ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -roen-, *roen* Possible hiragana form: ろえん |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ |
| roentgen | (เรนทฺ'เกิน, เรนทฺ'เจิน, รันทฺ'เจิน) เอกซฺเรย์หรือแกมมาเรย์ (R, r), Syn. Rontgen | electroencephalogram | n. ภาพกระแสไฟฟ้า | gastroenteritis | n. กระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบ, See also: gastroenteritic adj. | groenendael | (โกร'นันดาล) n. สุนัขเบลเยี่ยมพันธุ์หนึ่งมีขนยาว สีดำ เป็นสุนัขคุมแกะ |
| | roentgen | เรินต์เกน, หน่วยวัดปริมาณรังสีเอกซ์ หรือรังสีแกมมา [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Roentgen equivalent man | หน่วยเดิมที่ใช้วัดปริมาณรังสีสมมูล, เป็นผลคูณระหว่างปริมาณรังสีดูดกลืนที่มีหน่วยเป็นแร็ด กับค่าปรับเทียบที่แตกต่างกันตามชนิดและพลังงานของรังสี (อาร์บีอี) สำหรับรังสีเอกซ์หรือแกมมา ค่าปรับเทียบมีค่าใกล้เคียงกับ 1 (ในทางปฏิบัติใช้ค่า 1) นั่นคือ เมื่อรังสีก่อไอออนชนิดใดก็ตามที่ก่อให้เกิดผลทางชีวภาพต่อเซลล์ที่มีชีวิตเทียบเท่ากับการรับรังสีเอกซ์หรือแกมมา 1 แร็ด เรียกว่าได้รับปริมาณรังสีสมมูล 1 เรม ปัจจุบันหน่วยเรมนี้ใช้หน่วยซีเวิร์ตแทน โดย 1 ซีเวิร์ตเท่ากับ 100 เรม (ดู equivalent dose, H$_T$ และ sievert, Sv ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Roentgen rays | รังสีเรินต์เก็น, รังสีในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มีอำนาจทะลุทะลวงสูงไม่ได้มีต้นกำเนิดจากนิวเคลียสของอะตอม แต่เกิดขึ้นเมื่ออะตอมถูกกระตุ้น ทำให้อิเล็กตรอนวงในหลุดออกไป และอิเล็กตรอนวงถัดไปเข้ามาแทนที่ แล้วให้พลังงานส่วนเกินออกมาในรูปของรังสีเอกซ์ หรือเกิดจากการระดมยิงเป้าโลหะหนักบางชนิด เช่น ทังสเตน ด้วยอิเล็กตรอนความเร็วสูง ซึ่งอิเล็กตรอนจะถูกหน่วงให้ช้าลงอย่างทันทีทันใดและปล่อยรังสีเอกซ์ออกมา บางคน เรียกรังสีเอกซ์ว่า รังสีเรินต์เก็น ตามชื่อของ วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เก็น นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันผู้ค้นพบรังสีนี้เมื่อ ปี พ.ศ. 2438 [นิวเคลียร์] |
| อำนาจเจริญ | [Amnāt Jaroēn] (n, prop) EN: Amnat Charoen FR: Amnat Charoen | จังหวัดอำนาจเจริญ | [Jangwat Amnāt Jaroēn] (n, prop) EN: Amnat Charoen province FR: province de Amnat Charoen [ f ] | เขตภาษีเจริญ | [Khēt Phāsī Jaroēn] (n, prop) EN: Phasi Charoen district | ปริญญา เจริญผล (น้องตุ้ม) | [Parinyā Jaroēnphon (Nøng Tum)] (n, prop) EN: Parinya Charoenphol (Nong Thoom, Nong Toom or Nong Tum) FR: Parinya Charoenphol (Nong Thoom, Nong Toom ou Nong Tum) | เรินต์เกเนียม | [roēnkēnīem] FR: roentgenium [ m ] | สภาพแวดล้อมจุลภาค | [saphāpwaētløm junlaphāk] (n, exp) EN: microenvironment ; micro environment | ถนนเจริญกรุง | [Thanon Jaroēn Krung] (n, prop) EN: Charoen Krung Road ; Thanon Charoen Krung |
| | | roentgen | (n) a unit of radiation exposure; the dose of ionizing radiation that will produce 1 electrostatic unit of electricity in 1 cc of dry air, Syn. R | roentgen | (n) German physicist who discovered x-rays and developed roentgenography (1845-1923), Syn. Wilhelm Konrad Roentgen, Rontgen, Wilhelm Konrad Rontgen | roentgenium | (n) a radioactive transuranic element, Syn. atomic number 111, element 111, Rg | roentgenogram | (n) a radiogram made by exposing photographic film to X rays; used in medical diagnosis, Syn. X ray, X-ray picture, X-ray, X-ray photograph | roentgenographic | (adj) relating to or produced by roentgenography | roentgenography | (n) radiography that uses X-rays to produce a roentgenogram, Syn. X-ray photography |
| Roentgen | a. Of or pertaining to the German physicist Wilhelm Konrad Röntgen, or the rays discovered by him; as, Röntgen apparatus. [ Webster 1913 Suppl. ] | Roentgenize | v. t. (Physics) To render (air or other gas) conducting by the passage of Röntgen rays. [ Webster 1913 Suppl. ] | Roentgen ray | the Anglicised spelling of Röntgen ray. Same as X ray. [ PJC ] | Roentgen ray | . [ see Röntgen. ] (Physics) An X-ray; originally, the term was applied to any of the rays produced when cathode rays strike upon surface of a solid (as the wall of the vacuum tube), but now it refers specifically to electromagnetic radiation having wavelengths from 10-3 nm to 10 nm, immediately below ultraviolet radiation on the wavelength scale. Röntgen rays are noted for their penetration of opaque substances, as wood and flesh, their action on photographic plates, and their fluorescent effects. They were called X rays by their discoverer, W. K. Röntgen. They are one of the forms of ionizing radiation, which can have damaging effects on living cells. They also ionize gases, but cannot be reflected, or polarized, or deflected by a magnetic field. They are used in examining opaque objects, especially in medicine for visualizing organs and other objects inside the human body, as for locating fractures or bullets, and examining internal organs for abnormalities. [ Webster 1913 Suppl. +PJC ] |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |