ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -อุปะ-, *อุปะ* |
(เนื่องจากผลลัพธ์จากการค้นหา อุปะ มีน้อย ระบบได้ทดลองค้นหาใหม่โดยใส่ดอกจันทน์ (wild-card) ให้โดยอัตโนมัติ: *อุปะ*) |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ อุปะ | (อุปะ, อุบปะ) คำประกอบหน้าศัพท์ที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต แปลว่า เข้าไป, ใกล้, รอง, เช่น อุปราช อุปนายก. | กลอุปกรณ์ | (กนอุปะกอน, กนอุบปะกอน) น. อุปกรณ์เชิงกลที่ออกแบบหรือผลิตขึ้นเพื่อใช้ในกิจการอย่างใดอย่างหนึ่ง. | มหาอุปราช | (มะหาอุปะหฺราด, -อุบปะหฺราด) น. ตำแหน่งรัชทายาทที่จะสืบราชสมบัติของพระมหากษัตริย์ เรียกว่า พระมหาอุปราช หรือเรียกกันอย่างสามัญว่า วังหน้า | โสตทัศนอุปกรณ์ | (โสตะทัดสะนะอุปะกอน, โสดทัดสะนะอุบปะกอน) น. อุปกรณ์การสอนสำหรับฟังและดู เช่นวิทยุ โทรทัศน์, ใช้ว่า โสตทัศนูปกรณ์ ก็มี. | อปโลกน์ ๑, อุปโลกน์ | (อะปะโหฺลก, อุปะโหฺลก, อุบปะโหฺลก) ก. ยกกันขึ้นไป เช่น อุปโลกน์ให้เป็นหัวหน้า. | อุปกรณ์ | (อุปะกอน, อุบปะกอน) น. เครื่องมือ, เครื่องใช้, เครื่องช่วย, เครื่องประกอบ | อุปกรม | (อุปะกฺรม) น. การเข้าใกล้, การตั้งต้น, การพยายาม. | อุปการ- ๑, อุปการะ | (อุปะการะ-, อุบปะการะ-) น. ความช่วยเหลือเกื้อกูล, ความอุดหนุน, คู่กับ ปฏิการะ = การสนองคุณ, การตอบแทนคุณ. | อุปการ- ๑, อุปการะ | (อุปะการะ-, อุบปะการะ-) ก. ช่วยเหลือเกื้อกูล, อุดหนุน. | อุปการี | (อุปะ-, อุบปะ-) น. ผู้ช่วยเหลือ, ผู้อุดหนุน, หญิงใช้ว่า อุปการิณี. | อุปการ ๒ | (อุปะกาน, อุบปะกาน) น. เรียกม้าที่ปล่อยในพิธีอัศวเมธ ว่า ม้าอุปการ. | อุปกาศ | (อุปะกาด, อุบปะกาด) ก. แจ้งข่าว เรื่อง หรือข้อความ เช่น เขือไปอุปกาศแล้ว เขือมา (ลอ), ร้องอุปกาศสารแก่กรุงสญชัยปิตุราช (ม. ร่ายยาว หิมพานต์). | อุปกิเลส | (อุปะกิเหฺลด) น. เครื่องทำใจให้เศร้าหมอง มี ๑๖ อย่าง มี อภิชฌาวิสมโลภ เป็นต้น. | อุปจาร | (อุปะจาน) น. การเข้าใกล้, ที่ใกล้, บริเวณรอบ ๆ เช่น อุปจารวัด. | อุปถัมภ์ | (อุปะถำ, อุบปะถำ) น. การคํ้าจุน, การคํ้าชู, การสนับสนุน, การเลี้ยงดู. | อุปถัมภ์ | (อุปะถำ, อุบปะถำ) ก. คํ้าจุน, คํ้าชู, สนับสนุน, เลี้ยงดู. | อุปถัมภก | (อุปะถำพก, อุบปะถำพก) น. ผู้คํ้าจุน, ผู้ค้ำชู, ผู้สนับสนุน, ผู้เลี้ยงดู. | อุปทม | (อุปะทม, อุบปะทม) น. กามโรค. | อุปทูต | (อุปะทูด, อุบปะทูด) น. ผู้รักษาการในตำแหน่งหรือรักษาการแทนหัวหน้าสถานเอกอัครราชทูตหรือหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต | อุปเทศ | (อุปะเทด, อุบปะเทด) น. การชี้แจง, การสั่งสอน, การแนะนำ | อุปเทศ | (อุปะเทด, อุบปะเทด) ก. สอน, ชี้แจง, แนะนำ. | อุปเท่ห์ | (อุปะเท่, อุบปะเท่) น. อุบายดำเนินการ, วิธีดำเนินการ. | อุปธิ | (อุปะทิ) น. กิเลส, ความพัวพัน, เหตุแห่งการเวียนเกิด | อุปนัย | (อุปะ-, อุบปะ-) น. วิธีการใช้เหตุผลที่ดำเนินจากส่วนย่อยไปหาส่วนรวม เช่น นาย ก. เกิดมาแล้วต้องตาย นาย ข. เกิดมาแล้วต้องตาย นาย ค. เกิดมาแล้วต้องตาย เพราะฉะนั้นมนุษย์ทุกคนเกิดมาแล้วต้องตาย, ตรงข้ามกับ นิรนัย. | อุปนิกขิต, อุปนิกษิต | (อุปะนิกขิด, อุปะนิกสิด) ก. เก็บไว้, รักษาไว้. | อุปนิกขิต, อุปนิกษิต | (อุปะนิกขิด, อุปะนิกสิด) น. คนสอดแนม, จารชน. | อุปนิษัท | (อุปะ-, อุบปะ-) น. ชื่อคัมภีร์ภาษาสันสกฤตกลุ่มหนึ่ง คัมภีร์อุปนิษัทรุ่นแรกเป็นพื้นฐานของศาสนาพราหมณ์ที่สอนว่าทุกสิ่งทุกอย่างออกมาจากอาตมัน. | อุปนิสัย | (อุปะนิไส, อุบปะนิไส) น. ความประพฤติที่เคยชินเป็นพื้นมาในสันดาน เช่น ก่อนที่พระพุทธเจ้าจะเสด็จไปเทศน์โปรดผู้ใดจะต้องทรงพิจารณาถึงอุปนิสัยของผู้นั้นก่อน, ความประพฤติที่เคยชินจนเกือบเป็นนิสัย เช่น นักเรียนคนนี้มีอุปนิสัยดี. | อุปบัติ | (อุปะบัด, อุบปะบัด) น. การเข้าถึง เช่น คติอุปบัติ = การเข้าถึงคติ, การเกิด. | อุปปาติกะ | (อุปะปาติกะ, อุบปะปาติกะ) น. ผู้เกิดผุดขึ้นโดยไม่ต้องอาศัยพ่อแม่ อาศัยอดีตกรรม ได้แก่เทวดา พรหม สัตว์นรก เปรต อสุรกาย, โอปปาติกะ ก็เรียก. | อุปพัทธ์ | (อุปะ-, อุบปะ-) ก. เนื่อง, เนื่องกัน. | อุปพัทธ์ | (อุปะ-, อุบปะ-) ว. ที่เนื่องกัน. | อุปพันธ์ | (อุปะ-, อุบปะ-) น. การติดต่อ, การร่วม | อุปโภค | (อุปะโพก, อุบปะโพก) ก. เอามาใช้ให้เกิดประโยชน์, คู่กับ บริโภค. | อุปโภค | (อุปะโพก, อุบปะโพก) ว. ที่เอามาใช้ให้เกิดประโยชน์ ในคำว่า เครื่องอุปโภค. | อุปมา | (อุปะ-, อุบปะ-) น. สิ่งหรือข้อความที่ยกมาเปรียบ, มักใช้เข้าคู่กับ อุปไมย ในประโยคเช่น เรื่องนี้มีอุปมาฉันใด อุปไมยก็ฉันนั้น. | อุปมา | (อุปะ-, อุบปะ-) ก. เปรียบเทียบ. | อุปมาน | (อุปะ-, อุบปะ-) น. การเปรียบเทียบสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน. | อุปมาอุปไมย | (อุปะมาอุปะไม, อุบปะมาอุบปะไม) น. การเปรียบเทียบกัน. | อุปไมย | (อุปะไม, อุบปะไม) น. สิ่งหรือข้อความที่พึงเปรียบเทียบกับสิ่งอื่นเพื่อให้เข้าใจแจ่มแจ้ง, คู่กับ อุปมา. | อุปยุวราช | (อุปะยุวะราด, อุบปะยุวะราด) น. ตำแหน่งเจ้าในนครล้านช้างรองพระเจ้าแผ่นดิน แต่อยู่เหนืออุปราช. | อุปโยค | (อุปะโยก, อุบปะโยก) น. การใช้สอย, การทำให้เกิดประโยชน์. | อุปโยคบุรพบท | (อุปะโยคะบุบพะบด, -บุระพะบด) น. ในไวยากรณ์หมายถึงคำนำหน้ากรรมการก. | อุปรากร | (อุปะรากอน, อุบปะรากอน) น. ละครเพลงประเภทหนึ่ง ดำเนินเรื่องด้วยการร้องเพลงผสมผสานการบรรเลงจากวงดุริยางค์. | อุปราคา | (อุปะราคา, อุบปะราคา) น. การทำให้ดำ, การทำให้มีมลทิน, ในคำว่า จันทรุปราคา สุริยุปราคา. | อุปราช | (อุปะหฺราด, อุบปะหฺราด) น. ผู้สำเร็จราชการต่างพระองค์ประจำภาคหนึ่ง ๆ ในอาณาจักร. | อุปริ | (อุปะริ, อุบปะริ) คำประกอบหน้าศัพท์ภาษาบาลีและสันสกฤต แปลว่า เบื้องบน ข้างบน. | อุปริม- | (อุปะริมะ-, อุบปะริมะ-) ว. อยู่สูงสุด, เบื้องบนที่สุด. | อุปโลกน์ | (อุปะโหฺลก, อุบปะโหฺลก) ก. ยกกันขึ้นเป็น เช่น อุปโลกน์ให้เป็นหัวหน้า, อปโลกน์ ก็ว่า. | อุปเวท | (อุปะเวด, อุบปะเวด) น. คัมภีร์ “พระเวทรอง” ของอินเดียโบราณ เนื้อหามีลักษณะเป็นวิทยาการ ไม่นับว่าเป็นคัมภีร์ศาสนา ได้แก่ อายุรเวท (วิชาแพทย์ ถือว่าเป็นสาขาของคัมภีร์อถรรพเวทหรืออาถรรพเวท) ธนุรเวท (วิชายิงธนูและการใช้อาวุธอื่น ถือว่าเป็นสาขาของคัมภีร์ยชุรเวท) คันธรรพเวทหรือคานธรรพเวท (วิชาการดนตรี ถือว่าเป็นสาขาของคัมภีร์สามเวท) และสถาปัตยเวท (วิชาการก่อสร้าง ไม่ระบุว่าเป็นสาขาของคัมภีร์พระเวทใด). |
| อุปะ | (อุปะ, อุบปะ) คำประกอบหน้าศัพท์ที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต แปลว่า เข้าไป, ใกล้, รอง, เช่น อุปราช อุปนายก. | กลอุปกรณ์ | (กนอุปะกอน, กนอุบปะกอน) น. อุปกรณ์เชิงกลที่ออกแบบหรือผลิตขึ้นเพื่อใช้ในกิจการอย่างใดอย่างหนึ่ง. | มหาอุปราช | (มะหาอุปะหฺราด, -อุบปะหฺราด) น. ตำแหน่งรัชทายาทที่จะสืบราชสมบัติของพระมหากษัตริย์ เรียกว่า พระมหาอุปราช หรือเรียกกันอย่างสามัญว่า วังหน้า | โสตทัศนอุปกรณ์ | (โสตะทัดสะนะอุปะกอน, โสดทัดสะนะอุบปะกอน) น. อุปกรณ์การสอนสำหรับฟังและดู เช่นวิทยุ โทรทัศน์, ใช้ว่า โสตทัศนูปกรณ์ ก็มี. | อปโลกน์ ๑, อุปโลกน์ | (อะปะโหฺลก, อุปะโหฺลก, อุบปะโหฺลก) ก. ยกกันขึ้นไป เช่น อุปโลกน์ให้เป็นหัวหน้า. | อุปกรณ์ | (อุปะกอน, อุบปะกอน) น. เครื่องมือ, เครื่องใช้, เครื่องช่วย, เครื่องประกอบ | อุปกรม | (อุปะกฺรม) น. การเข้าใกล้, การตั้งต้น, การพยายาม. | อุปการ- ๑, อุปการะ | (อุปะการะ-, อุบปะการะ-) น. ความช่วยเหลือเกื้อกูล, ความอุดหนุน, คู่กับ ปฏิการะ = การสนองคุณ, การตอบแทนคุณ. | อุปการ- ๑, อุปการะ | (อุปะการะ-, อุบปะการะ-) ก. ช่วยเหลือเกื้อกูล, อุดหนุน. | อุปการี | (อุปะ-, อุบปะ-) น. ผู้ช่วยเหลือ, ผู้อุดหนุน, หญิงใช้ว่า อุปการิณี. | อุปการ ๒ | (อุปะกาน, อุบปะกาน) น. เรียกม้าที่ปล่อยในพิธีอัศวเมธ ว่า ม้าอุปการ. | อุปกาศ | (อุปะกาด, อุบปะกาด) ก. แจ้งข่าว เรื่อง หรือข้อความ เช่น เขือไปอุปกาศแล้ว เขือมา (ลอ), ร้องอุปกาศสารแก่กรุงสญชัยปิตุราช (ม. ร่ายยาว หิมพานต์). | อุปกิเลส | (อุปะกิเหฺลด) น. เครื่องทำใจให้เศร้าหมอง มี ๑๖ อย่าง มี อภิชฌาวิสมโลภ เป็นต้น. | อุปจาร | (อุปะจาน) น. การเข้าใกล้, ที่ใกล้, บริเวณรอบ ๆ เช่น อุปจารวัด. | อุปถัมภ์ | (อุปะถำ, อุบปะถำ) น. การคํ้าจุน, การคํ้าชู, การสนับสนุน, การเลี้ยงดู. | อุปถัมภ์ | (อุปะถำ, อุบปะถำ) ก. คํ้าจุน, คํ้าชู, สนับสนุน, เลี้ยงดู. | อุปถัมภก | (อุปะถำพก, อุบปะถำพก) น. ผู้คํ้าจุน, ผู้ค้ำชู, ผู้สนับสนุน, ผู้เลี้ยงดู. | อุปทม | (อุปะทม, อุบปะทม) น. กามโรค. | อุปทูต | (อุปะทูด, อุบปะทูด) น. ผู้รักษาการในตำแหน่งหรือรักษาการแทนหัวหน้าสถานเอกอัครราชทูตหรือหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต | อุปเทศ | (อุปะเทด, อุบปะเทด) น. การชี้แจง, การสั่งสอน, การแนะนำ | อุปเทศ | (อุปะเทด, อุบปะเทด) ก. สอน, ชี้แจง, แนะนำ. | อุปเท่ห์ | (อุปะเท่, อุบปะเท่) น. อุบายดำเนินการ, วิธีดำเนินการ. | อุปธิ | (อุปะทิ) น. กิเลส, ความพัวพัน, เหตุแห่งการเวียนเกิด | อุปนัย | (อุปะ-, อุบปะ-) น. วิธีการใช้เหตุผลที่ดำเนินจากส่วนย่อยไปหาส่วนรวม เช่น นาย ก. เกิดมาแล้วต้องตาย นาย ข. เกิดมาแล้วต้องตาย นาย ค. เกิดมาแล้วต้องตาย เพราะฉะนั้นมนุษย์ทุกคนเกิดมาแล้วต้องตาย, ตรงข้ามกับ นิรนัย. | อุปนิกขิต, อุปนิกษิต | (อุปะนิกขิด, อุปะนิกสิด) ก. เก็บไว้, รักษาไว้. | อุปนิกขิต, อุปนิกษิต | (อุปะนิกขิด, อุปะนิกสิด) น. คนสอดแนม, จารชน. | อุปนิษัท | (อุปะ-, อุบปะ-) น. ชื่อคัมภีร์ภาษาสันสกฤตกลุ่มหนึ่ง คัมภีร์อุปนิษัทรุ่นแรกเป็นพื้นฐานของศาสนาพราหมณ์ที่สอนว่าทุกสิ่งทุกอย่างออกมาจากอาตมัน. | อุปนิสัย | (อุปะนิไส, อุบปะนิไส) น. ความประพฤติที่เคยชินเป็นพื้นมาในสันดาน เช่น ก่อนที่พระพุทธเจ้าจะเสด็จไปเทศน์โปรดผู้ใดจะต้องทรงพิจารณาถึงอุปนิสัยของผู้นั้นก่อน, ความประพฤติที่เคยชินจนเกือบเป็นนิสัย เช่น นักเรียนคนนี้มีอุปนิสัยดี. | อุปบัติ | (อุปะบัด, อุบปะบัด) น. การเข้าถึง เช่น คติอุปบัติ = การเข้าถึงคติ, การเกิด. | อุปปาติกะ | (อุปะปาติกะ, อุบปะปาติกะ) น. ผู้เกิดผุดขึ้นโดยไม่ต้องอาศัยพ่อแม่ อาศัยอดีตกรรม ได้แก่เทวดา พรหม สัตว์นรก เปรต อสุรกาย, โอปปาติกะ ก็เรียก. | อุปพัทธ์ | (อุปะ-, อุบปะ-) ก. เนื่อง, เนื่องกัน. | อุปพัทธ์ | (อุปะ-, อุบปะ-) ว. ที่เนื่องกัน. | อุปพันธ์ | (อุปะ-, อุบปะ-) น. การติดต่อ, การร่วม | อุปโภค | (อุปะโพก, อุบปะโพก) ก. เอามาใช้ให้เกิดประโยชน์, คู่กับ บริโภค. | อุปโภค | (อุปะโพก, อุบปะโพก) ว. ที่เอามาใช้ให้เกิดประโยชน์ ในคำว่า เครื่องอุปโภค. | อุปมา | (อุปะ-, อุบปะ-) น. สิ่งหรือข้อความที่ยกมาเปรียบ, มักใช้เข้าคู่กับ อุปไมย ในประโยคเช่น เรื่องนี้มีอุปมาฉันใด อุปไมยก็ฉันนั้น. | อุปมา | (อุปะ-, อุบปะ-) ก. เปรียบเทียบ. | อุปมาน | (อุปะ-, อุบปะ-) น. การเปรียบเทียบสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน. | อุปมาอุปไมย | (อุปะมาอุปะไม, อุบปะมาอุบปะไม) น. การเปรียบเทียบกัน. | อุปไมย | (อุปะไม, อุบปะไม) น. สิ่งหรือข้อความที่พึงเปรียบเทียบกับสิ่งอื่นเพื่อให้เข้าใจแจ่มแจ้ง, คู่กับ อุปมา. | อุปยุวราช | (อุปะยุวะราด, อุบปะยุวะราด) น. ตำแหน่งเจ้าในนครล้านช้างรองพระเจ้าแผ่นดิน แต่อยู่เหนืออุปราช. | อุปโยค | (อุปะโยก, อุบปะโยก) น. การใช้สอย, การทำให้เกิดประโยชน์. | อุปโยคบุรพบท | (อุปะโยคะบุบพะบด, -บุระพะบด) น. ในไวยากรณ์หมายถึงคำนำหน้ากรรมการก. | อุปรากร | (อุปะรากอน, อุบปะรากอน) น. ละครเพลงประเภทหนึ่ง ดำเนินเรื่องด้วยการร้องเพลงผสมผสานการบรรเลงจากวงดุริยางค์. | อุปราคา | (อุปะราคา, อุบปะราคา) น. การทำให้ดำ, การทำให้มีมลทิน, ในคำว่า จันทรุปราคา สุริยุปราคา. | อุปราช | (อุปะหฺราด, อุบปะหฺราด) น. ผู้สำเร็จราชการต่างพระองค์ประจำภาคหนึ่ง ๆ ในอาณาจักร. | อุปริ | (อุปะริ, อุบปะริ) คำประกอบหน้าศัพท์ภาษาบาลีและสันสกฤต แปลว่า เบื้องบน ข้างบน. | อุปริม- | (อุปะริมะ-, อุบปะริมะ-) ว. อยู่สูงสุด, เบื้องบนที่สุด. | อุปโลกน์ | (อุปะโหฺลก, อุบปะโหฺลก) ก. ยกกันขึ้นเป็น เช่น อุปโลกน์ให้เป็นหัวหน้า, อปโลกน์ ก็ว่า. | อุปเวท | (อุปะเวด, อุบปะเวด) น. คัมภีร์ “พระเวทรอง” ของอินเดียโบราณ เนื้อหามีลักษณะเป็นวิทยาการ ไม่นับว่าเป็นคัมภีร์ศาสนา ได้แก่ อายุรเวท (วิชาแพทย์ ถือว่าเป็นสาขาของคัมภีร์อถรรพเวทหรืออาถรรพเวท) ธนุรเวท (วิชายิงธนูและการใช้อาวุธอื่น ถือว่าเป็นสาขาของคัมภีร์ยชุรเวท) คันธรรพเวทหรือคานธรรพเวท (วิชาการดนตรี ถือว่าเป็นสาขาของคัมภีร์สามเวท) และสถาปัตยเวท (วิชาการก่อสร้าง ไม่ระบุว่าเป็นสาขาของคัมภีร์พระเวทใด). |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |