ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

*สมุทร*

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: สมุทร, -สมุทร-
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
สมุทร(n) ocean, Syn. มหาสมุทร
คาบสมุทร(n) peninsula, Syn. แหลม, Example: เมืองนครศรีธรรมราชมีเส้นทางข้ามคาบสมุทรผ่านช่องเขามายังเมืองตรังซึ่งเป็นเมืองท่าที่สำคัญทางฝั่งทะเลตะวันตก, Count Unit: คาบสมุทร, Thai Definition: แหลมใหญ่ที่ยื่นออกไปในทะเล
มหาสมุทร(n) ocean, Syn. ห้วงสมุทร, อรรณพ, ห้วงมหาสมุทร, Example: ชายฝั่งนี้มีสันทรายอันยาวเหยียดทอดไปในมหาสมุทร น่าประหลาดมาก, Count Unit: แห่ง, ที่, Thai Definition: ทะเลที่ลึกและกว้างใหญ่
สมุทรสาคร(n) Samut Sakhon, Syn. จังหวัดสมุทรสาคร, Thai Definition: ชื่อจังหวัดหนึ่งของประเทศไทยอยู่ทางภาคกลาง
ห้ามสมุทร(n) style of Buddha image, Syn. ปางห้ามสมุทร, Example: พระปางห้ามสมุทรก็พอหาดูได้, Thai Definition: พระพุทธรูปปางหนึ่ง อยู่ในพระอิริยาบถยืน พระหัตถ์ทั้ง 2 แบตั้งขึ้นเสมอพระอุระ เป็นกิริยาห้าม
เกลือสมุทร(n) sea salt, See also: table salt, Syn. เกลือทะเล, เกลือแกง, Ant. เกลือสินเธาว์, เกลือบก, Example: มนุษย์รู้จักการทำเกลือตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ราว 10, 000 ปีก่อนคริสตศักราช ทั้งเกลือสินเธาว์ในแผ่นดินและเกลือสมุทรแถบชายทะเล, Count Unit: เม็ด, ถุง, กิโลกรัม, Thai Definition: เกลือที่ได้จากน้ำทะเล
สมุทรปราการ(n) Samut Prakan, Syn. จังหวัดสมุทรปราการ, Example: หากได้ไปท่องเที่ยวที่สมุทรปราการรับรองว่าจะไม่ผิดหวัง, Thai Definition: ชื่อจังหวัดหนึ่งของประเทศไทยอยู่ทางภาคกลาง
สมุทรสงคราม(n) Samut Songkhram, Syn. จังหวัดสมุทรสงคราม, Example: โรงเรียนพาไปแวะที่อุทยาน ร. 2 จังหวัดสมุทรสงคราม, Thai Definition: ชื่อจังหวัดหนึ่งของประเทศไทยอยู่ทางภาคกลาง
เกษียรสมุทร(n) milky sea, Syn. ทะเลน้ำนม, Example: ตอนที่ 2 เป็นการแสดงโดยนำเรื่องมาจากเทพปกรฌัมตอนกวนเกษียรสมุทรเพื่อทำน้ำอมฤต
เรือเดินสมุทร(n) ocean liner, See also: seagoing ship, liner, passenger liner, Example: ในการขนส่งทางน้ำเราสามารถขนส่งได้โดยเรือพาย เรือยนต์ หรือเรือเดินสมุทร, Count Unit: ลำ

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
เกลือสมุทรน. เกลือที่ได้จากนํ้าทะเล.
เกษียรสมุทรน. ทะเลนํ้านม, ที่ประทับของพระนารายณ์.
ข้ามสมุทรน. ชื่อเพลงไทย เป็นเพลงชุดมีด้วยกัน ๓ เพลง คือ เบญจคีรี ข้ามสมุทร และเทพลีลา.
คาบสมุทรน. ส่วนของแผ่นดินที่มีน้ำล้อมเกือบรอบ ตามปรกติมักต่อเนื่องกับผืนแผ่นดินใหญ่เป็นคอคอด หรือยื่นยาวออกไปในทะเล.
งมเข็มในมหาสมุทรก. ค้นหาสิ่งที่ยากจะค้นหาได้, ทำกิจที่สำเร็จได้ยาก.
ผีเสื้อสมุทรน. ยักษ์พวกหนึ่ง เชื่อกันว่าสิงอยู่ในทะเล.
มหาสมุทรน. ทะเลใหญ่.
สมุทร ๑, สมุทร-(สะหฺมุด, สะหฺมุดทฺระ-) น. ทะเลลึก
สมุทร ๑, สมุทร-เรียกทะเลขนาดใหญ่ ซึ่งมีแผ่นดินโอบล้อมเป็นตอน ๆ ว่า มหาสมุทร เช่น มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรแปซิฟิก.
สมุทรโจร(สะหฺมุดทฺระ-) น. โจรสลัด.
สมุทรศาสตร์(สะหฺมุดทฺระ-) น. วิทยาศาสตร์สาขาหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะสมบัติทางเคมีและฟิสิกส์ของนํ้าทะเล ชีววิทยาทะเล และปรากฏการณ์ต่าง ๆ ของทะเลและมหาสมุทร.
สมุทรเสนา(สะหฺมุดทฺระ-) น. เรียกลูกเสือพวกหนึ่งตามจังหวัดชายทะเล ว่า ลูกเสือสมุทรเสนา.
สมุทร(สะหฺมุด) น. ดาวเนปจูน.
สมุทรโคดม(สะหฺมุดทฺระ-) น. ข้าวฟ่างสมุทรโคดม. (ดู ข้าวฟ่าง ที่ ข้าว).
ห้ามสมุทรน. ชื่อพระพุทธ-รูปปางหนึ่ง อยู่ในพระอิริยาบถยืน พระหัตถ์ทั้ง ๒ ข้างยกเสมอพระอุระ ตั้งฝ่าพระหัตถ์ยื่นออกไปข้างหน้า เป็นกิริยาห้าม ที่สร้างเป็นแบบพระทรงเครื่องก็มี.
กช, กช-(กด, กดชะ-) น. ดอกบัว เช่น ดุจบัวอันบานชู กชกรรณิกามาศ (สมุทรโฆษ), โดยมากใช้เข้าคู่กับคำ กร เป็น กรกช เช่น กรกชชุลีคัล (อิเหนาคำฉันท์).
กทรรป(กะทับ) ก. กำหนัด เช่น ตรูกามกทรรปหฤทัย (สมุทรโฆษ).
กนก(กะหฺนก) น. ทองคำ เช่น มาลากนก = มาลัยทอง, โดยมากใช้ประกอบเป็นส่วนหน้าของสมาส เช่น กนกนัครา (สมุทรโฆษ).
กมล(กะมน) น. บัว เช่น บาทกมล (สมุทรโฆษ)
กรม ๒(กฺรม) น. ลำดับ เช่น จะเล่นโดยกรม (สมุทรโฆษ). [ ส.; ข. กฺรุม (กฺรม) ว่า หมวด, หมู่, กอง; ครอบครัว เช่น มวยกฺรุม = ครอบครัวหนึ่ง ].
กรร ๑(กัน) ก. จับ เช่น กรกรรนฤบดี (สมุทรโฆษ).
กรรกง(กัน-) น. ที่ล้อมวง เช่น จำเนียรกรรกงรอบนั้น (ม. คำหลวง นครกัณฑ์), ใช้เป็น กงกรร ก็มี เช่น แลสับสังกัดกงกรร (สมุทรโฆษ).
กรรกฎ(กันกด) น. ปู เช่น จริวจราวจรัลชลจรมกรกรรกฎกูรม์ (สมุทรโฆษ).
กรรณ, กรรณ-(กัน, กันนะ-) น. หู, ใบหู, กลอนใช้เป็น กรรณา ก็มี เช่น กรรณาคือกลีบกาญจ- นปัทม์ (สมุทรโฆษ), ราชาศัพท์ใช้ว่า พระกรรณ.
กรรณิกา(กัน-) น. ดอกไม้ เช่น ดุจบัวอันบานชู กชกรรณิกามาศ (สมุทรโฆษ).
กรรแทก(กัน-) ก. กระแทก, เขียนเป็น กันแทก ก็มี เช่น หัวล้านชาวไร่ไล่ปาม เข้าขวิดติดตาม กันแทกก็หัวไถดินฯ (สมุทรโฆษ).
กรรบูร(กันบูน) น. การบูร เช่น กฤษณากระวานการ- บูรกูรกระเหนียดกรร- บูรแกมกำคูนคันธ์ รสจวงกำจรมา (สมุทรโฆษ).
กรรแสง ๑(กัน-) ก. ส่งเสียงร้อง เช่น เทพฤๅษีสรรเสริญแชรง ชัยชัยรบแรง กรรแสงแลสาธุการา (สมุทรโฆษ).
กรรโหย(กัน-) ก. โหย, คร่ำครวญ, เช่น มีกระเรียนร้องก้องกรรโหย (สมุทรโฆษ).
กรรเอา(กัน-) ว. กลมกล่อม เช่น ไพเราะรสหวาน บรรสานกรรเอาเอาใจ (สมุทรโฆษ).
กระกรก. ฉายรัศมี เช่น ทินกรกระกรจามี- กรกรรัศมี ดุรงครัตน์พรรณราย (สมุทรโฆษ).
กระเกรอก(-เกฺริก) ว. กระเกริก, เสียงดังอึกทึก, เช่น กระเกรอกทงงท้องธรณี (สมุทรโฆษ).
กระใดว. กระไร, อะไร, ทำไม, เช่น ผู้แกล้วกระใดรณภู (สมุทรโฆษ).
กระบัด ๑ว. ประเดี๋ยว, บัดใจ, ทันใด, เช่น อาวุธกับศรก็ตกกระบัดเหอรหาย (สมุทรโฆษ), ตระบัด ก็ใช้.
กระเบญก. กระเบง เช่น กุมกระบอง กระเบญหาญ (สมุทรโฆษ).
กระย่อนยวบยาบ, แกว่ง เช่น ลมไกวกิ่งกลฟ้อน ก็กระย่อนอยู่ยานโยน (สมุทรโฆษ)
กระย่อนขยับ เช่น ยกค้อนกระย่อนดูบริพาร (สมุทรโฆษ).
กระลด(-หฺลด) น. ร่ม เช่น เทียวทองธงชัย และแซงกระลดชุมสาย (สมุทรโฆษ).
กระลัด(-หฺลัด) ว. เข้มแข็ง เช่น กระลัดในกลางสงคราม (สมุทรโฆษ).
กระลัมพรน. โทษใหญ่, ความฉิบหาย, เช่น ก็ทำกระลัมพรกาล (สมุทรโฆษ), (แผลงมาจาก กลัมพร), เขียนเป็น กระลำพร หรือ กะลำพร ก็มี.
กระลายกระลอก(-หฺลอก) ก. สับสน เช่น เสือสีห์หมีควาย กระลายกระลอกซอกซอน (สมุทรโฆษ).
กระวาน ๒น. ชื่อนกชนิดหนึ่ง เช่น กระวานกระแวนแกลนกลัว (สมุทรโฆษ).
กระษิร(-สิน, -สิระ) น. กษีร, นํ้านม, เช่น มาจากวารินกระษิรสมุทร (รามเกียรติ์ ร. ๒), กระษิรสินธุสาคร (สรรพสิทธิ์).
กระหม่าก. ประหม่า, สะทกสะท้าน, พรั่นใจ, เช่น กระมลบ้ากระหม่ามะเมอ (สมุทรโฆษ).
กระเหน็จกระแหน่น. เชิงชั้น, เล่ห์กล, เช่น กระเหน็จกระแหน่รณรงค์ (สมุทรโฆษ).
กระอุร้อนรน เช่น กระอุอุระประปราณ (สมุทรโฆษ; สรรพสิทธิ์), หนึ่งรัศมีพระสุริยเย็น รัศมีพระจันทร์เป็น กระอุแลกลับร้อนรน (อภิไธยโพธิบาทว์), ใช้เป็น กระอุก หรือ ประอุก ก็มี.
กราน ๒(กฺราน) ใช้เข้าคู่กับคำอื่น หมายความว่า ทอดตัว หรือ ล้มตัวลงราบ เช่น ก้มกราน หมอบกราน, หมายความว่า คํ้า, ยัน, เช่น ยันกราน ยืนกราน, ในบทกลอนใช้โดยลำพังก็มี เช่น ก็กรานในกลางรณภู (สมุทรโฆษ), พระรามตัดตีนสินมือเสีย กรานคอไปไว้ที่นอกเมือง (มโนห์รา), โบราณเขียนเป็น กราล ก็มี.
กรีฑากรก. ทำกรีฑา เช่น ปาง อนงค์ในแท่นทอง (สมุทรโฆษ).
กรีฑารมย์ว. เป็นที่ยินดีในกรีฑา เช่น สองท้าวเสมอกัน และควรที่กรีฑารมย์ (สมุทรโฆษ).
กเรนทร, กเรนทร์น. พญาช้าง, ช้างที่ควรยกย่อง, เช่น พลคชคณหาญหัก กเรนทรปรปักษ์ ปราบประลัย (สมุทรโฆษ).

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
pelagic-ท้องทะเล, -ท้องสมุทร, -ก้นสมุทร [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
pelagic deposit; abyssal depositสิ่งทับถมก้นสมุทร [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
sea-floor trench; oceanic trench; submarine trenchร่องลึกก้นสมุทร [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
submarine trench; oceanic trench; sea-floor trenchร่องลึกก้นสมุทร [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
OTEC system; ocean thermal energy conversion systemระบบโอเท็ก, ระบบการเปลี่ยนรูปพลังงานอุณหภาพมหาสมุทร [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
oceanมหาสมุทร [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
ocean thermal energy conversion system; OTEC systemระบบการเปลี่ยนรูปพลังงานอุณหภาพมหาสมุทร, ระบบโอเท็ก [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
ocean thermal gradientเกรเดียนต์อุณหภาพมหาสมุทร [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
oceanic crustเปลือกโลกใต้มหาสมุทร [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
oceanic islandsหมู่เกาะกลางสมุทร [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
oceanic ridge; mid-oceanic ridgeเทือกเขากลางสมุทร [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
oceanic trench; sea-floor trench; submarine trenchร่องลึกก้นสมุทร [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
oceanographyสมุทรศาสตร์ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
abyssopelagic-ท้องทะเลก้นสมุทร, -ก้นสมุทร [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
abyssal๑. -ก้นสมุทร๒. -ระดับลึก [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
abyssal deposit; pelagic depositสิ่งทับถมก้นสมุทร [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
abyssal hillเขาก้นสมุทร [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
abyssal zoneเขตความลึกก้นสมุทร [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
marine๑. ภาคพื้นสมุทร๒. เกี่ยวกับทะเล [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
mid-oceanic ridge; oceanic ridgeเทือกเขากลางสมุทร [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
marine depositสิ่งทับถมภาคพื้นสมุทร [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
guyotเขายอดราบใต้สมุทร, กีโย [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
ไต้ฝุ่นชื่อพายุหมุนที่มีกำลังแรงจัด ทำให้มีฝนตกหนักมาก เกิดขึ้นในบริเวณภาคตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกและในทะเลจีน มีความเร็วลมใกล้บริเวณศูนย์กลางตั้งแต่ 64 นอต หรือ 120 กิโลเมตรต่อชั่วโมงขึ้นไป, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ ใต้ฝุ่น [คำที่มักเขียนผิด]
Balkan Peninsulaคาบสมุทรบอลข่าน [TU Subject Heading]
Canals, Interoceanicคลองเชื่อมมหาสมุทร [TU Subject Heading]
Chemical oceanographyสมุทรศาสตร์เคมี [TU Subject Heading]
Fishery oceanographyสมุทรศาสตร์การประมง [TU Subject Heading]
Indian Oceanมหาสมุทรอินเดีย [TU Subject Heading]
Indian Ocean Tsunami, 2004คลื่นซึนามิในมหาสมุทรอินเดีย, ค.ศ. 2004 [TU Subject Heading]
Oceanมหาสมุทร [TU Subject Heading]
Ocean energy resourcesแหล่งพลังงานจากมหาสมุทร [TU Subject Heading]
Ocean engineeringวิศวกรรมสมุทรศาสตร์ [TU Subject Heading]
Ocean thermal power plantsโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนจากมหาสมุทร [TU Subject Heading]
Ocean travelการท่องเที่ยวทางมหาสมุทร [TU Subject Heading]
Ocean wave powerพลังงานคลื่นมหาสมุทร [TU Subject Heading]
Ocean wavesคลื่นมหาสมุทร [TU Subject Heading]
Oceanographyสมุทรศาสตร์ [TU Subject Heading]
Pacific Oceanมหาสมุทรแปซิฟิก [TU Subject Heading]
Photography in oceanographyการถ่ายภาพทางสมุทรศาสตร์ [TU Subject Heading]
Oceanic Islandเกาะกลางมหาสมุทร, Example: เกาะที่ตั้งห่างจากทวีปมากๆ และโดยทั่วไปจะอยู่ในมหาสมุทร เกาะประเภทนี้ จะถือกำเนิดตามลำพังไม่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับผืนแผ่นดินใหญ่ ได้แก่ เกาะภูเขาไฟ (Volcanic Island) และเกาะปะการัง (Coral Island) [สิ่งแวดล้อม]
Pacific Raimประเทศริมมหาสมุทรแปซิฟิก, Example: ประเทศและหมู่เกาะต่างๆ ที่อยู่ริมฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก รวม 34 ประเทศ และ 23 หมู่เกาะ มีพื้นที่กว่า 70 ล้านตารางไมล์ มีประชากรกว่า 2.5 พันล้านคน หรือมากกว่าครึ่งหนึ่งของประชากรโลก นับตั้งแต่ พ.ศ. 2525 ประเทศในภูมิภาคนี้มีความเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจในอนาคตสูงและยังมีทรัพยากรอยู่มาก ประเทศที่สำคัญๆ ในแถบรมมหาสมุทรแปซิฟิก ได้แก่ ญี่ปุ่น จีน เป็นต้น จนผู้เชี่ยวชาญส่วนใหญ่ยอมรับว่า ศตวรรษที่ 21 ที่กำลังจะมาถึงนั้นจะเป็นสตวรรษของประเทศที่อยู่ริมมหาสมุทรแปซิฟิก (Pacific Century) เพราะจะเป็นภูมิภาคที่มีอัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจสูงที่สุด [สิ่งแวดล้อม]
Australia New Zealand Army Corps Dayวันที่ระลึกทหารผ่านศึกออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2458 หน่วยปฏิบัติการร่วมของกองทัพบกออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ได้ยกพลขึ้นบกบนคาบ สมุทรกาลิโปลี (Gallipoli) ช่องแคบดาร์ดาแนล (Dardanelles) ประเทศตุรกีเพื่อเปิดเส้นทางเดินเรือให้กับฝ่ายสัมพันธมิตรไปสู่ทะเลดำใน สงครามโลกครั้งที่ 1 ทำให้ทหารออสเตรเลียและนิวซีแลนด์เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก ทั้งสองประเทศจึงถือเอาวันที่ 25 เมษายนของทุก ๆ ปี เป็นวันที่ระลึกและจัดพิธีไว้อาลัยแก่ทหารผ่านศึกในสมรภูมิครั้งนั้นและทหาร ผ่านศึกที่เสียชีวิตในสมรภูมิอื่น ๆ ด้วย [การทูต]
Indian Ocean Rim Association for Regional Cooperationสมาคมความร่วมมือแห่งภูมิภาคมหาสมุทรอินเดีย ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2537 โดย Charter of the Indian Ocean Rim Association for Regional Co-operation มีสมาชิกทั้งหมด 19 ประเทศ และมีอียิปต์กับญี่ปุ่นเป็นประเทศคู่เจรจาด้วย สำนักงานเลขาธิการตั้งอยู่ที่สาธารณรัฐมอริเชียส [การทูต]
Pacific Islands ForumPIF เป็นองค์กรระดับภูมิภาคของประเทศในมหาสมุทรแปซิฟิก จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2514 เพื่อขยายความร่วมมือด้านการเมือง เศรษฐกิจ การพัฒนาที่ยั่งยืน ธรรมาภิบาลและความมั่นคง ปัจจุบันมีสมาชิก 16 ประเทศ คือ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ นาอูรู หมู่เกาะคุก ตองกา ฟิจิ ซามัว หมู่เกาะโซโลมอน หมู่เกาะมาร์แชลล์ ปาปัวนิวกีนี วานูอาตู ปาเลา ไมโครนีเซีย คิริบาส นีอูเอ และตูวาลู มีประเทศคู่เจรจา (Dialogue Partner) จำนวน 12 ประเทศและ 1 กลุ่มเศรษฐกิจ ประกอบด้วย แคนาดา จีน ฝรั่งเศส อินเดีย อินโดนีเซีย เกาหลีใต้ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา ไทย และสหภาพยุโรป นอกจากนี้ ยังมีประเทศผู้สังเกตการณ์ (Observer Status) อีก 3 ประเทศ คือ ติมอร์เลสเต นิวแคลิโดเนีย และเฟรนซ์โปลินีเซีย สำนักเลขาธิการ PIF ตั้งอยู่ที่กรุงซูวา ประเทศฟิจิ [การทูต]
Balkan Endemic Nephropathyโรคไตอักเสบบริเวณคาบสมุทรบาลข่าน [การแพทย์]
hurricaneพายุเฮอร์ริเคน, พายุโซนร้อนที่มีกำลังแรงมาก ความเร็วลมใกล้บริเวณศูนย์กลางประมาณ 120 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เกิดขึ้นในบริเวณภาคตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิกอ่าวเม็กซิโก ถ้าเกิดบริเวณภาคตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลจีนเรียกพายุไต้ฝุ่น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
Skylabสกายแลบ, ห้องปฏิบัติการอวกาศของสหรัฐอเมริกา ขึ้นไปโคจรอยู่ในอวกาศรอบโลกเมื่อวันที่14 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 และตกลมาสู่โลกบริเวณมหาสมุทรอินเดียและที่ว่างภาคเหนือของประเทศออสเตรเลีย เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2522 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
typhoonพายุไต้ฝุ่น, พายุโซนร้อนที่มีกำลังแรงมาก ความเร็วลมบริเวณใกล้ศูนย์กลางเกินกว่า 120 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เกิดขึ้นในบริเวณภาคตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกและในทะเลจีน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
radiolarianเรดิโอลาเรียน, โพรโทซัวพวกหนึ่งที่อาศัยอยู่ในน้ำทะเล มีโครงสร้างที่ประกอบด้วยสารพวกซิลิกา เมื่อตายจะทับถมอยู่ใต้มหาสมุทร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
El Ninoเอลนีโญ, ความแปรปรวนของลมฟ้าอากาศ ที่ทำให้ พื้นทวีปบริเวณด้านตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิก มีฝนตกหนักกว่าปกติ ในขณะที่พื้นทวีปบริเวณตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกเกิดความแห้งแล้งกว่าปกติ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
La Ninaลานีญา, ความแปรปรวนของลมฟ้าอากาศ ที่ทำให้ พื้นทวีปบริเวณด้านตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิก แห้งแล้งกว่าปกติ ในขณะที่พื้นทวีปบริเวณตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกเกิดฝนตกหนักกว่าปกติ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
จังหวัดสมุทรปราการ[Jangwat Samut Prākān] (n, prop) EN: Samut Prakan province  FR: province de Samut Prakan [ f ]
จังหวัดสมุทรสาคร[Jangwat Samut Sakhøn] (n, prop) EN: Samut Sakhon province  FR: province de Samut Sakhon [ f ]
จังหวัดสมุทรสงคราม[Jangwat Samut Songkhrām] (n, prop) EN: Samut Songkhram province  FR: province de Samut Songkhram [ f ]
คาบสมุทร[khāpsamut] (n) EN: peninsula  FR: péninsule [ f ]
มหาสมุทร[mahāsamut] (n) EN: ocean  FR: océan [ m ]
มหาสมุทรแอตแลนติก[Mahāsamut Aētlaēntik] (n, prop) EN: Atlantic Ocean  FR: océan Atlantique [ m ] ; Atlantique [ m ]
มหาสมุทรอินเดีย[Mahāsamut Indīa] (n, prop) EN: Indian Ocean  FR: océan Indien [ m ]
มหาสมุทรแปซิฟิก = มหาสมุทรแปซิฟิค[Mahāsamut Paēsifik] (n, prop) EN: Pacific Ocean  FR: océan Pacifique [ m ] ; Pacifique [ m ]
ผีเสื้อสมุทร[phīseūa samut] (n, exp) EN: demons living in water   FR: démons vivants dans les eaux [ mpl ]
เรือเดินสมุทร[reūadoēnsamut] (n) EN: ocean liner ; seagoing ship ; liner ; passenger liner  FR: paquebot [ m ]
สมุทร[samut] (n) EN: sea ; ocean  FR: mer [ f ] ; océan [ m ]
สมุทร[samut] (adj) EN: marine  FR: marin
สมุทรเดียร[samut dīen] (n) FR: rivage [ m ] ; bord de mer [ m ]
สมุทรปราการ[Samut Prākān] (n, prop) EN: Samut Prakan (Central)  FR: Samut Prakan (Centre)
สมุทรสาคร[Samut Sākhøn] (n, prop) EN: Samut Sakhon (Central)  FR: Samut Sakhon (Centre)
สมุทรสงคราม[Samut Songkhrām] (n, prop) EN: Samut Songkhram (Central)  FR: Samut Songkhram (Centre)
ท้องสมุทร[thøng samut] (x) FR: fonds marins [ mpl ]

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
Atlantic(adj) เกี่ยวกับมหาสมุทรแอตแลนติก
Atlantic(n) มหาสมุทรแอตแลนติก
China Sea(n) ท้องทะเลที่เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแปซิฟิก
felucca(n) เรือใบเล็กใช้แล่นในแม่น้ำไนล์และมหาสมุทรเมดิเตอร์เรเนียน
Fiji(n) ประเทศฟิจิ, See also: หมู่เกาะฟิจิและเกาะอื่นๆ ในมหาสมุทรแปซิฟิก, Syn. Fiji Islands
Gulf Stream(n) กระแสน้ำอุ่นในมหาสมุทรแอตแลนติก
Hawaiian Islands(n) หมู่เกาะฮาวายในมหาสมุทรแปซิฟิก
herring(n) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง อาสัยอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ มีชื่อในภาษาละตินว่า Clupea harengus, See also: ปลาเฮริง
Iceland(n) ประเทศไอซ์แลนด์ (เกาะใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติก)
Iceland(n) ไอซ์แลนด์ (เกาะใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติก)
Indian Ocean(n) มหาสมุทรอินเดียมีความลึกประมาณ 25, 344 ฟุต
Indochina(n) แหลมอินโดจีน, See also: คาบสมุทรอินโดจีน
Jutland(n) คาบสมุทรจัตแลนด์ที่อยู่ในเดนมาร์กและเยอรมนีตอนเหนือ, Syn. Jylland
Madagascar(n) เกาะมาดากัสการ์ในมหาสมุทรอินเดีย
Madeira(n) หมู่เกาะของโปรตุเกสในมหาสมุทรแอตแลนติก
Malay Peninsula(n) คาบสมุทรหรือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
marine(n) เรือเดินทะเล, See also: เรือเดินสมุทร, Syn. fleet
maritime(adj) เกี่ยวกับการเดินเรือ, See also: เกี่ยวกับการเดินเรือสมุทร
Mauritius(n) เกาะหนึ่งในมหาสมุทรอินเดีย
Melanesia(n) หมู่เกาะทางตอนใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก
Melanesian(n) ชาวหมู่เกาะทางตอนใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก
merchant marine(n) เรือเดินสมุทรสำหรับค้าขาย, Syn. merchant navy
merchant navy(n) เรือเดินสมุทรสำหรับค้าขาย, Syn. merchant marine
mid-Atlantic(n) ซึ่งอยู่ตอนกลางของมหาสมุทรแอตแลนติก
ocean(n) มหาสมุทร
ocean greyhound(n) เรือเดินสมุทรเร็ว, Syn. ocean liner
ocean liner(n) เรือเดินสมุทร
oceanfront(adj) ซึ่งตั้งอยู่บริเวณใกล้มหาสมุทร
ocean-going(adj) (เรือ) ซึ่งสร้างเพื่อข้ามทะเลหรือมหาสมุทร
oceanic(adj) แห่งมหาสมุทร
oceanography(n) การศึกษาเกี่ยวกับมหาสมุทร
Pacific(n) แปซิฟิก, See also: มหาสมุทรแปซิฟิก, Syn. South Seas
Pacific(n) มหาสมุทรแปซิฟิก, Syn. South Seas
Pacific Rim(n) กลุ่มประเทศแถบมหาสมุทรแปซิฟิกโดยเฉพาะเอเชียตะวันออก
Panama Canal(n) คลองปานามา (เชื่อมมหาสมุทรแอตแลนติกกับแปซิฟิก)
peninsula(n) คาบสมุทร, See also: แหลม, Syn. foreland, cape, headland
Polynesia(n) หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกได้แก่ ฮาวาย ซามัวร์ และหมู่เกาะคุก
big drink(sl) มหาสมุทรแอตแลนติก, See also: มหาสมุทร
Samoa(n) หมู่เกาะซามัว, See also: หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้
Samutprakarn(n) จังหวัดสมุทรปราการ
Samutprakarn(n) สมุทรปราการ
Samutsakhorn(n) จังหวัดสมุทรสาคร
Samutsakhorn(n) สมุทรสาคร
Samutsongkhram(n) จังหวัดสมุทรสงคราม
Samutsongkhram(n) สมุทรสงคราม
sea front(n) บริเวณฝั่งทะเล, See also: เขตชายทะเล, ส่วนเขตเมืองที่หันหน้าสู่ทะเลหรือมหาสมุทร
sea otter(n) นากทะเลตระกูล Enhydra lutris, See also: พบทางตอนเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิก
sea salt(n) เกลือสมุทร, See also: เกลือทะเล
seagoing(adj) เกี่ยวกับการเดินสมุทร
seaway(n) ร่องน้ำลึกสำหรับเรือเดินสมุทร, See also: คลองน้ำลึกหรือแม่น้ำลึกสำหรับเรือเดินสมุทร, Syn. waterway

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
amphitrite(แอมพิไทร' ที) n. เทพเจ้ามหาสมุทรของกรีก (Greek sea goddess)
anatolia(แอนนะโท' เลีย) n. ที่ราบสูงกว้างใหญ่ระหว่างทะเลดำกับทะเลเมดิเทอเรเนียน, คาบสมุทรของ Asia Monor (vast plateau)
antartic oceanมหาสมุทรแอนตาร์กติก
asia minorคาบสมุทรในเอเชียตะวันตกระหว่างทะเลดำกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
atlantic(แอทแลน'ทิค) adj. เกี่ยวกับมหาสมุทรแอตแลนติก. -n. มหาสมุทรแอตแลนติก
austronesia(ออสโทรนี'เซีย) n. หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิคตอนกลางและใต้
azores(อะซอร์ซ') n. ชื่อหมู่เกาะในมหาสมุทรแอตแลนติคตอนเหนือ. -Azorian adj.
brine(ไบรน) n. น้ำเค็ม, ทะเล, มหาสมุทร, น้ำทะเล, น้ำมหาสมุทร, สารละลายเกลือ vt. ใส่น้ำเกลือ, ใส่ลงในน้ำเกลือ., See also: briner n. ดูbrine brinish adj. ดูbrine, Syn. sea
briny(ไบร'นี) n. มหาสมุทร adj. เค็มมาก, เกี่ยวกับน้ำเกลือ
chersonese(เคอ'ซะนีซ) n. คาบสมุทร
continent(คอน'ทะเนินทฺ) n. ทวีป, ผืนแผ่นดินใหญ่ (ซึ่งต่างจากเกาะหรือคาบสมุทร) , ส่วนที่ต่อเนื่องกัน, สิ่งที่เป็นที่บรรจุหรือพรมแดน -Phr. (the Continent ผืนแผ่นดินใหญ่ของยุโรป (ซึ่งต่างจากเกาะอังกฤษ) , adj. ซึ่งควบคุมตัวเอง, Syn. abstinent, Ant. le
indian oceanมหาสมุทรอินเดีย
leviathan(ลิไว'อะเธิน) n. สัตว์ทะเลขนาดใหญ่เช่นปลาวาฬ, สิ่งใหญ่โตที่มีอำนาจมาก (เช่น เรือเดินสมุทร), Syn. giant
liner(ไล'เนอะ) n. สายเดินเรือสมุทร, สายการบิน, คนเขียนหรือลากเส้น, ดินสอเขียนคิ้วหรือหนังตา, ผ้าซับใน, ซับใน, ที่บุรอง, ผู้ผลิตเครื่องบุรองหรือเครื่องซับใน
littoral(ลิท'เทอเริล) adj., n. (เกี่ยวกับ) ฝั่งทะเลสาบ, ฝั่งทะเลหรือฝั่งมหาสมุทร, Syn. litoral
main(เมน) adj. ส่วนใหญ่, ชั้นนำ, สำคัญที่สุด, สำคัญ, ที่สุด, ใช้เดี่ยวได้ n. ท่อสำคัญ, ท่อหลัก, กำลัง, ความพยายามที่รุนแรง, มหาสมุทร, ทะเลหลวง, แผ่นดินใหญ่ -Phr. (in the main ส่วนใหญ่), Syn. chief
malaya(มะเล'ยะ) n. คาบสมุทรมลายู
marine(มะรีน') adj. เกี่ยวกับ (ทะเล, การเดินเรือ) n นาวิกโยธิน, เรือเดินสมุทร, ภาพทะเล, กรมทางเรือ
maritime(แม'ริไทม์) adj. เกี่ยวกับ (การเดินเรือสมุทร, ทะเล, การอาศัยในทะเล)
merchant(เมอ'เชินทฺ) n. พ่อค้า, ผู้ค้า, เจ้าของร้าน, คนขายของ. adj. เกี่ยวกับพาณิชย์, เกี่ยวกับเรือพาณิชย์สมุทร
merchant bankn. ธนาคารพาณิชย์หรือเรือพาณิชย์สมุทร
merchant marinen. เรือพาณิชย์สมุทร, เจ้าหน้าที่และลูกเรือของเรือดังกล่าว
neptune(เนพ'ทูน) n. พระสมุทร, ดาวพระเกตุ
ocean(โอ'เชิน) n. มหาสมุทร, ความมหาศาล., See also: oceanic adj.
ocean linern. เรือเดินสมุทร
oceanfront(โอ'เชินฟรันทฺ) n. ที่ดินชายฝั่งมหาสมุทร
oceanograph(โอชินอก'กระฟี) n. มหาสมุทรศาสตร์, สมุทรศาสตร์., See also: oceanographer n.
oceanography(โอชินอกกระฟี) มหาสมุทรศาสตร์., See also: oceanographic, adj.
peninsula(พะนิน'ซิลละ) n. คาบสมุทร, แหลมที่ยื่นไปในทะเล., See also: peninsular adj. peninsularism n. peninsularity n.
polynesia(พอลลินี'เซีย) n. ชื่อหมูเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกอยู่ทางตะวันออกของMelanesiaและMicronesiaตั้งแต่หมู่เกาะฮาวายไปถึงนิวซีแลนด์
profound(พระเฟาดฺ') adj. ลึกซึ้ง, ล้ำลึก, สุดซึ้ง, สนิท, แน่นแฟ้น, ถ้วนทั่ว, ต่ำ. n. ทะเลลึก, มหาสมุทร, ความลึก, ความล้ำลึก., See also: profoundness n., Syn. intense
samoa(ซะโม'อะ) n. ชื่อหมู่เกาะในตอนใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก
seagoing(ซี'โกอิง) adj. สำหรับเดินสมุทร, เกี่ยวกับการเดินสมุทร, สู่ทะเล, แล่นในทะเล, ท่องเที่ยวในทะเล, Syn. seafaring
seaway(ซี'เว) n. ทางทะเล, เส้นทางทะเล, การแล่นเรือผ่านคลื่น, ทะเลที่มีลูกคลื่นค่อนข้างมาก, แม่น้ำน้ำลึกหรือครองน้ำลึกที่เรือเดินสมุทรแล่นได้
sevenseasn. เจ็ดคาบสมุทร, มหาสมุทรทั้ง 7 แห่ง, Syn. Seven Seas
shipboard(ชิพ'บอร์ด) adj. บนเรือ, ใช้บนเรือ, กระทำบนเรือ.n. ดาดฟ้าเรือ, กราบเรือ, การอยู่บนเรือ, สภาพบนเรือ, on shipboard บนเรือ เรือเดินสมุทร
sorghum(ซอรฺ'กัม) n. ข้าวฟ่าง, ข้าวสมุทรโคดม
stratum(สเทร'ทัม) n. ชั้น, ชั้นพื้นดิน, ชั้นหิน, ชนชั้น, ระดับชั้น, ชั้นเนื้อเยื่อ, ชั้นเซลล์, ชั้น มหาสมุทร, ชั้นบรรยากาศ. -stratous adj.
tidal(ไท'เดิล) adj. เกี่ยวกับกระแสน้ำขึ้นหรือลง, ขึ้นอยู่กับกระแสน้ำขึ้นหรือลง, See also: tidally adv. -Phr. tidal wave คลื่นขนาดยักษ์ที่ท่วมริมฝั่ง เนื่องจากแผ่นดินไหวหรือพายุ, คลื่นกระแสน้ำ, คลื่นทะเล, คลื่นมหาสมุทร
tokay(โทเค') n. ตุ๊กแกจำพวก Gecko gecko พบในคาบสมุทรมลายู, เหล้าองุ่นขาวอย่างแรงและหวานของแคลิฟฟอร์เนีย, Syn. gecko
transatlantic(แทรนซัทแลน'ทิค) adj. ข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก, อยู่เลยมหาสมุทรแอตแลนติก
transoceanic(แทรนซฺโอชิแอน'นิค) adj. ข้ามมหาสมุทร, เลยมหาสมุทร, อยู่ข้ามมหาสมุทร
transpacific(-ซฺพะซิฟ'ฟิค) adj. ข้ามมหา-สมุทรแปซิฟิก, อยู่อีกด้านของมหาสมุทรแปซิฟิก
west indiesn. ชื่อหมู่เกาะในตอนเหนือของมหาสมุทรแอตแลนติก ระหว่างทวีปอเมริกาเหนือกับทวีปอเมริกาใต้

English-Thai: Nontri Dictionary
Atlantic(n) มหาสมุทรแอตแลนติก
drink(n) เครื่องดื่ม, การดื่มเหล้า, เหล้า, ทะเล, มหาสมุทร
marine(n) การเดินเรือ, นาวิกโยธิน, เรือเดินทะเล, เรือเดินสมุทร
ocean(n) มหาสมุทร
oceanic(adj) เกี่ยวกับมหาสมุทร
peninsula(n) คาบสมุทร
peninsular(adj) เกี่ยวกับคาบสมุทร
promontory(n) คาบสมุทร, แหลม, โหนก, ส่วนนูน
transatlantic(adj) ข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก

English-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
golden trevally(n) ชื่อปลาชนิดหนึ่ง (Gnathanodon speciosus) ที่พบในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก
oceanography[โอ-เชีย-นอ-กราฟ-ฟี] (n) “สมุทรศาสตร์” เป็นสาขาวิชาหนึ่งของวิทยาศาสตร์โลก (Earth science) ที่ศึกษาเกี่ยวกับมหาสมุทรในหัวข้อต่างๆ ที่รวมทั้งสิ่งมีชีวิตในมหาสมุทร, ระบบการหมุนเวียนของสิ่งแวดล้อม, กระแสคลื่นในมหาสมุทร, พฤติกรรมของคลื่น, แผ่นเปลือกโลกที่ก้นมหาสมุทร, ธรณีวิทยาของก้นมหาสมุทร, และความผันผวนของสารเคมีและลักษณะทางฟิสิคส์ของทั้งมหาสมุทรและบริเวณรอบข้าง (ข้อมูลจาก wikipedia.org)
opah[โอพะ] (n) (สัตว์) ปลาโอปาห์ (มีในมหาสมุทรแอตแลนติก เนื้อแดง มีมันมาก)

Japanese-Thai: Longdo Dictionary
インド洋[いんどよう, indoyou] (n) มหาสมุทรอินเดีย
大海[たいかい, taikai] (n) มหาสมุทร
大西洋[たいせいよう, taiseiyou] (n) มหาสมุทรแอตแลนติก
太平洋[たいへいよう, taiheiyou] (n) มหาสมุทรแปซิฟิก

Japanese-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
半島[はんとう, hantou] (n) คาบสมุทร

Japanese-Thai-English: Saikam Dictionary
太平洋[たいへいよう, taiheiyou] TH: มหาสมุทรแปซิฟิก  EN: Pacific Ocean

German-Thai: Longdo Dictionary
See(n) |die, nur Sg.| ทะเล, มหาสมุทร, Syn. das Meer
Meer(n) |das, nur Sg.| ทะเล, มหาสมุทร, Syn. die See
Pazifik(n, uniq) |der| มหาสมุทรแปซิฟิก เช่น im Pazifik, Syn. pazifischer Ozean
Image:
Ozean(n) |der| มหาสมุทร

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?



Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top