของการประชุม [การทูต]
Foreign Policyนโยบายต่างประเทศ คือแผนการดำเนินการในกิจการระหว่างประเทศ ซึ่งผู้กำหนดนโยบายในคณะรัฐบาลเป็นผู้จัดขึ้น ในประเทศที่มีรัฐบาลประชาธิปไตยในรูปรัฐสภา ผู้ที่จะชี้ขาดเรื่องนโยบายต่างประเทศได้แก่คณะรัฐมนตรี อันมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะ และจะได้รับความเห็นชอบจากผู้แทนของประชาชนที่ได้รับการเลือกตั้ง ส่วนรัฐบาลประชาธิปไตยในรูปประธานาธิบดี ตัวประธานาธิบดีเองซึ่งโดยปกติแล้วจะได้รับคำแนะนำจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวง การต่างประเทศ และบุคคลชั้นผู้นำฝ่ายนิติบัญญัติ จะเป็นผู้กำหนดนโยบายต่างประเทศ [การทูต]
Good Offices และ Mediationวิธีการที่จะระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐโดยฉันมิตร คำว่า Good Offices หมายถึง การช่วยเป็นสื่อกลาง ส่วน Mediation หมายถึง การไกล่เกลี่ยศัพท์ทั้งสองนี้หมายถึงวิธีการที่จะระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐ โดยฉันมิตร กล่าวคือ ในกรณีข้อพิพาทซึ่งการเจรจากันทางการทูตไม่สามารถตกลงกันได้ง่าย ๆ ดังนั้น รัฐที่สามอาจยื่นมือเข้าช่วยเป็นสื่อกลาง หน้าที่ในการนี้มิใช่ออกความเห็นหรือวินิจฉัยชี้ขาดว่าใครถูกใครผิดในกรณี ข้อพิพาท หากเป็นแต่เพียงแสวงหาลู่ทางที่จะระงับข้อพิพาทจะต้องมีให้น้อยที่สุดเท่า ที่จะทำได้ และถือว่าเป็นกาดรกระทำฉันมิตร (Friendly act) คู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจปฏิเสธข้อเสนอได้โดยไม่ถือว่าเป็นความผิดทางการ เมือง หรือคู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจขอร้องให้ช่วยเป็นสื่อกลาง หรือให้ช่วยไกล่เกลี่ย ตามธรรมดาการช่วยเป็นสื่อกลางนั้นเป็นเพียงการเข้าช่วยงานพื้นฐาน หรือให้มีการเริ่มต้นการเจรจาเท่านั้น ส่วนงานเจรจาที่จะกระทำโดยตรงกว่าจะมีลักษณะเป็นการไกล่เกลี่ย แต่ในทางปฏิบัติไม่ค่อยมีการคำนึงกันนักถึงความแตกต่างจริงๆ ระหว่างวิธีทั้งสอง คู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจปฏิเสธไม่ยอมรับการไกล่เกลี่ยไม่ว่าเวลาใดก็ได้ จะเห็นได้ว่า การช่วยเป็นสื่อกลางกับการไกล่เกลี่ยนั้นแตกต่างกัน คือ ในกรณีการช่วยเป็นสื่อกลาง ฝ่ายที่สามจะกระทำแต่เพียงช่วยให้มีการหันหน้าเข้าเจรจากันระหว่างคู่พิพาท ส่วนในกรณีการไกล่เกลี่ย ฝ่ายที่สามพยายามจัดให้มีการเจรจากันจริง ๆ ตามมูลฐานข้อเสนอของตน ฝ่ายที่เสนอช่วยเป็นสื่อกลางหรือช่วยไกล่เกลี่ยนั้น อาจจะมาจากประเทศที่สาม หรือจากองค์การระหว่างประเทศ หรือจากบุคคลธรรมดาคนหนึ่งก็ได้ [การทูต]
Honorary Consulกงสุลกิตติมศักดิ์ " ได้แก่ บุคคลในท้องถิ่นผู้ซึ่งได้รับการแต่งตั้งและมอบหมายให้ดูแล ส่งเสริมผลประโยชน์ของประเทศและคนชาติในพื้นที่ในเขตอาณา และดำเนินการตรวจลงตราหนังสือเดินทางแก่บุคคลที่จะเดินทางเข้าประเทศที่ กงสุลกิตติมศักดิ์เป็นผู้แทน การแต่งตั้งผู้ดำรงตำแหน่งดังกล่าวต้องได้รับความเห็นชอบจากประเทศผู้รับ และต้องยื่นสัญญาบัตร และได้รับอนุมัติบัตรเช่นเดียวกับผู้แทนฝ่ายกงสุลอาชีพ (career consular officer) ทั้งนี้ กงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์จะได้รับมอบหมายให้ดูแลเขตอาณาที่ครอบคลุมพื้นที่ กว้างกว่าและสำคัญกว่า ในส่วนของไทย กงสุลกิตติมศักดิ์แตกต่างจากกงสุลอาชีพใน 3 ประเด็นหลัก ได้แก่ (1) กงสุลกิตติมศักดิ์ส่วนใหญ่เป็นชาวต่างประเทศที่มีสถานะทางเศรษฐกิจและสังคม หรือเป็นผู้นำที่มีความสัมพันธ์พิเศษกับไทย (2) กงสุลกิตติมศักดิ์ต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการจัดตั้งสำนักงาน ได้แก่ สถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์หรือสถานกงสุลกิตติมศักดิ์ทั้งหมด (3) กงสุลกิตติมศักดิ์ได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางกงสุลน้อยกว่ากงสุลอาชีพ ในการปฏิบัติงานของกงสุลกิตติมศักดิ์ของไทยจะมีคู่มือกงสุลกิตติมศักดิ์ เป็นระเบียบกฎเกณฑ์และข้อมูลสำหรับการปฏิบัติงาน " [การทูต]
Hanoi Plan of Actionแผนปฏิบัติการฮานอย เป็นแผนงานระยะ 6 ปี ระหว่างปี พ.ศ. 2542-2547 ซึ่งที่ประชุมสุดยอดอาเซียนอย่างไม่เป็นทางการ ครั้งที่ 2 ที่กรุงฮานอย เมื่อเดือนธันวาคม 2541 ได้ให้ความเห็นชอบเพื่อใช้เป็นแผนงานฉบับแรกของอาเซียนสำหรับการสร้างเสริม ความร่วมมือของอาเซียนในด้านต่าง ๆ ซึ่งจะนำไปสู่วิสัยทัศน์อาเซียนปี พ.ศ. 2563 [การทูต]
International Atomic Energy Agencyสำนักพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ ในการประชุมระหว่างประเทศ ที่ประชุมได้รับรองกฎข้อบังคับขององค์การนี้เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม ค.ศ. 1956 ณ สำนักงานใหญ่ขององค์การสหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก รัฐที่ร่วมลงนามเป็นสมาชิกขององค์การอย่างน้อย 18 ประเทศ รวมทั้งประเทศดังต่อไปนี้ คือ แคนาดา ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักร และ สหรัฐอเมริกา อย่างน้อยสามประเทศได้มอบสัตยาบันสาร ยังผลให้กฎข้อบังคับดังกล่าวมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 1956วัตถุประสงค์ขององค์การพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ คือ1. ต้องการเร่งรัดและส่งเสริมให้พลังงานปรมาณูมีส่วนเกื้อกูลมากขึ้นต่อ สันติภาพ สุขภาพ และความไพบูลย์มั่งคั่งตลอดทั่วโลก2. ทำให้เป็นที่แน่ใจว่า ความช่วยเหลือที่องค์การจัดให้หรือตามคำขอร้องขององค์การ หรือที่อยู่ใต้ความควบคุมดูแลขององค์การนั้น จะต้องไม่ถูกนำไปใช้เพื่อส่งเสริมความมุ่งหมายทางทหารแต่อย่างใดองค์การ ดำเนินงานผ่านทางองค์กรต่าง ๆ เหล่านี้ คือ1. ที่ประชุมระหว่างประเทศ (General Conference) ประกอบด้วยสมาชิกของสำนักพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศทั้งหมด มีการประชุมสมัยสามัญประจำปี และอาจมีการประชุมสมัยพิเศษเท่าที่จำเป็น ที่ประชุมจะพิจารณาแลกเปลี่ยนความเห็นในปัญหาต่าง ๆ ที่อยู่ภายในกรอบของกฎข้อบังคับ2. คณะผู้ว่าการ (Board of Governors) ประกอบด้วยประเทศสมาชิกทั้งหมด 23 ประเทศ ปฏิบัติงานตามหน้าที่ขององค์การ3. คณะเจ้าหน้าที่ขององค์การมีหัวหน้าเรียกว่าอธิบดี (Director General) ซึ่งคณะผู้ว่าการแต่งตั้งขึ้นตามความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ และมีอายุอยู่ในตำแหน่ง 4 ปี ตัวอธิบดีถือเป็นหัวหน้าคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารขององค์การ มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย [การทูต]
International Conferencesคือการประชุมระหว่างประเทศอย่างเป็นทางการระหว่าง ผู้แทนผู้มีอำนาจเต็มจากหลาย ๆ ประเทศ เพื่อพิจารณาหาทางระงับปัญหาระหว่างประเทศ การประชุมเช่นนี้บางทีเรียกว่า คองเกรสระหว่างประเทศ แม้จะเรียกต่างกัน แต่ก็ไม่มีอะไรแตกต่างกันที่สำคัญระหว่างสองคำนี้ บ้างมีความเห็นว่า ใช้คำคองเกรส ดูจะมีความสำคัญและมีลักษณะเป็นทางการมากกว่าใช้คำ คอนเฟอเรนซ์ผู้แทนจากประเทศที่ร่วมการประชุมในบางโอกาส ได้แก่บุคคลในระดับนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หรือเอกอัครราชทูต แล้วแต่ว่าการประชุมนั้น ๆ มีความสำคัญระดับใดในการประชุมระหว่างประเทศ แต่เดิมใช้ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศสกันมากทั้งสองภาษา มาในภายหลังมักนิยมใช้ภาษาอังกฤษเกือบทั้งหมด ส่วนการประชุมระหว่างประเทศที่องค์การสหประชาชาติเป็นผู้จัด จะใช้ภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน รัสเซีย และจีน รวม 5 ภาษาตามปกติ มักจะเลือกหัวหน้าคณะผู้แทนของประเทศเจ้าภาพให้ทำหน้าที่ประธานการประชุม ส่วนเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ของการประชุม ได้แก่ รองประธาน เลขานุการของการประชุม ประธานกรรมการ และผู้บันทึกรายงานสำหรับรายงานการประชุม ข้อมติของที่ประชุมและข้อเสนอแนะนั้น จะรวมเข้าไว้ในเอกสารที่เรียกว่า กรรมสารสุดท้าย (Final Act) ซึ่งผู้แทนประเทศผู้มีอำนาจเต็มจะเป็นผู้ลงนามในเอกสารนั้นในการประชุมครั้ง สุดท้าย [การทูต]
International Court of Justiceศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น [การทูต]
Investment Promotion Action Planแผนปฏิบัติการส่งเสริมการลงทุน (ระหว่างเอเชีย-ยุโรป) ได้รับความเห็นชอบในการประชุม ASEM 2 เมื่อปี พ.ศ. 2541 [การทูต]
Niccolo Machiavelli (1469-1527)คือรัฐบุรุษและปรัชญาเมธีทางการเมืองของสาธารณรัฐ ฟลอเรนส์ (Florence) ระหว่างรับราชการ ท่านดำรงตำแหน่งฝ่ายธุรการหลายตำแหน่งซึ่งไม่สู้มีความสำคัญเท่าใด แต่สิ่งที่ท่านสนใจมากที่สุดได้แก่ศิลปะของการเมือง หนังสือสำคัญ ๆ ที่ท่านประพันธ์ขึ้นไว้คือ The Prince เล่มหนึ่ง อีกเล่มหนึ่งชื่อ The Art of War และอีกเล่มหนึ่งคือ Discourses on the First Ten Books of Livyมีนักเขียนหลายคนวิพากษ์ Machiavelli ที่แสดงความเห็นสนับสนุนว่า รัฐบาลใดก็ตมที่ต้องการรักษาอำนาจการปกครองตนให้เข้มแข็งไว้ ย่อมจะใช้วิถีทางใด ๆ ก็ได้ ถึงแม้หนทางเช่นนั้นจะผิดกฎหมายหรือไร้ศีลธรรมก็ตาม และก็มีนักเขียนอีกหลายคนสนับสนุนท่าน โดยชี้ให้เห็นว่า ท่านเป็นแต่เพียงตีแผ่ให้เห็นพฤติกรรมที่แท้จริงของรัฐบาลประเทศต่าง ๆ ในยุคสมัยที่ท่านมีชีวิตอยู่มากกว่าอย่างอื่น อาทิเช่น ในหนังสือ The Prince ของท่านตอนหนึ่งอ้างว่า การต่อสู้นั้นมีอยู่สองวิธี วิธีแรกเป็นการต่อสู้โดยวิถีทางกฎหมาย อีกวิธีหนึ่งคือการต่อสู้โดยใช้กำลัง (Force) วิธีแรกนั้นเป็นวิธีที่มนุษย์พึงใช้ ส่วนวิธีที่สองเป็นวิธีเยี่ยงสัตว์ป่า แต่การใช้วิธีแรกมักจะไม่ค่อยได้ผลเสมอไป เพราะไม่เพียงพอ ก็ย่อมจะหันเข้าใช้วิธีที่สองได้ ฉะนั้น ผู้ปกครองประเทศสมัยนั้น ซึ่ง Machiavelli เรียกว่า Prince จึงจำเป็นต้องรู้ดีว่าจะใช้ทั้งวิธีที่มนุษย์จะพึงใช้ และวิธีเยี่ยงสัตว์ป่าอย่างไร ด้วยเหตุนี้ ผู้ปกครองประเทศสมัยนั้นไม่จำเป็นต้องมีสัจธรรม หากการกระทำนั้น ๆ จะทำความเสียหายแก่ผลประโยชน์ของประเทศ ท่านเห็นว่า หากมนุษย์ทุกคนเป็นคนดี กฎเช่นนี้ก็เป็นกฎที่ไม่ถูกต้อง แต่โดยที่มนุษย์ไม่ใช่คนดีทั้งหมด ในเมื่อเขาไม่ยอมให้ความศรัทธาความไว้วางใจในตัวท่าน ก็ไม่มีอะไรที่จะมาห้ามมิให้ท่านเลิกศรัทธากับเขาเหล่านั้นได้ [การทูต]
Order of Precedenceหมายถึง ลำดับอาวุโสทางการทูต โดยถือยศหรือตำแหน่งเป็นบรรทัดฐาน โดยเฉพาะในโอกาสที่ไปร่วมพิธีต่าง ๆ ตลอดจนการเลี้ยงอาหารอย่างเป็นทางการ นักการทูตทั่วโลกต่างถือลำดับอาวุโสเป็นเรื่องสำคัญที่ต้องพิถีพิถันกันไม่ น้อย เพราะในฐานะที่เป็นตัวแทนของประเทศ หากมีการจัดลำดับอาวุโสไม่ถูกต้อง เขาผู้นั้นซึ่งคำนึงถึงศักดิ์ศรีในฐานะตัวแทนของประเทศย่อมต้องรู้สึกว่า นอกจากจะไม่ได้รับความถูกต้องแล้ว ยังเป็นการดูแคลนประเทศของตนด้วยในสมัยก่อน ผู้ที่ทำหน้าที่ชี้ขาดในเรื่องลำดับอาวุโสของบรรดาประมุขของรัฐทั้งหลาย คือสมเด็จพระสันตะปาปา ต่อมาในการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาเมื่อปี ค.ศ. 1815 ที่ประชุมได้ตกลงกันให้ถือวันที่เดินทางมาถึงประเทศผู้รับ และได้แจ้งให้ทราบเป็นทางการว่าเป็นเรื่องลำดับอาวุโส ผู้ที่มาถึงก่อนย่อมมีอาวุโสกว่าผู้ทีมาทีหลัง อย่างไรก็ดี มาในทุกวันนี้มีหลายประเทศถือหลักว่า ผู้แทนทางการทูตที่ยื่นสารตราตั้งก่อนจะมีอาวุโสกว่าผู้ยื่นสารตราตั้งที หลัง และในกรณีที่เกิดความเห็นไม่ลงรอยกันระหว่างบุคคลในคณะทูตเรื่องลำดับอาวุโส ประเทศเจ้าภาพหรือประเทศผู้รับจะเป็นผู้ตัดสินชี้ขาดอนุสัญญากรุงเวียนนาว่า ด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติเกี่ยวกับลำดับอาวุโสของผู้แทนทางการ ทูตไว้ดังนี้ ?ข้อ 16 1. ให้หัวหน้าคณะผู้แทนมีลำดับอาวุโสในแต่ละชั้นของตนตามลำดับวันและเวลาที่ เข้ารับการหน้าที่ของตนในรัฐผู้รับ เมื่อตนได้ยื่นสารตราตั้ง หรือเมื่อได้บอกกล่าวการมาถึงของตนและได้เสนอสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้ง ต่อกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงตามแนวปฏิบัติที่มีอยู่ในรัฐผู้รับ ซึ่งจะต้องใช้ในทำนองอันเป็นเอกรูป 2. การเปลี่ยนแปลงในสารตราตั้งของหัวหน้าคณะผู้แทน ซึ่งไม่เกี่ยวพันกับการเปลี่ยนแปลงชั้นใด ๆ จะไม่กระทบกระเทือนลำดับอาวุโสของหัวหน้าคณะผู้แทน 3. ข้อนี้ไม่เป็นที่เสื่อมเสียแก่ทางปฏิบัติใด ซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับ ในเรื่องลำดับอาวุโสของผู้แทนของโฮลี่ซี ข้อ 17 ลำดับอาวุโสของสมาชิกคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายทูตของคณะผู้แทนนั้น ให้หัวหน้าคณะผู้แทนเป็นผู้บอกกล่าวแก่กระทรวงการต่างประเทศ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกัน? [การทูต]
Political Appointeeหมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งด้วยเหตุผลทางการเมือง คือ ผู้ที่มิได้มีอาชีพทางการทูตโดยแท้ได้รับแต่งตั้งให้เป็นทูต ซึ่งต่างกับนักการทูตอาชีพ (Career diplomat) ในประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมนี และสหภาพโซเวียต ธรรมเนียมปฏิบัติโดยทั่วไปจะแต่งตั้งเฉพาะบุคคลที่มีอาชีพนักการทูตแท้ ๆ เข้าดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตและอัครราชทูต อย่างไรก็ดี เฉพาะในกรณีพิเศษจริง ๆ เท่านั้นจึงจะแต่งตั้งบุคคลจากภายนอก และบุคคลจากภายนอกที่ได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตได้รับผลสำเร็จในการ ปฏิบัติหน้าที่ก็มีอยู่หลายราย ทั้งในประเทศไทยและประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก แฮโรลด์ นิโคลสัน ได้ให้ความเห็นไว้ในหนังสือเรื่องการทูตของท่านว่า ในประเทศใหญ่ ๆ เป็นที่พึงปรารถนาอย่างยิ่งที่จะให้นักการทูตอาชีพเท่านั้นเป็นผู้รับผิดชอบ ในการดำเนินนโยบายการต่างประเทศ เพราะได้ผ่านการศึกษาและฝึกฝนในวิชาการทูตมาเป็นอย่างดีแล้ว ส่วนเอกอัครราชทูตที่แต่งตั้งจากคนภายนอกจะมีข้อเสียบางอย่าง เช่น ในการเขียนรายงานไปยังรัฐบาล เช่น รายงานการเมือง เขาอาจมุ่งแต่จะอวดความเฉียบแหลมของเขาเอง และร้อยกรองคำอย่างไพเราะเพราะพริ้ง มากกว่าที่จะมุ่งเสนอรายงานข้อเท็จจริงอย่างรอบคอบและมีเหตุผลอันสมควร เป็นต้น [การทูต]
The Great Wonders of Suwannabhumiโครงการสิ่งมหัศจรรย์แห่งสุวรรณภูมิ หมายถึง โครงการพัฒนาการท่องเที่ยวระหว่างกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคที่นับถือศาสนาพุทธ อันประกอบด้วย ไทย ลาว กัมพูชา และพม่า โดยร่วมกันจัดรายการนำเที่ยวในโบราณสถานที่สำคัญต่าง ๆ ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งมหัศจรรย์ของ 4 ประเทศ ได้แก่ วัดพระศรีรัตนศาสดารามในกรุงเทพฯ นครวัดในกัมพูชา โบราณสถานในพุกาม/มัณฑะเลย์ในพม่า และแขวงหลวงพระบางในลาว เพื่อที่จะดึงดูดชาวต่างชาติให้มาสนใจในดินแดนแห่งนี้ และนำมาซึ่งการพัฒนาสถานที่ดังกล่าว รวมทั้งยังจะเป็นการเชื่อมโยงการเดินทางระหว่าง 4 ประเทศอย่างสมบูรณ์ โครงการนี้เสนอโดย ฯพณฯ ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศลาว กัมพูชา และพม่า เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2542 ในระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียนอย่างไม่เป็นทางการ ครั้งที่ 3 ที่กรุงมะนิลา [การทูต]
Work of the United Nations on Human Rightsงานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก [การทูต]
Auditor’s opinionความเห็นผู้สอบบัญชี [การบัญชี]
Qualified opinionความเห็นแบบมีเงื่อนไข [การบัญชี]
blogบล็อก, ระบบการบันทึกข้อมูลลำดับเหตุการณ์ในแต่ละวัน ประสบการณ์ ความคิดของผู้เขียนบล็อกผ่านเว็บไซต์ ในรูปแบบการนำเสนอหัวข้อ ซึ่งผู้อื่นสามารถอ่านและแสดงความเห็นได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
ได้รับความเห็นชอบ[dāirap khwām henchøp] (v, exp) EN: meet with approval ; get approval
การลงความเห็น[kān long khwām hen] (n, exp) EN: conclusion ; coming to a conclusion  FR: conclusion [ f ]
ความเห็น[khwāmhen] (n) EN: opinion ; view ; viewpoint ; idea ; suggestion ; assumption ; belief ; thought ; understanding  FR: opinion [ f ] ; avis [ m ] ; idée [ f ] ; jugement [ m ] ; appréciation [ f ] ; point de vue [ m ]
ความเห็นชอบ[khwām henchøp] (n, exp) EN: right understanding  FR: compréhension juste [ f ]
ความเห็นใจ[khwām henjai] (n) EN: sympathy ; pity ; compassion ; commiseration  FR: sympathie [ f ]
ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ[khwāmhen khøng phūchīochān] (n, exp) EN: expert opinion  FR: avis de l'expert [ m ]
ความเห็นของประชาคมโลก[khwāmhen khøng prachākhom lōk] (n, exp) EN: global opinion
ความเห็นแย้ง[khwāmhen yaēng] (n, exp) EN: dissenting opinion  FR: opinion divergente [ f ]
มีความเห็น[mī khwām hen] (v, exp) EN: have an opinion ; reckon  FR: avoir une opinion
สรุปความเห็น[sarup khwāmhen] (v, exp) EN: conclude

English-Thai: Longdo Dictionary
IMHO(phrase, slang) ย่อมาจาก In My Humble Opinion หมายถึง ในความเห็นอันต่ำต้อยของข้าพเจ้านั้น..., เป็นศัพท์แสลงยุคอินเทอร์เน็ต
blog(n) เว็บไซด์ที่ให้บริการบันทึกข้อมูลส่วนตัว โดยอาจจะเป็นข้อความ, ความเห็น, ข้อคิด, อักษรประดิษฐ์, รูปภาพ, เสียงเพลง ก็ได้ ซึ่งบุคคลทั่วไปสามารถเข้ามาเยี่ยมชมตลอดจนสามารถใส่ความเห็นส่วนตัวต่อเจ้าของบันทึกได้, See also: weblog, web diary, Syn. online diary
my two cents(phrase) เป็นสำนวน ย่อมาจาก "to put my two cents in" ใช้กล่าวก่อนจะแสดงความเห็นของตน โดยเป็นการถ่อมตัวว่า ความเห็นของตนอาจจะไม่ได้มีค่าอะไรมาก (เงิน 2 cents เป็นจำนวนที่น้อยมาก) ก่อนจะให้ความเห็นที่อาจจะแย้งกับความเห็นของอีกฝ่าย เช่น "If I may put my two cents in, that hat doesn't do you any favors." แปลว่า หมวกใบนั้นไม่สวย ไม่เหมาะกับคุณ หรือ "My two cents is that you should sell that stock now." คุณควรจะขายหุ้นนั้นทิ้งซะตอนนี้ (ที่มา http://en.m.wikipedia.org/wiki/My_two_cents)

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
accord(vi,, vt) เห็นด้วย, See also: ยอมตกลงกัน, มีความเห็นสอดคล้อง, Syn. reconcile
acquiescence(n) การยอมตาม, See also: การยอมรับ, ความเห็นพ้อง, Syn. submission, resignation
agreement(n) ข้อตกลง, See also: ความตกลง, ความยินยอม, ความเห็นพ้อง, Syn. recognition, approval
altruism(n) ความไม่เห็นแก่ตัว, See also: ความเห็นแก่ผู้อื่น, Syn. selflessness
angle(n) แง่มุมในการพิจารณา, See also: แง่ ความเห็น, มุมมอง, Syn. standpoint, outlook, perspective
approval(n) ความเห็นพ้อง, See also: ความยินยอมพร้อมใจ, ความเห็นชอบด้วย
ascribe(vt) ลงความเห็นว่าเป็นของ
association(n) ความคิดที่เชื่อมโยง, See also: ความเห็นที่เชื่อมโยง, Syn. train of thought, chain of ideas
attitude(n) ทัศนคติ, See also: ความคิดเห็น, ทัศนะ, ความเห็น, Syn. opinion, viewpoint
avarice(n) ความโลภ, See also: ความเห็นแก่ได้, ความละโมบ, Syn. cupidity
adhere to(phrv) ศรัทธาต่อ (ความคิด, ความเชื่อ, ความเห็น), See also: เชื่อมั่นต่อ ความเชื่อ, ความคิด, แผนงาน อย่างแน่วแน่, ยึด, ยึดตาม, ทำตาม, Syn. cleave to, cling onto, cling to, hold to, keep to, stick to, stay with, Ant. depart from, deviate from
advise on(phrv) แนะนำ (บางคน) ให้ทำบางสิ่ง, See also: แนะให้ปฏิบัติ, ให้ความเห็น, Syn. advise about
against someone's will(idm) ปราศจากความเห็นพ้อง
commentate(vi) ออกความเห็น, Syn. comment
compassion(n) ความเห็นใจ, See also: ความรู้สึกเศร้าใจไปกับความทุกข์ของผู้อื่น, Syn. sympathy, empathy, pity
condolement(n) การแสดงความเสียใจต่อผู้อื่น, See also: การแสดงความเห็นใจ, Syn. condolence, sympathy, pity
condolence(n) การแสดงความเสียใจต่อผู้อื่น, See also: การแสดงความเห็นใจ, Syn. condolement, sympathy, pity
charge off(phrv) ลงความเห็นว่า
deduce from(phrv) สรุปจาก, See also: อนุมานจาก, ลงความเห็นจาก, Syn. infer from
divide on(phrv) มีความเห็นต่างกันในเรื่อง
decisive(adj) ซึ่งลงความเห็นแล้ว, See also: ซึ่งแน่นอน, ซึ่งตัดสินแล้ว, Syn. conclusive, convincing, final, indisputable, undeniable
deduct(vi) ลงความเห็น (ตามหลักเหตุผล), See also: อนุมาน, สรุป, Syn. deduce, derive, infer
democratism(n) ความเห็นเป็นประชาธิปไตย
determination(n) การตัดสินใจ, See also: การตกลงใจ, การลงความเห็น, การสรุป, Syn. judgement, conclusion
determine(vt) ตัดสินใจ, See also: ตกลงใจ, ลงความเห็น, Syn. decide, settle, purpose, intend
discuss(vt) สนทนา, See also: แลกเปลี่ยนความเห็น, ปรึกษาหารือ, อภิปราย, ถกเถียง, ถกปัญหา, Syn. consult, analyze, criticize, confabulate
discussion(n) การสนทนา, See also: การปรึกษาหารือ, การอภิปราย, การประชุม, การแลกเปลี่ยนความเห็น, การอภิปราย, Syn. consulation, argument, conference, seminar
dissentient(n) ผู้ที่ไม่เห็นด้วย, See also: ผู้ที่มีความเห็นขัดแย้ง, Syn. opposer
dogmatism(n) การคิดว่าความเห็นของตนเองถูกต้อง, See also: การยึดเอาตนเป็นหลัก
enlightenment(n) การตรัสรู้, See also: ความเห็นแจ้ง, การรู้แจ้งเห็นจริง
feeling(n) ความเข้าใจ, See also: ความรัก, ความเห็นใจ, ความเมตตา
find(vi) ตัดสิน (ในศาล), See also: ตัดสินชี้ขาด, ลงความเห็น
generalize about(phrv) ลงความเห็นเกี่ยวกับ, See also: พูดกว้างๆเกี่ยวกับ
go down(phrv) ได้รับความเห็นชอบ, See also: ได้รับการอนุมัติ, Syn. come across
go through(phrv) ขอความเห็นชอบจาก, See also: ได้รับการอนุมัติจาก
infer from(phrv) ลงความเห็นจาก, See also: สรุปจาก, อนุมานจาก, Syn. deduce from, generalize from
heresy(n) ความเห็นนอกรีต, Syn. misbelief
have a heart of gold(idm) มีความเห็นอกเห็นใจ, See also: มีความเมตตากรุณา
in my bookในความคิดของ, See also: ตามความเห็นของ
in one's book(idm) ในความเห็นของ (บางคน), See also: ตามความเห็นของ บางคน
milk of hum kindness(idm) ความเมตตาปราณีผู้อื่น, See also: ความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น
rate someone(idm) ประเมินว่าดี, See also: ให้ความเห็นว่าชอบ
reach an agreement (with someone)(idm) เห็นด้วยหลังจากถกเถียงมานาน, See also: ยอมรับความเห็น
send up a trial balloon(idm) ลองฟังเสียงตอบรับก่อน, See also: ทดลองดูความเห็นของคนทั่วไปก่อน
to someone's way of thinking(idm) ในความเห็น, See also: ใคความคิด
judge between(phrv) ตัดสินใจระหว่าง (ว่าสิ่งไหนดีกว่ากัน), See also: ลงความเห็นระหว่าง, ชี้ขาดระหว่าง
kick about(phrv) พยายามลงความเห็น (คำไม่เป็นทางการ), See also: พิจารณา, Syn. kick round
kick around(phrv) พยายามลงความเห็น (คำไม่เป็นทางการ), See also: พิจารณา, Syn. kick round
judge(vt) ตัดสิน, See also: พิจารณา, ลงความเห็น, Syn. consider, reckon
lonely(adj) ขาดความเห็นใจ, See also: ขาดการสนับสนุน, ขาดความช่วยเหลือ, ขาดมิตรภาพ, ขาดแรงกระตุ้น

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
advance(แอดวานซ'ฺ) vt., vi., n. นำหรือส่งไปข้างหน้า, ก้าวหน้า, เสนอความเห็น, เจริญ, เลื่อน (ตำแหน่ง) , เพิ่ม (อัตรา) , เร่ง, จัดให้, ยก (ธง) , ล่วงหน้า, อ้าง, ทาบทาม, เกี้ยว, Syn. forward
advert(แอดเวอท') vi. ให้ความเห็น, หันความสนใจ, กล่าวถึง, พูดถึง, Syn. heed, refer
advice(แอดไวสฺ') n. คำแนะนำ, ข้อคิดเห็น, ความเห็น, ความประพฤติ, การบอกข่าว, ข่าว, รายงาน, Syn. counsel, notification
advise(แอดไวซ) vt., vi. แนะนำ, เตือน, ให้ความเห็น, บอก ข่าว, ให้คำปรึกษา, Syn. direct
agreement(อะกรี' เมินทฺ) n. การตกลง, การยินยอม, การเห็นด้วย, ข้อตกลง, สัญญา, ความเห็น ตรงกัน, Syn. pact, consent, alliance
ah(อา) interj. โอย, อะฮ้า! (คำอุทานแสดงความเจ็บปวดความประหลาดใจ ความเห็นด้วยความสงสาร การบ่น ความยินดี ฯลฯ)
appealing(อะพีล'ลิง) adj. ดึงดูดความสนใจ (ความต้องการ, ความอยากรู้อยากเห็น, ความเห็นใจ) -appealingness n., Syn. attractive, charming, pleasing, Ant. repulsive
ascribe(อะสไครบ') vt. ให้เหตุผล, ลงความเห็นว่าเป็นของสันนิษฐาน, Syn. credit, attribute
ascription(อัสคริพ'เชิน) n. การให้เหตุผล, การลงความเห็นว่าเป็นของ, Syn. description
bowel(เบา'เอิล) n. ลำไส้, ส่วนของลำไส้, ส่วนใน, ความสงสาร, ความเห็นใจ vt. ถ่ายท้อง
comment(คอม'เมินทฺ) { commented, commenting, comments } n., vi., vt. (ให้) ข้อคิดเห็น, ความเห็น, ข้อสังเกต, คำอธิบาย, คำวิจารณ์, See also: commenter n.
commentator(คอม'เมินเทเทอะ) n. ผู้วิจารณ์, ผู้ออกความเห็น, ผู้อธิบาย, ผู้บรรยายข่าว, Syn. critic
compassion(คัมแพซ'เชิน) n. ความสงสาร, ความเวทนา, ความเห็นอกเห็นใจ, Syn. pity
compassionate(คัมแพช'เชินเนท) adj. มีความสงสาร, มีความเวทนา, มีความเห็นอกเห็นใจ, See also: compassionateness n.ดูcompassionate, Syn. tender-hearted, sympathetic, Ant. ruthless
computer vendor groupกลุ่มผู้ขายเครื่องคอมพิวเตอร์หมายถึงกลุ่มบุคคลที่ทำงานด้านการขายเครื่องคอมพิวเตอร์ มักใช้ในกรณีที่ต้องการแยกให้เห็นความแตกต่างกับกลุ่มผู้ใช้ (user group) ทั้งสองกลุ่มมักจะรวมตัว กันเพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะและความเห็นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ในมุมและทัศนะที่แตกต่างกันดู computer user group เปรียบเทียบ
concent(คันเซนทฺ') n. ความเห็นพ้อง, ความลงรอยกัน, Syn. harmony
conclude(คันคลูด') { concluded, concluding, concludes } vt. ลงเอย, สิ้นสุดลง, สรุป, ลงมติ, ตัดสินใจ. vi. สิ้นสุดลง, ลงเอย, ลงความเห็น, ตัดสินใจ, Syn. finish, infer, deduce
consent(คันเซนทฺ') { consented, consenting, consents } n. การอนุญาต, ความเห็นชอบ, การยินยอม. vt. อนุญาต, เห็นชอบ, ยินยอม -Id. (Silence gives consent การนิ่งเฉยคือการเห็นด้วย), Syn. compliance, Ant. dissent
consideration(คันซิดเดอเร'เชิน) n. การพิจารณา, การครุ่นคิด, สิ่งที่ควรพิจารณา, การชดเชย, ความเห็นใจคนอื่น, ความสำคัญ, ความนับถือ, Syn. thinking
consonance(คอน'ซะเนินซฺ) n. ความเห็นพ้อง, ความลงรอยกัน, เสียงประสาน., Syn. consonancy, Ant. dissonance
conspectusn. ปริทรรศน์, การมองหรือความเห็นอย่างกว้าง ๆ , การสำรวจ, ข้อสรุป, บทสรุป
consult(คันซัลทฺ') { consulted, consulting, consults } v. ปรึกษา, หารือ, ขอความเห็น, ปรึกษาหมอ, พิจารณา, ปรึกษากับตรวจ, ค้น n. (คอน'ซัลทฺ, คันซัลทฺ') การปรึกษา, See also: consultable adj. ดูconsult consulter n., Syn. confer
deduce(ดิดิวซฺ') vt. อนุมานจาก, ลงความเห็นหรือสรุปจาก., See also: duducibility n. ดูdeduce duducibleness n. ดูdeduce deducible adj. ดูdeduce
dissentient(ดิเซน'เชินทฺ) adj., n. (ผู้) ซึ่งมีความเห็นไม่ตรงกัน, ซึ่งคัดค้าน, แตกแยก, See also: dissentience n. ดูdissentient dissentiency n. ดูdissentient
dissident(ดิส'ซิเดินทฺ) n. ซึ่งไม่เห็นด้วย, ซึ่งไม่ลงรอยกัน, ซึ่งมีความเห็นไม่พ้องกัน. n. ผู้ที่ไม่เห็นด้วย, ผู้ที่มีความเห็นไม่พ้องกัน, Syn. protestor, dissenter, nonconformist
ego(เอก'โก, อี'โก) n. อัตตา, ตัวเอง, อัตมา, ความเห็นแก่ตัว, Syn. self, egotism -pl. egos
egoism(เอก'โกอิสซึม, อี-) n. ลัทธิอัตตา, คตินิยมตน, ความเห็นแก่ตัว, ลัทธิเห็นแก่ตัว, See also: egoistic adj. ดูegoism egoistical adj. ดูegoism, Syn. egotism
favor(ฟะ'เวอะ) n. ความกรุณา, การกระทำที่กรุณา, ความสงเคราะห์, ความประทับใจ, ความนิยม, ความเข้าข้าง, ไมตรีจิต, บุญคุณ, การสนับสนุน, ความเห็นพ้อง, ของขวัญ, ของระลึก, เครื่องหมาย, โบ, สิทธิพิเศษ. -Phr. (in favo (u) r of สนับสนุน, เข้าข้าง) . -Phr. (in one's favo (u) r เพื่อผลประโยชน
favour(ฟะ'เวอะ) n. ความกรุณา, การกระทำที่กรุณา, ความสงเคราะห์, ความประทับใจ, ความนิยม, ความเข้าข้าง, ไมตรีจิต, บุญคุณ, การสนับสนุน, ความเห็นพ้อง, ของขวัญ, ของระลึก, เครื่องหมาย, โบ, สิทธิพิเศษ. -Phr. (in favo (u) r of สนับสนุน, เข้าข้าง) . -Phr. (in one's favo (u) r เพื่อผลประโยชน
feeling(ฟีล'ลิง) n. ความรู้สึก, ความคิดเห็น, ความรู้สึกสัมผัส, อารมณ์, จิตใจ, ความเห็นใจ, ความสำนึก. adj. ไว (ความรู้สึก) , เห็นใจ, มีอารมณ์., See also: feelingly adv. feelingness n., Syn. sensation
find(ไฟดฺ) { found, found, finding, finds } vt. พบ, ประสบ, หา, ได้รับ, จัดหา, ไปถึง, ตัดสิน, ชี้ขาด, บรรลุ, ก่อให้เกิด. vi. รู้สึก, เห็นว่า, ตัดสิน, ชี้ขาด, ลงความเห็น., See also: find oneself รู้ถึงความสามารถของตนและรู้วิธีใช้มัน. -Phr. all found ทุกสิ่งทุกอย่างที่ต้อง หาเป็นคำสั่งหนึ่งที่ให้ตรวจค้นหาข้อมูลที่ต้องการในแฟ้มใดแฟ้มหนึ่ง ถ้าเป็นโปรแกรมประมวลผลคำ word processing เราอาจค้นหาได้เป็นคำ ๆ ไป ถ้าเป็นโปรแกรมฐานข้อมูล database management เราจะสามารถค้นหาไปทีละระเบียน record บางทีอาจใช้หมายถึงการค้นหาแฟ้มข้อมูลว่าเก็บไว้ในสารบบ directory ใด เป็นคำสั่งหนึ่งในระบบวินโดว์ด้วย อยู่ใต้เมนู File มีความหมายเหมือน search
freemasonry(ฟรี'เมเซินรี) n. การร่วมสงเคราะห์ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน, ความเห็นอกเห็นใจกัน, ความสามัคคี
generalisationn. ลักษณะทั่วไป, หลักการหรือกฎเกณฑ์ทั่วไป, การพูดคลุม, การลงความเห็น, การวางหลักเกณฑ์, Syn. generality, majority
generalisevt. วางหลัก, พูดคลุม, ทำให้เป็นลักษณะทั่วไป, ลงความเห็น. vi. ลงความเห็นทั่วไป, พูดคลุม., See also: generalizer, generaliser n.
generalizationn. ลักษณะทั่วไป, หลักการหรือกฎเกณฑ์ทั่วไป, การพูดคลุม, การลงความเห็น, การวางหลักเกณฑ์, Syn. generality, majority
generalizevt. วางหลัก, พูดคลุม, ทำให้เป็นลักษณะทั่วไป, ลงความเห็น. vi. ลงความเห็นทั่วไป, พูดคลุม., See also: generalizer, generaliser n.
geniality(จีนีแอล'ลิที) n. ความใจดี, ความเห็นอกเห็นใจคนอื่น, ความร่าเริงเบิกบานใจ, ความมีมิตรไมตรีจิต, Syn. cheerfulness, kindliness -A.cheerlessness
good(กูด) adj. ดี, กรุณา -Id. (all in good time ถูกกาลเทศะ, เหมาะเจาะ) n. คุณค่า, ผลประโยชน์, ความดีเลิศ, ความกรุณา, See also: goods n. สินค้า. -Phr. for good ตลอดไป interj. คำอุทานแสดงความพอใจหรือความเห็นด้วย, ดี -adv. ดี. -S...
imperception(อิมเพอเซพ' เชิน) n. การไร้ความรู้สึก, อำนาจที่ด้อยลงในการรับความรู้สึก (สำเหนียกได้ยิน, ความเข้าใจ, ความเห็น) ., See also: imperceptive adj. imperceptivity, imperceptiveness n., Syn. blemish, fault
infer(อินเฟอร์') vt. อนุมาน, สรุป, ส่อให้เห็น, ลงความเห็น, ชี้ให้เห็นว่า, แนะนำ, อนุมาน, สรุป., See also: inferable, inferible, inferrible adj. inferably adv. inferrer n.
judgement(จัดจฺ'เมินทฺ) n. การพิจารณา, การพิจารณาอรรถคดี, การตัดสิน, การลงความเห็น, ความเห็น, คำวินิจฉัย, การพิพากษาครั้งสุดท้ายของพระเจ้าที่มีต่อมนุษย์ทั้งหลาย, วาระสุดท้ายของโลก (หรือ Last judg (e) ment), Syn. consideration, ruling, opinion, wisdom
judgment(จัดจฺ'เมินทฺ) n. การพิจารณา, การพิจารณาอรรถคดี, การตัดสิน, การลงความเห็น, ความเห็น, คำวินิจฉัย, การพิพากษาครั้งสุดท้ายของพระเจ้าที่มีต่อมนุษย์ทั้งหลาย, วาระสุดท้ายของโลก (หรือ Last judg (e) ment), Syn. consideration, ruling, opinion, wisdom
martyr(มาร์'เทอะ) n. ผู้ยอมรับการทรมานจากความตายแต่ไม่ยอมละทิ้งซึ่งศาสนา ความเชื่อหรืออุดมการณ์ของตัว, ผู้ได้รับการทรมานอย่างรุนแรงหรือเนืองนิจ, ผู้เรียกร้องความเห็นอกเห็นใจหรือความสนใจโดยแสร้งได้รับความทุกข์ทรมานหรืออื่น ๆ, See also: martyrly adv. adj.
notice(โน'ทิส) { noticed, noticing, notices } n. ข่าวสาร, ข้อความที่เตือน, หมายเหตุ, ข้อสังเกต, การเตือน, การสังเกต, ความสนใจ. vt. สังเกต, ระวัง, แจ้งความ, ประกาศ, แจ้งล่วงหน้า, ออกความเห็น, ให้ความสนใจ, Syn. remark, note, heed
observation(ออบเซอเว'เชิน) n. การสังเกต, การปฏิบัติตามกฎหรือระเบียบหรือหน้าที่, ข้อสังเกต, ความเห็น, ข้อเตือนใจ, ข้อมูล, ข้อความ, ข่าว, สิ่งที่ได้จากการสังเกต, Syn. perception
opinionated(อะพิน'เยินเนทิด) adj. ดื้อดึง, มีความเห็นที่ยึดแน่น, See also: opinionatedness n.
pity(พิท'ที) n. ความสงสาร, ความเมตตา, ความเห็นอกเห็นใจ -Phr. (take (have) on pity แสดงความปรานีต่อ) vt., vi. รู้สึกสงสาร, รู้สึกเมตตาเห็นอกเห็นใจ., Syn. sympathy
point of viewความเห็น, แง่คิด, Syn. standpoint
pronouncement(พระเนาซฺ'เมินทฺ) n. การประกาศ, การแถลง, คำประกาศ, คำแถลง, ข้อคิดเห็น ความเห็น, การออกเสียง
public opinionn. มติมหาชน, ความเห็นโดยทั่วไปของสาธารณชน

English-Thai: Nontri Dictionary
advise(vt) แนะนำ, ให้ความเห็น, ให้คำปรึกษา, ตักเตือน
ascribe(vt) อ้าง, ให้เหตุผล, สันนิษฐาน, ลงความเห็น
ascription(n) การอ้าง, การให้เหตุผล, การสันนิษฐาน, การลงความเห็น
comment(n) คำวิจารณ์, คำอธิบาย, ความเห็น, ข้อสังเกต
comment(vt) วิจารณ์, อธิบาย, ให้ข้อสังเกต, เสนอความเห็น
commentary(n) คำวิจารณ์, คำอธิบาย, ความเห็น, คำบรรยาย
commentator(n) ผู้วิจารณ์, ผู้ออกความเห็น, ผู้อธิบาย, ผู้บรรยาย
commiseration(n) ความสงสาร, ความเวทนา, ความสังเวช, ความเห็นอกเห็นใจ
compassion(n) ความสงสาร, ความสมเพช, ความเวทนา, ความเห็นอกเห็นใจ
compassionate(adj) มีความสงสาร, มีความเห็นอกเห็นใจ, มีความเวทนา
consensus(n) ความลงรอยกัน, ความสอดคล้อง, ความเห็นส่วนใหญ่, มติมหาชน, เอกฉันท์
consent(n) ความเห็นชอบ, การอนุมัติ, ความยินยอม
consideration(n) การพิจารณา, การครุ่นคิด, การคำนึงถึง, ความเห็นอกเห็นใจ
consult(vt) ปรึกษาหารือ, พิจารณา, ขอความเห็น
current(n) กระแส, ความเห็น, กระแสน้ำ, กระแสลม
deduce(vt) อ้างจาก, อนุมานจาก, ลงความเห็นจาก, พิจารณาเหตุผลจาก
deem(vi) เชื่อว่า, เห็นว่า, ถือว่า, รู้สึกว่า, คิดว่า, เข้าใจว่า, ลงความเห็นว่าน
egoism(n) ความเห็นแก่ตัว, ลัทธิอัตตานิยม, คตินิยมตนเอง
generalize(vt) กล่าวอย่างกว้างๆ, วางหลัก, ลงความเห็น, พูดคุย
infer(vt) ลงความเห็น, วินิจฉัย, สรุป, อนุมาน, แสดง
inference(n) การลงความเห็น, การวินิจฉัย, การสรุป, การอนุมาน, การแสดง
judge(vt) พิพากษา, ตัดสิน, พิจารณา, วิจารณ์, ลงความเห็น
mercy(n) ความเห็นใจ, ความกรุณาปรานี, ความเมตตา
misconceive(vt) มีความเห็นที่ผิด, เข้าใจผิด
misconception(n) ความเข้าใจผิด, ความเห็นผิด
notice(vt) สังเกตเห็น, ประกาศ, ออกความเห็น, แจ้งล่วงหน้า, สนใจ
observation(n) การสังเกต, ความเห็น, ข้อมูล
observer(n) ผู้ตรวจการ, ผู้สังเกตการณ์, ผู้ออกความเห็น
opine(vi) ออกความเห็น, แสดงความคิดเห็น
pity(n) ความสงสาร, ความเวทนา, ความเมตตา, ความสมเพช, ความเห็นใจ
proposal(n) ข้อเสนอ, การขอแต่งงาน, การเสนอความเห็น, คำขอ
propose(vi) เสนอความเห็น, ขอแต่งงานด้วย
remorse(n) ความเสียใจ, ความสำนึกผิด, ความสงสาร, ความเห็นใจ
sake(n) ประโยชน์, เหตุ, เป้าหมาย, ความเห็นแก่สิ่งใดสิ่งหนึ่ง
SELF-self-interest(n) ความเห็นแก่ตัว, ประโยชน์ส่วนตัว
selfishness(n) ความเห็นแก่ตัว
sentimentality(n) ความซาบซึ้ง, ความเห็นอกเห็นใจ
standpoint(n) แง่คิด, ความเห็น, หลัก, ทัศนคติ, จุดยืน
sympathy(n) ความสงสาร, ความเห็นอกเห็นใจ, การเข้าข้าง, ความพอใจ
theory(n) ทฤษฎี, กฎ, หลัก, ข้อสมมุติ, เหตุผล, ความเห็น

English-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Barrister(n) เนติบริกร เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายประจำศาลในระบบคอมมอนลอว์ มีหน้าที่ว่าความในศาลและให้ความเห็นด้านกฎหมายต่อศาล, Syn. Advocate
co-opt(vt) แต่งตั้งโดยได้รับความเห็นชอบ
grean[เกรียน] (n, adv) เป็นนิสัยหนึ่งของบุคคลยังไม่พ้นจากทางโลก ไม่รับฟังความเห็นผู้อื่น ตั้งตนเองเป็นหลัก มีความคิดอยู่ในฝันของตนเอง มีผู้อื่นยกย่องเห็นในตวามสามารถในด้านถนัดของตนเองแล้วมีความสุข
groundswells(n) ความเห็นของคนส่วนใหญ่
milk of hum kindness(phrase) ความเมตตาปราณี, ความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น
milk of human kindnessความเมตตาปราณี, ความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น
milk of human kindness(phrase) ความเมตตาปราณี, ความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น
triteness(n) (คำพูด, ภาษิต, ความเห็น)ที่มีผู้พูดกันมากมายจนเบื่อหู
validate(n) ทำให้คนๆ หนึ่งรู้สึกว่าตัวเองมีคุณค่า หรือรู้สึกว่าแนวคิดหรือความเห็นของเขามีคุณค่า

Japanese-Thai: Longdo Dictionary
幸い[さいわい, saiwai] (adj) ดีใจ, ยินดี, พอใจ เช่น ご意見を頂ければ幸いです。ถ้าได้รับความเห็นจากท่านจะยินดีมาก, Syn. 嬉しい
意見[いけん, iken] (n) ความเห็น

Japanese-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
自分本位[じぶんほんい, jibunhon'i] (n) ความเห็นแก่ตัว
言論[げんろん, genron] (n) [ N ] การสนทนา, See also: การปรึกษาหารือ, การอภิปราย, การประชุม, การแลกเปลี่ยนความเห็น, การอภิปราย, Syn. consulation, argument, conference, seminar
言論[げんろん, genron] (n) [ N ] การสนทนา, See also: การปรึกษาหารือ, การอภิปราย, การประชุม, การแลกเปลี่ยนความเห็น, การอภิปราย, Syn. consulation, argument, conference, seminar

Japanese-Thai-English: Saikam Dictionary
述べる[のべる, noberu] TH: แสดงความเห็น  EN: to express
下す[くだす, kudasu] TH: ลง(ความเห็น)  EN: to lower

German-Thai: Longdo Dictionary
Ansicht(n) |die, pl. Ansichten| ความเห็น
Idee(n) |die, pl. Ideen| ความคิด, ความเห็น, ไอเดีย
Meinung(n) die, pl. Meinungen| ความเห็น
sich äußern(vt) |äußerte sich, hat sich geäußert| พูด หรือ แสดงความคิดเห็น เช่น Ich möchte mich über unsere Teamarbeit äußern. = ผมอยากจะแสดงความเห็นในเรื่องงานที่เราทำด้วยกัน หรือ งานกลุ่ม ( กริยา ตามด้วย กรรมตรง เช่น mich ในประโยคตัวอย่าง ), See also: meinen, sagen, das Gefühl erklären, die Meinung geben, A. schw, Syn. die Meinung sagen
gefallen(vi, vt) |gefällt, gefiel, hat gefallen| ถูกใจ, พึงพอใจ, ชอบ เช่น 1° Es gefällt mir nicht, wenn du noch eine rauchst! = ฉันไม่ชอบนะ ที่คุณจะสูบบุหรี่อีก 2° Wie gefällt Ihnen der Film The Beach? = คุณชอบหนังเรื่อง เดอะ บีช อย่างไร (ถามแบบต้องการให้อธิบายความเห็น )
Mitleid(n) |das, nur Sg.| ความเห็นใจ, ความสงสาร เช่น Ich habe Mitleid mit ihr. ฉันรู้สึกเห็นอกเห็นใจเธอคนนั้น

German-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
die Zustimmung, -en(n) เสียงสนับสนุน/ความเห็นพ้องต้องกัน

French-Thai: Longdo Dictionary
d'accord(phrase) ตกลง, เห็นด้วย, โอเค (เป็นวลีที่ใช้บ่งแสดงความเห็นพ้องหรือความเข้าใจ)

French-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
convaincre(vi, vt) ทำให้เชื่อหรือเลื่อมใส, โน้มน้าวใจ ( โดยส่วนใหญ่แล้วเนื่องจากผู้พูดต้องการหรืออยากจะทำอะไรบางอย่าง ที่ควรจะได้รับการอนุญาต หรือ ความเห็นด้วยก่อน ), Syn. persuader

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?



Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top