ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -มัชฌ-, *มัชฌ* |
(เนื่องจากผลลัพธ์จากการค้นหา -มัชฌ- มีน้อย ระบบได้ทดลองค้นหาใหม่โดยใส่ดอกจันทน์ (wild-card) ให้โดยอัตโนมัติ: *มัชฌ*) |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ฌาณ | (n) ฌาณ หรือ อธิจิต(supraconscious) เป็นจิตที่เป็นที่สุดของปัญญา คือความรู้ชัดธรรมชาติของมนุษย์ว่านี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา(คือความรู้มรรค 8 การคิดปฏิบัติเพื่อดับทุกข์) เป็นจิตที่อยู่เหนือและสามารถ ควบคุมหรือข่ม ได้ทั้งจิตสำนึก(consious) และจิตใต้สำนึก(subconsious) ซึ่งเป็นความรู้ที่สูดของวิญญาณคือความรู้แจ้งของธรรมชาติของมนุษย์ว่า นี้สุข นี้ทุกข์ นี้มิใช่ทุกข์ มิใช่สุข อธิจิตใช้สำหรับดับกิเลส ซึ่งสามารถทำให้เกิดนิมิตขึ้นมาได้ เพื่อดับกิเลสในเวลาที่เกิดกิเลสขึ้น พระผู้มีพระภาค(พระพุทธเจ้า)ได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ไว้ในพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์๑๐. วิตักกสัณฐานสูตรว่าด้วย อาการแห่งวิตก การเรียกอธิจิตของตนเอง ถ้าไม่มีพรสวรรค์หรือบารมีที่สะสมมาแต่ปางก่อน จะเรียกไม่ได้ เพราะจิตยังไม่มั่นคงพอ จะต้องเรียนรู้และทำความเพียรที่ทนได้ยาก ฝึกฝน จนเกิดความชำนาญ ซึ่งข้าพเจ้ามีความสามารถที่จะให้คนทั่วไปเรียกอธิจิตของตนเองได้ เช่นให้ผู้ป่วยเรียกอธิจิตของเขาออกมารักษาโรคภัยไข้เจ็บทั้งทางกายและใจของเขาที่เป็นอยู่ โดยสั่งให้จิตของเขาตกอยู่ในภาวะภวังค์ ด้วยการสั่งระงับจิตหยาบที่ทำให้เขาเกิดโรคทั้งทางกายและทางใจ เพื่อเขาจะได้มีจิตที่มั่นคงถึงอธิจิตแล้วสั่งยาหรือภูมิต้านทานในตัวของเขาออกมารักษาโรค ซึ่งได้ผลดีกว่าแพทย์แผนปัจจุบัน และแพทย์ทางเลือกวิธีอื่น นี่คือประโยชน์จากการเรียกหรือฝึกเรียกอธิจิตของตนเอง ซึ่งพระพุทธเจ้าสามารถเรียก Stem cell ในพระวรกายของพระองค์ออกมารักษาโรคได้นานมาแล้วหรือมากกว่า 2554 ปี ส่วนนักวิทยาศาสตร์พึ่งจะมาค้นพบวิธีใช้ Stem cell รักษาบางโรคเมื่อ 50 ปีมานี้เอง การรักษายังมีข้อบ่กพร่องและเงื่อนไขในการรักษาเพื่อจะได้ผลลัพท์จนเป็นที่น่าพอใจของแพทย์อยู่อีกมาก แต่วิธีของพระพุทธองค์ไม่มีเงื่อนไข ถ้าคนป่วยสามารถเรียกอธิจิตของตนเองได้ ข้าพเจ้าได้ใช้อธิจิตรักษา โรคปวดตามอวัยวะและโรคหวัดป่วยของข้าพเจ้าเอง และรักษาโรคปวดและอัมพาลให้กับคนป่วยแล้วหลายราย ซึ่งได้รับผลเป็นที่น่าพอใจของข้าพเจ้าและของคนป่วย |
|
| มัชฌิม | (adj) middle, See also: moderate, medium, intermediate, mean, Syn. กลาง, ปานกลาง, Example: ในยามมัชฌิมวัยข้าพเจ้าได้ท่านเจ้าคุณที่คอยปกป้องดูแลรักษา, Notes: (บาลี) | มัชฌิมา | (n) middle finger, Syn. นิ้วกลาง, พระมัชฌิมา, Example: เจ้าหญิงทรงพระธำมรงค์มรกตประจำราชวงศ์บนพระมัชฌิมา, Notes: (บาลี) | มัชฌิมา | (adj) moderate, See also: middle, Syn. ปานกลาง, มัชฌิม, Example: เวลาจะทำอะไร เราควรยึดหลักมัชฌิมาเอาไว้, Notes: (บาลี) | มัชฌิมประเทศ | (n) Central Indian, Syn. อินเดียตอนกลาง, Example: พระพุทธรูปแบบนี้ เราได้แบบมาจากมัชฌิมประเทศ | มัชฌิมาปฏิปทา | (n) middle path, See also: middle way, moderate practice, Syn. ทางสายกลาง, Example: มัชฌิมาปฏิปทาเป็นแนวทางการดำเนินชีวิตที่สำคัญของชาวพุทธ, Thai Definition: ความประพฤติสายกลาง คือ ไม่ตึงเกินไปและไม่หย่อนเกินไป, ข้อปฏิบัติปานกลาง คือ มรรค 8, Notes: (บาลี) |
| ตนุมัชฌา, ตนุมัธยมา, ตนุมัธยา | (-มัดชา, -มัดทะยะ-, -มัดทะยา) น. ชื่อฉันท์ชนิดหนึ่ง. (ป. ตนุมชฺฌา; ส. ตนุมธฺยมา, ตนุมธฺยา) | มัชฌ- | (มัดชะ-) น. ท่ามกลาง. | มัชฌันติก- | (มัดชันติกะ-) น. เวลาเที่ยงวัน, คู่กับ วิมัชฌันติก ว่า เวลาเที่ยงคืน. | มัชฌันติกสมัย | น. เวลาเที่ยงวัน. | มัชฌิม- | (มัดชิมะ-, มัดชิมมะ-, มัดชิม-) ว. ปานกลาง. | มัชฌิมชนบท | น.ในสมัยพุทธกาลหมายถึง ดินแดนส่วนกลางของประเทศอินเดียอันเป็นที่อยู่ของพวกอริยกะ เป็นถิ่นที่อุดมสมบูรณ์ เป็นที่ตั้งนครใหญ่ ๆ เป็นศูนย์กลางการปกครอง และเป็นที่ประชุมของนักปราชญ์ คณาจารย์ เจ้าลัทธิต่าง ๆ. | มัชฌิมนิกาย | น. ชื่อคัมภีร์นิกายที่ ๒ แห่งพระสุตตันตปิฎก แปลว่า หมวดปานกลาง รวบรวมพระสูตรขนาดปานกลางไว้ในหมวดนี้. | มัชฌิมบุรุษ | น. ชายที่มีวัยปานกลาง, ชายที่มีอายุและกำลังปานกลาง. | มัชฌิมประเทศ | (มัดชิมะ-, มัดชิม-) น. ประเทศอินเดีย, ตามแบบหมายถึงอินเดียตอนกลาง. | มัชฌิมภูมิ | (-พูม) น. ระดับชั้นของพระภิกษุที่มีพรรษาระดับกลาง คือ ตั้งแต่ ๕ ถึง ๙ พรรษา อยู่ระหว่าง นวกภูมิ กับ เถรภูมิ. | มัชฌิมยาม | น. ยามกลาง, ในบาลีแบ่งคืนเป็น ๓ ยาม กำหนดยามละ ๔ ชั่วโมง เรียกว่า ปฐมยาม มัชฌิมยาม ปัจฉิมยาม มัชฌิมยาม กำหนดเวลาตั้งแต่ ๔ ทุ่ม หรือ ๒๒ นาฬิกา ถึงตี ๒ หรือ ๒ นาฬิกา. | มัชฌิมวัย | น. วัยกลางคน. | มัชฌิมา | ว. ปานกลาง, ไม่ยิ่งไม่หย่อน, เช่น พอเป็นมัชฌิมา. | มัชฌิมา | น. นิ้วกลาง เรียกว่า พระมัชฌิมา. | มัชฌิมาปฏิปทา | น. ทางสายกลาง. | มัชฌิมา | ดู มัชฌิม-. | มัชฌิมาปฏิปทา | ดู มัชฌิม-. | กุฎ, กุฎา | (กุด, กุดา) น. ยอด เช่น มัชฌิมากุฎาประมาณ (สมุทรโฆษ). | เถรภูมิ | (เถระพูม) น. ระดับชั้นของพระภิกษุที่มีพรรษาระดับสูง คือตั้งแต่ ๑๐ พรรษาขึ้นไป อยู่ต่อจาก นวกภูมิ กับ มัชฌิมภูมิ. | ทางสายกลาง | น. มรรคมีองค์ ๘ อันเป็นทางสายเดียวที่จะนำไปสู่ความดับทุกข์ ประกอบด้วย ๑. สัมมาทิฐิ ความเห็นชอบ ๒. สัมมาสังกัปปะ ความดำริชอบ ๓. สัมมาวาจา การเจรจาชอบ ๔. สัมมากัมมันตะ การกระทำชอบ ๕. สัมมาอาชีวะ การเลี้ยงชีวิตชอบ ๖. สัมมาวายามะ ความพยายามชอบ ๗. สัมมาสติ ความระลึกชอบ ๘. สัมมาสมาธิ ความตั้งใจมั่นชอบ รวมเรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา แปลว่า ทางสายกลาง | นวกภูมิ | (นะวะกะพูม) น. ระดับชั้นของพระภิกษุที่มีพรรษาระดับต้น คือต่ำกว่า ๕ พรรษา อยู่ก่อน มัชฌิมภูมิ กับ เถรภูมิ. | นิกาย | เรียกคัมภีร์พระสุตตันตปิฎกที่แยกออกเป็น ๕ หมวดใหญ่ คือ ทีฆนิกาย มัชฌิมนิกาย สังยุตนิกาย อังคุตรนิกาย ขุทกนิกาย. | นิ้ว | น. ส่วนสุดของมือหรือเท้าแต่ละข้าง แยกออกเป็น ๕ กิ่ง คือ นิ้วหัวแม่มือ นิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนาง นิ้วก้อย, ราชาศัพท์ว่า พระอังคุฐ พระดัชนี พระมัชฌิมา พระอนามิกา พระกนิษฐา โดยลำดับ, ถ้าเป็นนิ้วเท้านิ้วต้น เรียกว่า นิ้วหัวแม่เท้า นอกนั้นอนุโลมเรียกตามนิ้วมือ | ปฏิปทา | น. ทาง, ทางดำเนิน, เช่น มัชฌิมาปฏิปทา คือ ทางสายกลาง | ปฐมยาม | (ปะถมมะ-) น. ยามต้น, ในบาลีแบ่งคืนออกเป็น ๓ ยาม กำหนดยามละ ๔ ชั่วโมง เรียกว่า ปฐมยาม มัชฌิมยาม และปัจฉิมยาม ปฐมยามกำหนดเวลาตั้งแต่ย่ำค่ำ หรือ ๑๘ นาฬิกา ถึง ๔ ทุ่ม หรือ ๒๒ นาฬิกา. | ปัจจันตประเทศ | น. ประเทศปลายเขตแดน, ในวินัยหมายถึงที่อยู่นอกออกไปจากมัชฌิมประเทศ. | ปัจฉิมยาม | (ปัดฉิมมะ-) น. ยามหลัง, ยามสุดท้าย, ในบาลีแบ่งคืนออกเป็น ๓ ยาม กำหนดยามละ ๔ ชั่วโมง เรียกว่า ปฐมยาม มัชฌิมยาม และปัจฉิมยาม ปัจฉิมยามกำหนดเวลาตั้งแต่ตี ๒ หรือ ๒ นาฬิกา ถึงย่ำรุ่ง หรือ ๖ นาฬิกา. | มรรค, มรรค-, มรรคา | ในพระพุทธศาสนา เป็นชื่อแห่งโลกุตรธรรม คู่กับ ผล มี ๔ ชั้น คือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค อรหัตมรรค, ทางที่จะนำไปสู่ความพ้นทุกข์ เป็น ๑ ในอริยสัจ ๔ ได้แก่ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ และมรรค เรียกเต็มว่า มรรคมีองค์ ๘ ประกอบด้วย สัมมาทิฐิ–ความเห็นชอบ ๑ สัมมาสังกัปปะ–ความดำริชอบ ๑ สัมมาวาจา–การเจรจาชอบ ๑ สัมมากัมมันตะ–การงานชอบ ๑ สัมมาอาชีวะ–การเลี้ยงชีวิตชอบ ๑ สัมมาวายามะ–ความพยายามชอบ ๑ สัมมาสติ–ความระลึกชอบ ๑ สัมมาสมาธิ–ความตั้งใจชอบ ๑ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า มัชฌิมาปฏิปทา คือ ทางสายกลาง. | มัธยมา | (มัดทะยะมา) ว. มัชฌิมา, ปานกลาง. | ยาม, ยาม- | ในบาลีแบ่งกลางคืนเป็น ๓ ยาม ยามหนึ่งมี ๔ ชั่วโมง เรียกว่า ปฐมยาม มัชฌิมยาม และปัจฉิมยาม | อัษฎางคิกมรรค | (อัดสะดางคิกะมัก) น. ทางปฏิบัติเพื่อความดับทุกข์ตามหลักพระพุทธ-ศาสนา ประกอบด้วยองค์ ๘ คือ ๑. สัมมาทิฐิ ความเห็นชอบ ๒. สัมมาสังกัปปะ ความดำริชอบ ๓. สัมมาวาจา การเจรจาชอบ ๔. สัมมากัมมันตะ การงานชอบ ๕. สัมมาอาชีวะ การเลี้ยงชีวิตชอบ ๖. สัมมาวายามะ ความพยายามชอบ ๗. สัมมาสติ ความระลึกชอบ ๘. สัมมาสมาธิ ความตั้งใจชอบ เรียกว่า อริยมรรคมีองค์ ๘ รวมเรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา แปลว่า ทางสายกลาง. | อาบัติ | น. โทษที่เกิดจากการล่วงละเมิดสิกขาบทหรือข้อห้ามแห่งภิกษุ มี ๗ อย่าง คือ ปาราชิก สังฆาทิเสส ถุลลัจจัย ปาจิตตีย์ ปาฏิเทสนียะ ทุกกฎ ทุพภาษิต มีโทษ ๓ สถาน คือ ๑. โทษสถานหนัก เรียกว่า ครุโทษ หรือ มหันตโทษ ทำให้ภิกษุผู้ต้องอาบัติขาดจากความเป็นภิกษุ ได้แก่ อาบัติปาราชิก ซึ่งเรียกว่า ครุกาบัติ ๒. โทษสถานกลาง เรียกว่า มัชฌิมโทษ ทำให้ภิกษุผู้ต้องอาบัติต้องอยู่กรรมก่อนจึงจะพ้นโทษ ได้แก่ อาบัติสังฆาทิเสส และ ๓. โทษสถานเบา เรียกว่า ลหุโทษ ทำให้ภิกษุผู้ต้องอาบัติที่ตํ่ากว่าอาบัติสังฆาทิเสสต้องปลงอาบัติ คือ บอกอาบัติของตนแก่ภิกษุด้วยกัน ได้แก่ อาบัติถุลลัจจัย ปาจิตตีย์ ปาฏิเทสนียะ ทุกกฏ และทุพภาษิต ซึ่งเรียกว่า ลหุกาบัติ. |
| law of excluded middle | กฎนิรมัชฌิม [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | law of excluded middle | กฎนิรมัชฌิม [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | assumed mean | มัชฌิมสมมุติ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | aquatint mezzotint | ๑. กลวิธีพิมพ์มัชฌิมรงค์อย่างสีน้ำ๒. ภาพพิมพ์มัชฌิมรงค์อย่างสีน้ำ [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | A.M. (arithmetic mean) | เอเอ็ม (มัชฌิมเลขคณิต) [ มีความหมายเหมือนกับ arithmetic average ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | arithmetic mean | ค่าเฉลี่ยเลขคณิต, มัชฌิมเลขคณิต [ ดู arithmetic average ] [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | arithmetic mean (A.M.) | มัชฌิมเลขคณิต (เอเอ็ม) [ มีความหมายเหมือนกับ arithmetic average ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | mature stream | ธารมัชฌิมวัย [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | mean | มัชฌิม, ตัวกลาง, ค่าเฉลี่ย [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | mean | มัชฌิม [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | mean | มัชฌิม, ค่าเฉลี่ย [ มีความหมายเหมือนกับ average ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | mezzotint | ๑. กลวิธีพิมพ์มัชฌิมรงค์๒. ภาพพิมพ์มัชฌิมรงค์ [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | mean value theorem | ทฤษฎีบทค่ามัชฌิม [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | mean, doctrine of the | หลักมัชฌิม [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | mesocrystalline | เนื้อมัชฌิมผลึก [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | mesosphere | มัชฌิมภาค [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | mean of maxima | มัชฌิมค่าสูงสุด [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | mean proportional | สัดส่วนมัชฌิม [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | middle way | ทางสายกลาง, มัชฌิมาปฏิปทา [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | medium | ๑. ตัวกลาง, มัชฌิม๒. สาร [ มีความหมายเหมือนกับ substance ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | doctrine of the mean | หลักมัชฌิม [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | G.M. (geometric mean) | จีเอ็ม (มัชฌิมเรขาคณิต) [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | geometric mean | ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต, มัชฌิมเรขาคณิต [ ดู geometric average ] [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | geometric mean (G.M.) | มัชฌิมเรขาคณิต (จีเอ็ม) [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | excluded middle, law of | กฎนิรมัชฌิม [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | excluded middle, law of | กฎนิรมัชฌิม [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | extreme and mean ratio | อัตราส่วนค่าสุดขีดกับค่ามัชฌิม [ มีความหมายเหมือนกับ golden ratio ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | harmonic mean (H.M.) | มัชฌิมฮาร์มอนิก (เอชเอ็ม) [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | H.M. (harmonic mean) | เอชเอ็ม (มัชฌิมฮาร์มอนิก) [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | weighted mean | ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก, มัชฌิมถ่วงน้ำหนัก [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | way, middle | ทางสายกลาง, มัชฌิมาปฏิปทา [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Mature River | แม่น้ำอยู่ตัว, แม่น้ำมัชฌิมวัย, Example: แม่น้ำที่ความลาดชันลดลง จนความเร็ว ของน้ำมีเพียงแค่พอดีพัดพาขยะ ซึ่งมาจากลำน้ำสาขาที่มีความลาดมากกว่าให้ไหลไป [สิ่งแวดล้อม] | Arithmetic Mean | มัชณิมเลขคณิต, มัชฌิมเลขคณิต [การแพทย์] | geometric mean (G.M.) | ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต (มัชฌิมเรขาคณิต), ค่ากลางของข้อมูลชุดหนึ่งใช้อักษรย่อ G.M. หาได้จากสูตร เมื่อ Xi เป็นข้อมูลตัวที่ i และ N เป็นจำนวนข้อมูลทั้งหมด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | harmonic mean (H.M.) | มัชฌิมฮาร์มอร์นิก (เอชเอ็ม), ค่ากลางของข้อมูลชุดหนึ่งที่ได้จากการหารจำนวนข้อมูลทั้งหมดด้วยผลบวกของส่วนกลับของข้อมูลชุดนั้น ใช้อักษรย่อ H.M. [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Mean | ค่าเฉลี่ย, ค่าของตัวกลาง, คะแนนเฉลี่ย, ค่าเฉลี่ยเลขคณิต, มัชณิมเลขคณิต, ค่ามัชฌิม [การแพทย์] | Mean, Geometric | มัชฌิมเรขาคณิต, ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต [การแพทย์] | Media, Light-Transmitting | มัชฌิมที่แสงผ่านในลูกตา [การแพทย์] | Medium | ตัวกลาง, ตัวกลาง, มัชฌิม, วัตถุที่ใช้ผลิต [การแพทย์] |
| มัชฌิม- | [matchima- = matchim-] (pref, (adj)) EN: middle ; middling ; medium ; moderate ; intermediate FR: moyen | มัชฌิมา | [matchimā] (adj) EN: middle ; moderate | มัชฌิมาปฏิปทา | [Matchimāpatippathā] (n, prop) EN: The Middle Path | มัชฌิมประเทศ | [Matchimaprathēt = Matchimaprathēt] (n, prop) EN: India ; Central India | พรรคมัชฌิมาธิปไตย | [Phak Matchimāthipatai] (org) EN: Matchimathipataya ; Matchima FR: Matchimathipataya ; Matchima | เวลามัชฌิมกรีนิช | [wēlā matchima Krīnit] (n, exp) EN: Greenwich Mean Time (GMT) FR: temps moyen de Greenwich [ m ] |
| | medium | (มี'เดียม) n. สายกลาง, ภาวะที่อยู่ตรงกลาง, สิ่งที่อยู่ระหว่างกลาง, สื่อ, มัชฌิม, สิ่งที่แสงหรือเสียงผ่านไป, ที่อยู่สิ่งมีชีวิต, สิ่งแวดล้อม, วิธีการ, อาหารเพาะเชื้อ. adj. ซึ่งอยู่ระหว่างกลาง, เป็นสายกลาง pl. media, Syn. mean, means |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |