ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ทูล, -ทูล- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ |
| ทูล | (v) inform, See also: report, tell, Syn. เสนอ, บอก, กล่าว, รายงาน, Example: ข้าราชการท่านหนึ่งได้ทูลถึงความทุกข์สุขให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงทราบ, Notes: (เขมร/ราชา) | ทูลถาม | (v) ask, See also: query, inquire, interrogate, Syn. ถาม, Example: นายกรัฐมนตรีทูลถามเจ้าฟ้าชายเรื่องการดำเนินไปต่างประเทศ, Notes: (ราชา) | พิดทูล | (v) speak, See also: speak to royalty, Syn. เพ็ดทูล, Thai Definition: พูดกับเจ้านาย | ศารทูล | (n) tiger, Syn. เสือโคร่ง, Count Unit: ตัว, Notes: (สันสกฤต) | กราบทูล | (v) inform (a prince), See also: tell, Syn. บอก, กล่าว, Example: กระผมได้กราบทูลเสด็จในกรมแล้วถึงเรื่องราชการด่วน | เพ็ดทูล | (v) report, See also: to speak to royalty, Syn. พิดทูล, Example: เขาคอยเพ็ดทูลเจ้านายเพื่อประจบประแจงให้ตนได้ดี, Thai Definition: พูดกับเจ้านาย | ทูลเกล้าฯ ถวาย | (v) present, See also: offer, dedicate, consecrate, give, bestow, confer, Syn. ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย, Thai Definition: ถวาย (ใช้แก่ของที่ยกได้ที่ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระยุพราช สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช และสมเด็จพระบรมราชกุมารี), Notes: (ราชา) | กราบบังคมทูลพระกรุณา | (v) inform (The king, a Royal Highness), See also: respectfully inform, tell (royal word), Example: นายกรัฐมนตรีนำความกราบบังคมทูลพระกรุณา | เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท | (v) have an audience of the king, Example: นายกรัฐมนตรีนำคณะรัฐมนตรีเข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท เพื่อถวายสัตย์ปฏิญาณก่อนเข้ารับหน้าที่, Thai Definition: คำราชาศัพท์ หมายถึงเข้าพบพระมหากษัตริย์หรือพระบรมราชินีนาถ | ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย | (v) present, See also: offer, dedicate, consecrate, give, bestow, confer, Syn. ทูลเกล้าฯ ถวาย, Ant. พระราชทาน, รับพระราชทาน, Thai Definition: ถวาย (ใช้แก่ของที่ยกได้ที่ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระยุพราช สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช และสมเด็จพระบรมราชกุมารี), Notes: (ราชา) |
| ทูลัง | ดู ลัง ๒. | ทูล | ก. บอก, กล่าว, (ใช้แก่เจ้านาย). | ทูลกระหม่อม ๑ | น. คำที่พระราช-โอรสพระราชธิดาทรงเรียกพระราชบิดาที่เป็นพระมหากษัตริย์ | ทูลกระหม่อม ๑ | คำเรียกพระราชโอรสพระราชธิดาซึ่งเป็นเจ้าฟ้าชั้นเอก ประสูติแต่พระอัครมเหสี, ใช้ว่า ทูลหม่อม ก็มี, หากเจ้านายทรงเรียกพระประยูรญาติที่เป็นเจ้าฟ้าชั้นเอก จะระบุคำแสดงความเป็นเครือญาติท้ายคำว่า ทูลกระหม่อม เช่น ทูลกระหม่อมปู่ ทูลกระหม่อมพ่อ ทูลกระหม่อมลุง ทูลกระหม่อมป้า ทูลกระหม่อมอา. | ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย | ก. ถวาย (ใช้แก่สิ่งของเล็กหรือของที่ยกได้ที่ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี), เขียนว่า ทูลเกล้าฯ ถวาย ก็ได้ แต่ต้องอ่านว่า ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย. | ทูลกระหม่อม ๑ | ดูใน ทูล. | ทูลกระหม่อม ๒ | น. ชื่อปูน้ำจืดชนิด Thaipotamon chulabhorn Naiyanetr ในวงศ์ Potamidae กระดองสีม่วงเข้มคล้ายสีเปลือกมังคุด ขาและขาก้ามสีเหลืองอมส้ม ปลายก้ามและขาสีขาว ขุดรูอยู่ พบในป่าดูนลำพัน อำเภอนาเชือก จังหวัดมหาสารคาม. | เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท | ก. ไปพบ, ไปหา, ใช้แก่พระมหากษัตริย์และสมเด็จพระบรมราชินีนาถ. | เฝ้าทูลละอองพระบาท | ก. ไปพบ, ไปหา, ใช้แก่สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. | พิดทูล | ก. เพ็ดทูล. | เพ็ดทูล | ก. พูดกับเจ้านาย, พิดทูล ก็ว่า. | ศารทูล | (สาระ-) น. เสือโคร่ง. | กรรโชก | (กัน-) ก. ขู่เอาด้วยกิริยาหรือวาจาให้กลัว เช่น ผู้ใดกรานกรรโชกราษฎรแลตรัสถามตนฯ อำพรางพระเจ้าอยู่หัว มิได้กราบทูลตามสัจตามจริงก็ดี (สามดวง), โบราณเขียนเป็น กันโชก หรือ กำโชก ก็มี. (แผลงมาจาก กระโชก). | กระหม่อม | คำสำหรับใช้ควบกับคำที่ขึ้นต้นว่า “เกล้า” เช่น ทราบเกล้าทราบกระหม่อม ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย ในการเขียนหนังสือใช้ไปยาลน้อยแทนก็ได้ เช่น ทราบเกล้าฯ ทูลเกล้าฯ ถวาย. | กระหม่อม | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด เพศชาย ทูลพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าที่มิได้ทรงกรม และหม่อมเจ้า, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑, สรรพนามบุรุษที่ ๑ ที่หม่อมเจ้ามีรับสั่งระหว่างกัน. | กระหม่อม | ว. คำรับหรือคำลงท้ายที่ผู้ชายใช้ทูลเจ้านายชั้นหม่อมเจ้า. | กราบ ๒ | (กฺราบ) ก. แสดงความเคารพด้วยวิธีนั่งประนมมือขึ้นเสมอหน้าผาก แล้วน้อมศีรษะลงจดพื้น, ถ้าหมอบแล้วน้อมศีรษะลงจดมือที่ประนมอยู่กับพื้น เรียกว่า หมอบกราบ, ประนมมือเสมอหน้าผาก แล้วน้อมศีรษะลงจดมือที่วางอยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่ง ก็อนุโลมถือว่าเป็นกราบ เช่น กราบลงบนตัก, เรียกกราบโดยให้อวัยวะทั้ง ๕ คือ เข่าทั้ง ๒ มือทั้ง ๒ และหน้าผาก จดลงกับพื้นว่า กราบโดยเบญจางคประดิษฐ์ เป็นอาการแสดงความเคารพอย่างสูงสุด, โดยปริยายใช้เป็นคำแสดงอาการเคารพเหมือนอย่างกราบ เช่น กราบทูล กราบเรียน. | กรุง | กษัตริย์ เช่น จึ่งกรุงสุทโธทนเห็นอัศจรรย์ก็ทูลพลันด่งงนี้ (ม. คำหลวง ทศพร). | กรุณา | ใช้ร่วมกับคำ พระ เป็นสรรพนามสำหรับพระมหากษัตริย์ เช่น กราบบังคมทูลพระกรุณา. | กฤษฎาญชลี | (กฺริดสะดานชะลี) ก. มีอัญชลีอันกระทำแล้ว, กระทำอัญชลี, เช่น กฤษฎาญชลียะยุ่งแล (ม. คำหลวง ทศพร), ในวรรณคดีแผลงไปเป็นรูปต่าง ๆ คือ กฤษฎาญชลิต เช่น กฤษฎาญชลิตไหว้ (มาลัยคำหลวง), กฤษฎาญชวลิตวา เช่น อันว่ากฤษฎาญชวลิตวา (มาลัยคำหลวง), กฤษฎาญชวลิศ เช่น อนนว่าเจ้าสากลกฤษฎาญชวลิศท่านธแล้ว (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์), กฤษฎาญชวเลศ เช่น ถวายกฤษฎาญชวเลศ ทูลแถลงเหตุนุสนธ์ (เพชรมงกุฎ), กฤษฎาญชุลี เช่น กฤษฎาญชุลีน้อม (ฉันทลักษณ์). | กังหันน้ำชัยพัฒนา | น. ชื่อเครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้ำหมุนช้าแบบทุ่นลอยแบบหนึ่ง เป็นอุปกรณ์บำบัดน้ำเสียชนิดหนึ่ง มีลักษณะการทำงานคล้ายกังหันวิดน้ำขึ้นเหนือผิวน้ำเพื่อเติมอากาศหรือออกซิเจนในแหล่งน้ำ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาและประดิษฐ์อุปกรณ์เติมอากาศขึ้นแล้วทรงมอบหมายมูลนิธิชัยพัฒนา ศึกษาวิจัยเพื่อทำต้นแบบพร้อมสนับสนุนงบประมาณให้กรมชลประทานสร้าง นำไปใช้งานตามแหล่งน้ำเสียทั่วประเทศ กรมทรัพย์สินทางปัญญาได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายการจดสิทธิบัตรการประดิษฐ์เลขที่ ๓๑๒๗ และองค์กรนักประดิษฐ์โลกจากประเทศเบลเยียมได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายรางวัลในฐานะที่ทรงสร้างนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อการรักษาสิ่งแวดล้อม. | เกล้ากระหม่อม | ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด เพศชาย กราบทูลพระอนุวงศ์ชั้นพระเจ้าวรวงศ์เธอที่มิได้ทรงกรม พระวรวงศ์เธอที่ทรงกรม และสมเด็จพระสังฆราช, ถ้าผู้พูดเป็นเพศหญิงใช้ว่า เกล้ากระหม่อมฉัน, เขียนย่อว่า เกล้าฯ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. | ขอเดชะ | น. คำขึ้นต้นและคำลงท้ายในการกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินีนาถ. | ขอพระราชทาน | ก. ขอสิ่งของ, ขออนุญาต, (ใช้กราบบังคมทูลพระเจ้าแผ่นดิน). | ข้าพระพุทธเจ้า | (ข้าพฺระพุดทะเจ้า) ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด กราบบังคมทูลพระมหากษัตริย์ หรือกราบบังคมทูล กราบทูลเจ้านายชั้นสูง, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. | ขำ ๒ | น. สิ่งหรือข้อความที่มีนัยซึ่งไม่ควรเปิดเผย เช่น ความขำเขาซับซี่ในวัดที่ดรธานปล่ยวน้นน (ม. คำหลวง ชูชก), แล้วทูลว่านางคันธมาลี ให้ข้านี้นำของมาถวาย เป็นความขำกำชับมามากมาย พลางยอบกายเข้าไปให้ใกล้ชิด (คาวี). | ฎีกา | คำร้องทุกข์ที่ราษฎรทูลเกล้าฯ ถวายต่อพระมหากษัตริย์ | ติดสนม | ก. ถูกกักบริเวณในเขตพระราชฐาน ใช้แก่พระราชวงศ์ฝ่ายในและข้าราชการฝ่ายใน โดยอยู่ในความควบคุมดูแลของโขลน, ถูกกักบริเวณในวังที่ประทับ โดยอยู่ในความควบคุมดูแลของพวกสนมพลเรือน ใช้แก่ผู้มีฐานันดรศักดิ์แห่งราชวงศ์หรือข้าทูลละอองธุลีพระบาทชั้นผู้ใหญ่. | ทรัพย์สินส่วนพระองค์ | น. ทรัพย์สินที่เป็นของพระมหากษัตริย์อยู่แล้วก่อนเสด็จขึ้นครองราชสมบัติ หรือทรัพย์สินที่รัฐทูลเกล้าฯ ถวาย หรือทรัพย์สินที่ทรงได้มาไม่ว่าในทางใดและเวลาใด นอกจากที่ทรงได้มาในฐานะที่ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ ทั้งนี้ รวมทั้งดอกผลที่เกิดจากบรรดาทรัพย์สินเช่นว่านั้นด้วย. | ทราบเกล้าทราบกระหม่อม | ก. รู้ (ใช้กราบทูลเจ้านายตั้งแต่ชั้นพระองค์เจ้าขึ้นไป), เขียนย่อว่า ทราบเกล้าฯ. | ทราบฝ่าพระบาท | ก. รู้ (ใช้กราบทูลพระอนุวงศ์ชั้นพระวรวงศ์เธอที่ทรงกรมขึ้นไปจนถึงสมเด็จเจ้าฟ้า). | ทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท | ก. รู้ (ใช้กราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินีนาถ). | ทราบฝ่าละอองพระบาท | ก. รู้ (ใช้กราบบังคมทูลสมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระยุพราช สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช และสมเด็จพระบรมราชกุมารี). | ทำนูล | ยกขึ้นเทินหัว. (แผลงมาจาก ทูล). | บทามพุช | (บะทามะพุด) น. บัวบาท, เท้า, เช่น ทูลพระบทามพุช (ยวนพ่าย). | พ่ะย่ะค่ะ | ว. คำรับหรือคำลงท้ายที่ผู้ชายใช้เพ็ดทูลพระราชวงศ์ที่ดำรงพระยศเจ้าฟ้า สันนิษฐานว่ามาจากคำว่า พระพุทธเจ้าข้า. | ภาษาแบบแผน | น. ภาษาที่ถือเป็นแบบฉบับที่จะต้องใช้เป็นแบบเดียวกันในโอกาสอย่างเดียวกัน เช่น คำกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขึ้นต้นว่า “ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม...” และลงท้ายว่า “ควรมิควรแล้วแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า...”, ภาษาที่ใช้เป็นทางการในโอกาสสำคัญ หรือใช้แก่บุคคลสำคัญ หรือบุคคลสำคัญเป็นผู้ใช้ เช่น คำประกาศเกียรติคุณในการประสาทปริญญาบัตรกิตติมศักดิ์ คำปราศรัยของนายกรัฐมนตรีในวันขึ้นปีใหม่, ภาษาระดับพิธีการ ก็เรียก. | มูลิกากร | น. ข้าทูลละอองธุลีพระบาท, เรียกให้เต็มว่า บาทมูลิกากร. | ร้องฎีกา | ก. ทูลเกล้าฯ ถวายฎีการ้องทุกข์. | รัฐพิธี | น. งานที่รัฐบาลจัดขึ้นโดยกราบบังคมทูลพระกรุณาให้ทรงรับไว้มีกำหนดการเป็นประจำ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเป็นประธาน เช่นวันที่ระลึกสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช วันที่ระลึกพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหาเจษฎาราชเจ้า. | ราชาศัพท์ | น. คำที่ใช้กราบบังคมทูล. | ลัง ๒ | น. ชื่อปลาทะเลชนิด Rastrelliger kanagurta (Cuvier) ในวงศ์ Scombridae รูปร่างและลักษณะทั่วไปคล้ายปลาทู แต่ขนาดใหญ่และลำตัวเพรียวกว่าเล็กน้อย ปากกว้าง ลำตัวสีน้ำเงินปนเทาและมีแถวจุดบริเวณ ๒ ข้างของครีบหลังเข้มกว่าปลาทู มีลายเส้นสีทึบพาดตามยาวข้างลำตัว ๒-๓ เส้น มีชุกชุมโดยอยู่รวมกันเป็นฝูงในบริเวณห่างฝั่งมากกว่าปลาทู, ทูโม่ง หรือ ทูลัง ก็เรียก. | ลาตาย | น. การที่ทายาทหรือญาติของผู้ตายซึ่งขอพระราชทานนํ้าอาบศพนำธูปเทียนแพ กระทงกรวยดอกไม้ และหนังสือกราบถวายบังคมลาตายไปกราบถวายบังคมลาที่สำนักพระราชวัง เป็นการกราบทูลข่าวการตายของผู้นั้นให้ทรงทราบ. | สนม ๓ | (สะหฺนม) น. เขตพระราชฐานซึ่งเป็นที่กักบริเวณผู้มีฐานันดรศักดิ์แห่งราชวงศ์หรือข้าทูลละอองธุลีพระบาทชั้นผู้ใหญ่โดยอยู่ในความควบคุมดูแลของพวกสนม, เรียกลักษณะที่ถูกกักบริเวณเช่นนั้น ว่า ติดสนม. | สรวมชีพ | ก. ขอชีวิต, ขอจงให้ชีวิตหรือปกป้องชีวิต, ใช้ขึ้นต้นคำกราบบังคมทูลอย่างขอเดชะ. | สะระตะ | ก. เก็งหรือคาดหมายเอาโดยยึดเค้าเดิมเป็นหลัก เช่น ข้าพระพุทธเจ้าคิดสะระตะอยู่ว่าจะแก้ไขอย่างไรดี (หนังสือเจ้าพระยาพระเสด็จฯ กราบบังคมทูล ร. ๕), สรตะ ก็ว่า. | อมาตย์ | (อะหฺมาด) น. อำมาตย์, ข้าราชการ, ข้าทูลละอองธุลีพระบาท | อำมาตย-, อำมาตย์ | (อำหฺมาดตะยะ-, อำหฺมาด) น. ข้าราชการ, ข้าทูลละอองธุลีพระบาท |
| Address | คำกราบบังคมทูลของรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | address to the Crown | คำกราบบังคมทูล (ของรัฐสภาอังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | hastula | แฮสทูลา [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
| ปะรำ | ใช้เป็นสถานที่สำหรับราชสกุลและข้าราชการเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ในงานถวายพระเพลิงพระบรมศพ [ศัพท์พระราชพิธี] | Botulinum toxin type A | พิษจากโบทูลินั่มชนิดเอ [TU Subject Heading] | Botulinum toxins | พิษจากโบทูลินั่ม [TU Subject Heading] | Botulism | โรคโบทูลิสซึม [TU Subject Heading] | Kai's power tools | ไคส์ พาวเวอร์ ทูลส์ [TU Subject Heading] | PC tools deluxe (Computer program) | พีซี ทูลส์ เดอลุกซ์ (โปรแกรมคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] | QuicBASIC toolbox | ควิกเบสิก ทูลบอกซ [TU Subject Heading] | ToolBook | ทูลบุ๊ค [TU Subject Heading] | Botulism | โบตุลิสม, อาหารเป็นพิษ, โรคโบทูลิซั่ม, โรคโบทูลิสซึม, ภาวะอาหารเป็นพิษ, เชื้อโบทูลิซั่ม, พิษอาหารกระป๋อง, โรคโบทูลิสม์, เชื้อโบตูลิซึม [การแพทย์] | Capitulum | แคปิตูลัม, คาปิทูลัม, หัวกระดูก [การแพทย์] | Clostridium Botulinum | คลอสตริเดียมโบตุลินัม;คลอสตริเดียมโบตูลินัม, เชื้อ;คลอสตริเดียมบอทูลินุม;คลอสตริเดียมโบตูลินัม [การแพทย์] | Clostridium Botulism | คลอสติเดียมโบทูลิสซึม [การแพทย์] |
| ทูล | [thūn] (v) EN: inform | ทูลเกล้า ฯ ถวาย | [thūn klāo thawāi] (v, exp) EN: present to a sovereign ; submit to the King | ทูลกระหม่อม | [thūn kramǿm] (pr) EN: His Royal Highness ; Her Royal Highness |
| | spatula | (สแพท'ทูละ) n. ช้อนปากแบนกว้างและทู่สำหรับตักหรือแผ่สารหรือยา, See also: spatular adj. | stool | (สทูล) n. ม้านั่งเดี่ยว, ตั่ง, ตั่งพักเท้า, ม้ารองเข่า, ตอ, ตอไม้, ราวไม้เกาะของนก, รากที่แตกหน่อใหม่, นกเกาะบนราวไม้ที่ใช้เป็นเหยื่อล่อ, เป็ดเทียมหรือนกเทียมที่ใช้เป็นเหยื่อล่อ, นกต่อ, ถังอุจจาระ, ม้านั่งถ่ายอุจจาระ, อุจจาระ, ที่นั่งที่เป็นสัญลักษณ์อำนาจ vi. แตกหน่อ, ถ | tarantula | (แทแรน'ทูละ) n. แมงมุมพิษตัวใหญ่ชนิดหนึ่ง | toadstool | (โทด'สทูล) n. เห็ดชนิดหนึ่งที่มีพิษ, รา (fungi) ชนิดหนึ่งที่มีลำต้นและส่วนที่คล้ายร่มอยู่ข้างบน | tool | (ทูล) n. เครื่องมือ, อุปกรณ์ vt. จัดให้มีเครื่องมือ, ใช้เครื่องมือ, ขับรถ., See also: tooler n., Syn. implement, utensil | tulle | (ทูล) n. ผ้าบางและละเอียดที่ทำด้วยใยไหมหรือใยสังเคราะห์, ผ้าโปร่งสำหรับคลุมหน้าสตรี |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |