ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ปรัชญา, -ปรัชญา- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ปรัชญา | (n) philosophy, Example: นักศึกษาชอบเรียนวิชาปรัชญา, Count Unit: วิชา, Thai Definition: วิชาว่าด้วยหลักแห่งความรู้และความจริง | นักปรัชญา | (n) philosopher, See also: intellectual, Example: นักปรัชญาหลายคนเชื่อว่าความฉลาดของมนุษย์เป็นสิ่งยากที่คอมพิวเตอร์จะเลียนแบบได้, Thai Definition: ผู้รู้, ผู้มีปัญญา | อภิปรัชญา | (n) metaphysics, See also: super philosophy, Example: เรื่องลิลิตพระลอเป็นเรื่องที่แฝงอภิปรัชญาไว้, Thai Definition: สาขาหนึ่งของปรัชญา ว่าด้วยความแท้จริง ซึ่งเป็นเนื้อหาสำคัญของปรัชญา | พุทธปรัชญา | (n) Buddhist philosophy, Example: ในพุทธปรัชญาเราไม่พบความคิดเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนเช่นที่พบในปรัชญาตะวันตก, Thai Definition: หลักแห่งความรู้และความจริงในศาสนาพุทธ | ปรัชญาการเมือง | (n) political philosophy, Example: การอ่านหาปรัชญาการเมืองหรือปรัชญาเกี่ยวกับธรรมชาติมนุษย์ก็เป็นวิธีการอ่านที่ดี |
|
| ปรัชญา | (ปฺรัดยา, ปฺรัดชะยา) น. วิชาว่าด้วยหลักแห่งความรู้และความจริง. | อภิปรัชญา | (อะพิปฺรัดยา, อะพิปฺรัดชะยา) น. ปรัชญาสาขาหนึ่ง ว่าด้วยความแท้จริง ซึ่งเป็นเนื้อหาสำคัญของปรัชญา. | โครงการพัฒนาส่วนพระองค์ | น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานที่ดินและพระราชทรัพย์สำหรับจัดทำแปลงเกษตรผสมผสาน สนับสนุนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม่ เพื่อทดลองค้นคว้าหารูปแบบการประกอบอาชีพของชุมชนให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และเป็นสถานที่ฝึกอบรมการเกษตรภาคปฏิบัติให้นักศึกษาและประชาชนที่สนใจนำไปประยุกต์ใช้ เช่น โครงการพัฒนาส่วนพระองค์เขาหินซ้อน อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา โครงการพัฒนาส่วนพระองค์ชุมพร อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร. | จริยศาสตร์ | น. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยการแสวงหาความดีสูงสุดของชีวิตมนุษย์ แสวงหาเกณฑ์ในการตัดสินความประพฤติของมนุษย์ว่าอย่างไหนถูกไม่ถูก ดีไม่ดี ควรไม่ควร และพิจารณาปัญหาเรื่องสถานภาพของค่าทางศีลธรรม. | จินตนิยม | น. ขบวนการในประวัติศาสตร์ของปรัชญาและศิลปะที่เน้นการเป็นตัวของตัวเอง เป็นอิสระจากกฎเกณฑ์และระเบียบการที่ยึดถือกันมา นักปรัชญาและศิลปินของขบวนการนี้ถือว่าอารมณ์ ความรู้สึกสำคัญกว่าเหตุผล | ญาณวิทยา | (ยานะวิดทะยา, ยานนะวิดทะยา) น. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยบ่อเกิด ลักษณะ หน้าที่ ประเภท ระเบียบวิธี และความสมเหตุสมผลของความรู้. | ตรรกศาสตร์ | น. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยการคิดหาเหตุผลว่าจะสมเหตุสมผลหรือไม่, ใช้ว่า ตรรกวิทยา ก็มี. | ประสบการณ์นิยม | (ปฺระสบกาน-) น. ลัทธิทางปรัชญาที่ถือว่าประสบการณ์เป็นบ่อเกิดของความรู้ทุกอย่าง | พุทธตันตระ | (-ตันตฺระ) น. นิกายหนึ่งในพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน ซึ่งเกิดขึ้นจากการนำหลักพิธีกรรมของฮินดูตันตระมาผสมกับหลักปรัชญาปารมิตาของนิกายมาธยมิกะหรือศูนยวาท. | ภารตวิทยา | น. วิชาที่เกี่ยวกับประเทศอินเดีย มีศาสนา ปรัชญา วัฒนธรรม ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ภาษา วรรณคดี เป็นต้น. | มนุษยศาสตร์ | (มะนุดสะยะ-, มะนุดสาด) น. วิชาว่าด้วยคุณค่าทางจิตใจและงานของคน มีศิลปะ วรรณคดี ประวัติศาสตร์ ภาษาศาสตร์ ศาสนา และปรัชญา. (ส. มนุษฺย + ศาสฺตฺร). | โลกายัต | น. ชื่อหนึ่งของลัทธิปรัชญาฝ่ายวัตถุนิยมของอินเดีย ถือว่าโลกนี้เกิดจากการรวมตัวกันเองของวัตถุธาตุ ๔ คือ ดิน นํ้า ไฟ ลม ชีพหรือชีวิตเป็นเพียงผลิตผลของวัตถุธาตุที่รวมตัวกันนั้น คนเราเกิดครั้งเดียว ตายแล้วขาดสูญ ไม่มีโลกหน้า จึงควรแสวงหากามสุขเสียแต่วันนี้ พรุ่งนี้เราอาจตาย, ลัทธินี้ทางพระพุทธศาสนาจัดเป็นอุจเฉททิฐิ แปลว่า ความเห็นว่าตายแล้วสูญ, จารวาก ก็เรียก. | วัชรยาน | น. ชื่อหนึ่งของลัทธิพุทธตันตระ ซึ่งถือว่ามีหลักปรัชญาสูงเหนือธรรมชาติ มีความแข็งเหมือนเพชร ใสเหมือนอากาศ ไม่มีใครต้านทานได้เหมือนสายฟ้า จึงเรียกหลักปรัชญานั้นว่า วัชระ และเรียกลัทธิว่า วัชรยาน. | เวทานต์, เวทานตะ | ชื่อปรัชญาอินเดียฝ่ายพระเวท. | ศิลปศาสตร์ | น. วิชาต่าง ๆ ซึ่งไม่ใช่วิชาทางเทคนิค หรือทางอาชีพ เช่น ภาษาศาสตร์ ปรัชญา ประวัติศาสตร์ | ศูนยวาท | น. ปรัชญาฝ่ายมหายานที่ถือว่า (๑) โลกเป็นศูนยะ คือ ไม่ใช่สิ่งจริงแท้ถาวร (๒) นิพพานก็เป็นศูนยะ คือ ไม่มีวาทะหรือลัทธิใด ๆ สามารถบรรยายได้ถูกต้องครบถ้วน, มาธยมิกะ ก็เรียก. | เศรษฐกิจพอเพียง | น. ปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานเป็นแนวทางการดำรงชีวิตและปฏิบัติตนของประชาชนตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ให้ดำเนินไปในทางสายกลาง ไม่ประมาท ไม่โลภ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น คำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัว ตลอดจนใช้ความรู้และคุณธรรม เป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิตให้รอดพ้นจากวิกฤติ มีความมั่นคงและยั่งยืนท่ามกลางกระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ. | สมัยใหม่ | น. สมัยปัจจุบัน เช่น ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ปรัชญาสมัยใหม่. | สุนทรียศาสตร์ | น. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยความงาม และสิ่งที่งามในธรรมชาติหรืองานศิลปะ. | สูตร ๒ | ข้อความทางปรัชญาที่เรียบเรียงร้อยกรอง หรือย่อขึ้นไว้สำหรับท่องจำ เช่น โยคสูตร นยายสูตร สูตรสนธิ. | อาตมัน | น. อัตตาหรือดวงวิญญาณ ซึ่งศาสนาและปรัชญาฮินดูถือว่าเที่ยงแท้ถาวร. |
| | Women philosophers | นักปรัชญาสตรี [TU Subject Heading] | Alienation (Philosophy) | ความผิดแปลกสภาวะ (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Authenticity (Philosophy) | ลักษณะของแท้ (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Buddhism and philosophy | พุทธศาสนากับปรัชญา [TU Subject Heading] | Buddhist philosophy | พุทธปรัชญา [TU Subject Heading] | Charity | การให้ทาน (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Children and philosophy | เด็กกับปรัชญา [TU Subject Heading] | Comparison (Philosophy) | การเปรียบเทียบ (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Constructivism (Philosophy) | ทฤษฎีแนวคิด (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Criticism (Philosophy) | วิจารณ์ (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Ideals (Philosophy) | อุดมคติ (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Identity (Philosophical concept) | เอกลักษณ์ (แง่ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Image (Philosophy) | ภาพลักษณ์ (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Individuation (Philosophy) | ปัจเจกบุคคล (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Instinct (Philosophy) | สัญชาตญาณ (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Islam and philosophy | ศาสนาอิสลามกับปรัชญา [TU Subject Heading] | Law (Philosophy) | กฎหมาย (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Metaphysics | อภิปรัชญา [TU Subject Heading] | Metaphysics in literature | อภิปรัชญาในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Peace (Philosophy) | สันติภาพ (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Philosophers | นักปรัชญา [TU Subject Heading] | Philosophers, Ancient | นักปรัชญาสมัยโบราณ [TU Subject Heading] | Philosophers, Medieval | นักปรัชญาสมัยกลาง [TU Subject Heading] | Philosophers, Modern | นักปรัชญาสมัยใหม่ [TU Subject Heading] | Philosophy | ปรัชญา [TU Subject Heading] | Philosophy and religion | ปรัชญากับศาสนา [TU Subject Heading] | Philosophy and science | ปรัชญากับวิทยาศาสตร์ [TU Subject Heading] | Philosophy in literature | ปรัชญาในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Philosophy of mind | ปรัชญาของจิต [TU Subject Heading] | Philosophy of nature | ปรัชญาธรรมชาติ [TU Subject Heading] | Philosophy, Ancient | ปรัชญาสมัยโบราณ [TU Subject Heading] | Philosophy, Asia | ปรัชญาเอเชีย [TU Subject Heading] | Philosophy, Chinese | ปรัชญาจีน [TU Subject Heading] | Philosophy, Comparative | ปรัชญาเปรียบเทียบ [TU Subject Heading] | Philosophy, English | ปรัชญาอังกฤษ [TU Subject Heading] | Philosophy, French | ปรัชญาฝรั่งเศส [TU Subject Heading] | Philosophy, Greek (Modern) | ปรัชญากรีกสมัยใหม่ [TU Subject Heading] | Philosophy, Hindu | ปรัชญาฮินดู [TU Subject Heading] | Philosophy, Indic | ปรัชญาอินเดีย [TU Subject Heading] | Philosophy, Islamic | ปรัชญาอิสลาม [TU Subject Heading] | Philosophy, Medieval | ปรัชญาสมัยกลาง [TU Subject Heading] | Philosophy, Modern | ปรัชญาสมัยใหม่ [TU Subject Heading] | Philosophy, Taoist | ปรัชญาเต๋า [TU Subject Heading] | Philosphy, Confucian | ปรัชญาขงจื้อ [TU Subject Heading] | Philosphy, Thai | ปรัชญาไทย [TU Subject Heading] | Power (Philosophy) | อำนาจ (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Practice (Philosophy) | การปฏิบัติ (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Process philosophy | ปรัชญากระบวนการ [TU Subject Heading] | Self (Philosophy) | อัตตา (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Semantics (Philosophy) | อรรถศาสตร์ (ปรัชญา) [TU Subject Heading] |
| อภิปรัชญา | [aphipratyā = aphipratchayā] (n) EN: metaphysics FR: métaphysique [ f ] | คำถามทางปรัชญา | [khamthām thāng pratyā] (n, exp) EN: philosophical questions FR: question philosophique [ f ] | ความคิดปรัชญา | [khwāmkhit pratyā = pratchayā] (n, exp) EN: philosophical thinking FR: pensée philosophique [ f ] | นักปรัชญา | [nakpratyā = nakpratchayā] (n) EN: philosopher FR: philosophe [ m ] | นิติปรัชญา | [nitipratyā = nitipratchayā] (n, exp) EN: philosophy of law | พุทธปรัชญาเถรวาท | [Phutthapratjā thērawāt] (n, exp) EN: Theravada Buddhist Philosophy | ปรัชญา | [pratyā = pratchayā] (n) EN: philosophy ; gnosis ; prajna FR: philosophie [ f ] ; gnose [ f ] | ปรัชญาอเมริกัน | [pratyā Amērikan] (n, exp) EN: American Philosophy FR: philosophie américaine [ f ] | ปรัชญาแห่งชีวิต | [pratyā haeng chīwit] (n, exp) EN: philosophy of life FR: philosophie de l'existence [ f ] | ปรัชญาอินเดีย | [pratyā Indīa] (n, exp) EN: Indian Philosophy FR: philosophie indienne [ f ] | ปรัชญาอินเดียสมัยโบราณ | [pratyā Indīa samai bōrān] (n, exp) EN: Ancient Indian Philosophy | ปรัชญาจีน | [pratyā Jīn] (n, exp) EN: Chinese Philosophy FR: philosophie chinoise [ f ] | ปรัชญาการเมือง | [pratyā kānmeūang] (n, exp) EN: political philosophy FR: philosophie politique [ f ] | ปรัชญากรีก | [pratyā Krīk] (n, exp) EN: Greek Philosphy FR: philosophie grecque [ f ] | ปรัชญาเมธี | [pratyāmēthī = pratchayāmēthī] (n) EN: philosopher FR: philosophe [ m ] | ปรัชญาภาษา | [pratyā phāsā] (n, exp) EN: philosophy of language FR: philosophie du langage [ f ] | ปรัชญาสตรี | [pratyā sattrī] (n, exp) EN: philosophy of women | ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง | [pratyā sētthakit phøphīeng = pratchayā sētthakit phøphīeng] (n, exp) EN: sufficiency economy philosophy | ปรัชญาญี่ปุ่น | [pratyā Yīpun] (n, exp) EN: Japanese Philosophy FR: philosophie japonaise [ f ] | ปรัชญาตะวันตก | [prawat pratyā Tawan-tok] (n, exp) EN: history of Western Philosophy FR: histoire de la philosophie occidentale [ f ] |
| homoeopathy | [โฮมีโอพาธี] (n) การบำบัดแบบโฮมีโอพาธีมีแนวคิดหรือปรัชญาพื้นฐานในการทำความเข้าใจร่างกายมนุษย์ที่แตกต่างจากระบบการแพทย์แผนปัจจุบันโดยสิ้นเชิง การมองร่างกายและจิตใจของ ผู้ป่วยจะไม่ได้มองเป็นอวัยวะที่แยกส่วนออกจากกัน แต่จะมองร่างกายและจิตใจของผู้ป่วยเป็นภาพรวมเดียวกัน ดังนั้นก่อนที่จะบำบัดผู้ป่วยจะต้องมีการสัมภาษณ์และคุยกับผู้ป่วยในเรื่องของลักษณะทั่วไป บุคลิกภาพ ประวัติทางการแพทย์ของครอบครัว อารมณ์ ความรู้สึกส่วนบุคคลต่อสิ่งแวดล้อม อาหาร อากาศ ฯลฯ รวมทั้งอาการของโรคด้วย นักบำบัด (practitioner) จะต้องนำคำตอบทั้งหมดมาประมวลและสรุปเป็นภาพรวมโดยเรียกว่า “ภาพของอาการ” (symtom picture)ดังนั้นการประเมินประสิทธิภาพของการบำบัดจึงไม่ควรใช้กรอบและแนวคิดของระบบการแพทย์แผนปัจจุบันประเมินแต่เพียงอย่างเดียว ควรมีการศึกษาและทำความเข้าใจแนวคิดพื้นฐานของการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีด้วย โดยสรุปแล้วการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีจัดเป็นศาสตร์การรักษาสุขภาพแบบองค์รวมที่เน้นเรื่องการปรับสมดุลสารชีวเคมีและพลังไหลเวียนภายในร่างกาย การให้ยาเป็นไปเพียงเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายเกิดการปรับสมดุลด้วยกลไกตามธรรมชาติของร่างกายเอง ไม่ได้มุ่งหมายให้ยาไปขจัดหรือทำลายกลไกของร่างกายหรือสารที่ก่อให้เกิดอาการป่วย รวมทั้งไม่ได้มุ่งหมายที่จะขจัดสิ่งมีชีวิตใด ๆ ออกจากร่างกายด้วย |
| doctrine | (n) ทฤษฎี, See also: หลักการ, ปรัชญา, คำสอนทางศาสนา, Syn. philosophy, religious doctrine | ens | (n) การมีตัวตน (ทางปรัชญาป, See also: เอกลักษณ์, Syn. existence | entity | (n) เอกลักษณ์ (ทางปรัชญา), Syn. existence | epistemology | (n) การศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีของธรรมชาติและความรู้, See also: ปรัชญาวิทยาแขนงหนึ่ง | esthetics | (n) สุนทรียศาสตร์สาขาหนึ่งของวิชาปรัชญาที่ศึกษาเกี่ยวกับความสวยความงาม, Syn. aestheticism, aesthetics | etiology | (n) การศึกษาทางปรัชญาที่เกี่ยวกับสาเหตุและต้นกำเนิด, Syn. aetiology | intellectualism | (n) ความเชื่อที่ว่าความรู้มาจากการคิดอย่างมีเหตุผล (ทางปรัชญา) | liberal arts | (n) ศิลปศาสตร์, See also: การศึกษาที่เน้นทางพื้นฐานทางวัฒนธรรม เช่น สาขาวิชาวรรณคดี ปรัชญา ภาษา ประวัติศาสตร์ เป็ | metaphysical | (adj) เกี่ยวกับอภิปรัชญา, Syn. mystical, spiritual, transcendental | metaphysically | (adv) ทางอภิปรัชญา | metaphysics | (n) อภิปรัชญา, Syn. epistemology, ontology, cosmology | philosopher | (n) นักปราชญ์, See also: นักปรัชญา, ปราชญ์, Syn. guru, sage, thinker | philosophical | (adj) เกี่ยวกับปรัชญา, See also: ซึ่งยึดหลักปรัชญา, Syn. esoteric | philosophically | (adv) โดยยึดหลักปรัชญา | philosophy | (n) หลักปรัชญา, See also: หลักความจริงของชีวิต, Syn. axiom, truth | philosophy | (n) วิชาปรัชญา | Plato | (n) นักปรัชญาชาวกรีก (ช่วง 427 -347 ปีก่อนคริสตกาล) | Platonic | (adj) เกี่ยวกับเพลโต, See also: เกี่ยวกับปรัชญาของเพลโต | stoic | (n) ผู้นับถือปรัชญาของ Stoic | stoicism | (n) การนับถือปรัชญาของ Stoic | theosophy | (n) ความคิดด้านปรัชญาหรือศาสนาที่ยึดหลักเทววิทยา, See also: เทวหลักการ, Syn. spiritualism | thinker | (n) นักคิด, See also: นักปรัชญา, Syn. sage, intellectual, savant, philosopher | yang | (n) หลักปรัชญาจีน (หยาง) | yoga | (n) ปรัชญาศาสนาฮินดูที่สอนให้ควบคุมจิตใจและร่างกาย |
| absolute idealism | ปรัชญาที่เกี่ยวกับ absolute idea -absolute idealist n. | academism | (อะแคค' ดิมิสซึม) n. academicism. สำนักปรัชญาที่ก่อตั้งโดย | academy | (อะแคด' ดิมี) โรงเรียน, สำนัก, สภา, สถาบันการศึกษา, กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ, สำนักปัญญาปรัชญาของ Plato, วิทยสถาน, Syn. school | aristotelianism | (อะริสโทเทล'เยินนิสซึม) n. ปรัชญาคำสอนของอริสโตเติล | axiology | (แอคซิออล'โลจี) n. สาขาปรัชญาที่เกี่ยวกับคุณค่าต่าง ๆ ศีลธรรมจรรยา ความสวยงามและศาสนา. -axiological adj. -axiologist n. (branch of philosophy) | juniorate | (จูน'ยะเรท) n. หลักสูตรปรัชญา2ปี | metaphysics | (เมททะฟิซ'ซิคซฺ) n. สาขาปรัชญาที่เกี่ยวกับความจริงในธรรมชาติ, ปรัชญา (โดยเฉพาะในสาขาต่าง ๆ ที่เข้าใจได้ยาก) | mode | (โมด) n. วิธีการ, แบบ, ลักษณะการกระทำ (เกี่ยวกับปรัชญาKant) , ความเป็นจริงหรือการเป็นอยู่หรือความเป็นไปได้, แบบนิยม, แฟชั่น, สมัยนิยม | moment | (โม'เมินทฺ) n. ขณะนั้น, ชั่วครู่, ขณะ, ความสำคัญ, ความสำคัญของขณะนั้น, โอกาส, ผลที่ตามมา, ลักษณะของสิ่งของ (ปรัชญา), Syn. minute, weight, Ant. triviality | momentum | (โมเมน'ทัม) n. แรงแห่งการเคลื่อนที่, แรงกระตุ้น, แรงผลักดัน, ปริมาณการเคลื่อนที่ของวัตถุหรือระบบที่เท่ากับผลคูณของมวลของวัตถุกับความเร็วของมัน;P; (ปรัชญา) ลักษณะของสิ่งของ pl. momenta, momentums, Syn. movement, motion, impulse, Ant. inerti | pascal | ปาสกาลเป็นชื่อภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง ที่นิยมใช้กันมากพอสมควร มักใช้ในการสอนวิชามโนทัศน์ในการเขียนโปรแกรม ผู้คิดภาษานี้ชื่อ Niklaus Wirth แต่ตั้งชื่อภาษาตามชื่อของนักคณิตปรัชญาคนสำคัญคนหนึ่งคือ Blaise Pascalดู high level language ประกอบ | ph d | abbr. Philosophiae Doctor ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, =Doctor of Philosophy (ดู) | ph. d. | abbr. Philosophiae Doctor ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, =Doctor of Philosophy (ดู) | philosopher | (ฟิลิส'ซะเฟอะ) n. นักปรัชญา, ปรัชญาเมธี, ปราชญ์, ผู้รู้หลักธรรม, ผู้ที่ปลงตก, ผู้เล่นแปรธาตุ, ผู้มีใจเยือกเย็น ไม่สะทกสะท้านต่อภยันตราย, ผู้เล่นแปรธาตุ ุ, See also: philosophership n. | philosophic | (ฟิลละซอฟ'ฟิเคิล) adj. เกี่ยวกับปรัชญา, ยึดหลักปรัชญา, คัมภีรภาพ, ไม่ดิ้นรน, ยึดหลักธรรมะ, ธรรมะธัมโม, ปลงตก, มีเหตุและเยือกเย็น | philosophical | (ฟิลละซอฟ'ฟิเคิล) adj. เกี่ยวกับปรัชญา, ยึดหลักปรัชญา, คัมภีรภาพ, ไม่ดิ้นรน, ยึดหลักธรรมะ, ธรรมะธัมโม, ปลงตก, มีเหตุและเยือกเย็น | philosophy | (ฟิลอส'ซะฟี) n. ปรัชญา, ระบบปรัชญา, หลักปรัชญา, ระบบหลักการ, สาขาวิชาทั้งหมด (ยกเว้นแพทยศาสตร์, วิชากฎหมาย และศาสนศาสตร์) , ธรรมะ, วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ, จริยศาสตร์, ความรักวิชาอย่างคลั่งไคล้ | plato | (เพล'โท) n. นักปรัชญาชาวกรีก (เมื่อ427-347ปีก่อนคริสตกาล) | property | (พรอพ'เพอที) n. ทรัพย์สิน, ทรัพย์สมบัติ, สมบัติ, ที่ดิน, สิทธิครอบครอง, กรรมสิทธิ์, (ปรัชญา) , ลักษณะที่ไม่สำคัญ, (ละคร) เครื่องประ-ดับหรืออุปกรณ์, Syn. possessions, holding, attibute, trait, feature | rousseau | (รูโซ') n. Jean Jacques (ค.ศ.1712-78) นักปรัชญาชาวฝรั่งเศส | socrates | (ซอค'ระทีซ) n. (399-469 ปีมาก่อนคริสตกาล) นักปรัชญาชาวกรีก, See also: Socratic adj. | sophist | (ซอฟ'ฟิสทฺ) n. (ประวัติศาสตร์กรีก) ชนชั้นอาจารย์ปรัชญาและศิลปะการพูด | stoic | (สโท'อิค) adj. เกี่ยวกับหลักการขจัดตัณหาราคะ, ปลงตก, stoic, =stoical (ดู) . n. สมาชิกหรือผู้ยึดถือหลักปรัชญาของสำนักหลักปรัชญาดังกล่าว, , See also: stoic n. ผู้ปฎิบัติตามหลักปรัชญาดังกล่าว | subject | (ซับ'จิคทฺ) n. เรื่อง, กรณี, ประเด็น, บัญหา, ข้อ, หัวข้อ, สาขาวิชา, สาเหตุ, มูลเหตุ, ประชากร, ข้า, ไพร่ฟ้าข้าแผ่นดิน, ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา, ผู้รับการทดสอบ, (ไวยากรณ์) ประธานประโยค, (ปรัชญา) ตัวหลัก, ตัวของตัวเอง. adj. ภายใต้การควบคุม, เปิดเผย, อยู่ในสังกัด, อยู่ในความควบคุม, | subsist | (ซับซิสทฺ') vi. มีอยู่, ยังชีพ, ยังอยู่, อยู่รอด, ประทังชีพ, ดำรงชีพ, (ปรัชญา) ดำรงอยู่อย่างไม่มีที่สิ้นสุด., Syn. exist, love, be, occur, endure | subsistent | (ซัยซิส'เทินทฺ) adj. มีอยู่, ยังชีพ, อยู่รอด, ดำรงชีพ, ประทังชีพ, ฝังติด, ประจำตัว n. (ปรัชญา) สิ่งที่มีอยู่หรือเป็นของจริง | universal | (ยูนิเวอ'เซิล) adj. สากล, เกี่ยวกับจักรวาล, ทั้งหมด, ทั่วไป, มีผลทั่วไป, ทุกหนทุกแห่ง, ทั้งมวล, n. (ปรัชญา) ข้อเสนอสำหรับทุกชนชั้น, มโนธรรมทั่วไป, ลักษณะเฉพาะทั่วไป, ข้อต่ออเนกประสงค์ (หรือuniversal joint) ., See also: universalness n. | yin and yang | (ยิน แอนด์ แยง) n. (หลักปรัชญาและศาสนาในจีน) หลักการตรงกันข้ามสองอย่าง/ลบปรือบวก/มืดหรือสว่างเป็นต้น | yoga | (โย'กะ) n. (ปรัชญาอินเดีย) โยคะ -Yogic adj. -Yogism n. |
| metaphysical | (adj) เกี่ยวกับปรัชญาว่าด้วยความจริงในธรรมชาติ | metaphysics | (n) ปรัชญาว่าด้วยความจริงในธรรมชาติ | philosopher | (n) นักปราชญ์, นักปรัชญา, ปรัชญาเมธี, ผู้เล่นแร่แปรธาตุ | philosophic | (adj) เกี่ยวกับปรัชญา, ที่ยึดหลักปรัชญา, ซึ่งปลงตก, ไม่ดิ้นรน | philosophize | (vi) คิดอย่างปรัชญาเมธี, ปลงตก, ยึดหลักปรัชญา, ศึกษาธรรมะ | philosophy | (n) ปรัชญา, จริยศาสตร์, ธรรมะ |
| acatalepsy | (n) แนวคิดทางปรัชญาที่ว่าความรู้ของมนุษย์ไม่เคยมีความแน่นอน |
| 哲学 | [てつがく, tetsugaku] ปรัชญา |
| Philosophie | (n) |die, pl. Philosophien| ปรัชญา เช่น Unsere Philosophie lautet: Kunden sind König. ปรัชญาของเราคือ ลูกค้าเป็นพระเจ้า (แปลตรงๆ คือ ลูกค้าคือพระมหากษัตริย์) | Pragmatismus | (n) |der, nur Sg.| ปฏิบัตินิยม, หลักการหรือปรัชญาที่ว่าผลของการปฏิบัติเป็นแกนหรือความหมายของความรู้ |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |