ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: นิก, -นิก- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ selfie | [เซลฟฺ-ฟี] (n) การถ่ายภาพตนเองในอิริยาบทต่างๆด้วยโทรศัพทมือถือหรืออุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์ แล้วมีการเผยแพร่ภาพไปยังสื่อสังคมออนไลน์ |
|
| | ฌาณ | (n) ฌาณ หรือ อธิจิต(supraconscious) เป็นจิตที่เป็นที่สุดของปัญญา คือความรู้ชัดธรรมชาติของมนุษย์ว่านี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา(คือความรู้มรรค 8 การคิดปฏิบัติเพื่อดับทุกข์) เป็นจิตที่อยู่เหนือและสามารถ ควบคุมหรือข่ม ได้ทั้งจิตสำนึก(consious) และจิตใต้สำนึก(subconsious) ซึ่งเป็นความรู้ที่สูดของวิญญาณคือความรู้แจ้งของธรรมชาติของมนุษย์ว่า นี้สุข นี้ทุกข์ นี้มิใช่ทุกข์ มิใช่สุข อธิจิตใช้สำหรับดับกิเลส ซึ่งสามารถทำให้เกิดนิมิตขึ้นมาได้ เพื่อดับกิเลสในเวลาที่เกิดกิเลสขึ้น พระผู้มีพระภาค(พระพุทธเจ้า)ได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ไว้ในพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์๑๐. วิตักกสัณฐานสูตรว่าด้วย อาการแห่งวิตก การเรียกอธิจิตของตนเอง ถ้าไม่มีพรสวรรค์หรือบารมีที่สะสมมาแต่ปางก่อน จะเรียกไม่ได้ เพราะจิตยังไม่มั่นคงพอ จะต้องเรียนรู้และทำความเพียรที่ทนได้ยาก ฝึกฝน จนเกิดความชำนาญ ซึ่งข้าพเจ้ามีความสามารถที่จะให้คนทั่วไปเรียกอธิจิตของตนเองได้ เช่นให้ผู้ป่วยเรียกอธิจิตของเขาออกมารักษาโรคภัยไข้เจ็บทั้งทางกายและใจของเขาที่เป็นอยู่ โดยสั่งให้จิตของเขาตกอยู่ในภาวะภวังค์ ด้วยการสั่งระงับจิตหยาบที่ทำให้เขาเกิดโรคทั้งทางกายและทางใจ เพื่อเขาจะได้มีจิตที่มั่นคงถึงอธิจิตแล้วสั่งยาหรือภูมิต้านทานในตัวของเขาออกมารักษาโรค ซึ่งได้ผลดีกว่าแพทย์แผนปัจจุบัน และแพทย์ทางเลือกวิธีอื่น นี่คือประโยชน์จากการเรียกหรือฝึกเรียกอธิจิตของตนเอง ซึ่งพระพุทธเจ้าสามารถเรียก Stem cell ในพระวรกายของพระองค์ออกมารักษาโรคได้นานมาแล้วหรือมากกว่า 2554 ปี ส่วนนักวิทยาศาสตร์พึ่งจะมาค้นพบวิธีใช้ Stem cell รักษาบางโรคเมื่อ 50 ปีมานี้เอง การรักษายังมีข้อบ่กพร่องและเงื่อนไขในการรักษาเพื่อจะได้ผลลัพท์จนเป็นที่น่าพอใจของแพทย์อยู่อีกมาก แต่วิธีของพระพุทธองค์ไม่มีเงื่อนไข ถ้าคนป่วยสามารถเรียกอธิจิตของตนเองได้ ข้าพเจ้าได้ใช้อธิจิตรักษา โรคปวดตามอวัยวะและโรคหวัดป่วยของข้าพเจ้าเอง และรักษาโรคปวดและอัมพาลให้กับคนป่วยแล้วหลายราย ซึ่งได้รับผลเป็นที่น่าพอใจของข้าพเจ้าและของคนป่วย | วัดนาปรังประชาราม | [วัด-นา-ปรัง-ประ-ชา-ราม] (org) วัดนาปรังประชาราม เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ ๑ ตำบลคลองกวาง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา |
| หมก | ก. นิกฺขิปติ, นิทหติ, นิขนติ, See also: S. หนุนเนื่อง, หนุนหมอน, หนุนหลัง, หนุนให้ทำ |
| | นิกาย | (n) sect, See also: denomination, Syn. หมู่, พวก, Example: กษัตริย์แห่งเกาะสุมาตรานำศาสนานิกายมหายานเข้ามาเผยแพร่ ที่นครศรีธรรมราช, Count Unit: นิกาย, Thai Definition: ใช้เกี่ยวกับศาสนา ในกรณีเช่น คณะนักบวชในศาสนาเดียวกัน ที่แยกออกไปเป็นพวกๆ | คลินิก | (n) clinic, Syn. สถานพยาบาล, Example: พอมีโรงพยาบาลประจำอำเภอเปิดทำการก็มีคลินิกของนายแพทย์ก็เกิดขึ้นหลายแห่ง, Count Unit: แห่ง, Thai Definition: สถานรักษาพยาบาลของเอกชน มักไม่รับผู้ป่วยให้พักรักษาตัวประจำ, Notes: (อังกฤษ) | ปิกนิก | (n) picnic, Example: นักศึกษาที่มหาวิทยาลัยมาร์แชลสามารถเลือกที่จะเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ได้มากมาย ขี่ม้า โยนโบว์ลิ่ง ปิกนิก, Thai Definition: การพากันไปเที่ยวชั่วระยะเวลาสั้นๆ และมีของกินไปเลี้ยงกันด้วย, Notes: (อังกฤษ) | พสกนิกร | (n) inhabitant, See also: citizen, people, civilian, Syn. พลเมือง, ประชาราษฎร์, ประชากร, พสก, Example: พระมหากษัตริย์ผู้ทรงธรรมเป็นปูชนียบุคคลของพสกนิกร, Count Unit: คน | สถาปนิก | (n) architect, Syn. นักออกแบบ, คนเขียนแบบ, Count Unit: คน | สถาปนิก | (n) architect, Example: สถาปนิกเป็นผู้กำหนดรูปบ้าน อันได้แก่ ทรวดทรงของบ้านและการจัดห้องต่างๆ, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ออกแบบก่อสร้างในทางสถาปัตยกรรม, Notes: (สันสกฤต) | ทีฆนิกาย | (n) name of the first canto of the Buddhist scriptures, Thai Definition: ชื่อคัมภีร์นิกายแรกแห่งพระสุตตันตปิฎก, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | มหานิกาย | (n) Maha Nikai, See also: one of the two major demonizations of Buddhism, Ant. ธรรมยุตินิกาย, Example: พระสงฆ์ในมหานิกายต้องปรับปรุงข้อพฤติกรรมและระเบียบวินัยมากขึ้น, Count Unit: สาย, Thai Definition: ชื่อคณะสงฆ์นิกายหนึ่ง | ราชนิกุล | (n) a member of the royal family, See also: a royal descendant, Syn. ราชสกุล, Thai Definition: ตระกูลฝ่ายพระมหากษัตริย์ | ศาสนิกชน | (n) religion follower, Example: เขาปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนชาวพุทธที่ดี, Thai Definition: ผู้นับสือศาสนา | มุนิกุญชร | (n) name of the lord Buddha, See also: Buddha, Thai Definition: นามของพระพุทธเจ้า | ราชินิกุล | (n) lineage of the queen, See also: relatives of the queen, a member of queen's family, Syn. ราชินีกุล, Thai Definition: ตระกูลฝ่ายพระราชินี | อุตรนิกาย | (n) Uttaranikaya, See also: Mahayana sect of Buddhism in the north, Syn. มหายาน, Thai Definition: ชื่อนิกายหนึ่งในพระพุทธศาสนา คือ นิกายฝ่ายเหนือ | พุทธศาสนิกชน | (n) Buddhist, Syn. ชาวพุทธ, Example: พระพุทธชินราชเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์สูงสุดของเมืองพิษณุโลก ที่พุทธศาสนิกชนทั้งชาวไทย และชาวต่างประเทศจำต้องเดินทางไปนมัสการเพื่อความเป็นสิริมงคล, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่นับถือพระพุทธศาสนา | คริสต์ศาสนิกชน | (n) Christian, Syn. ชาวคริสต์, Example: ความเห็นเรื่องบาปของพุทธศาสนิกชนและคริสต์ศาสนิกชนจะแตกต่างกัน | อิเล็กทรอนิกส์ | (n) electronics, Example: วิศวกรรมทางด้านอิเล็กทรอนิกส์กำลังก้าวหน้าไปอย่างมาก, Thai Definition: วิทยาศาสตร์กายภาพแขนงหนึ่งที่นำมาประยุกต์ใช้กับการศึกษาวงจรไฟฟ้าที่ใช้สารกึ่งตัวนำและอุปกรณ์อื่นๆ ซึ่งควบคุมการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนได้, Notes: (อังกฤษ) | ทางอิเล็กทรอนิกส์ | (adj) electronic, Syn. ทางไฟฟ้า, Example: ด้วยวิวัฒนาการของเทคโนโลยีทางอิเล็กทรอนิกส์ จึงมีการพัฒนาเครื่องมือที่มีสมรรถนะสูงขึ้นมา | จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ | (n) electronic mail, See also: e-mail, Syn. อีเมล์, Example: ผู้ที่จะรับ-ส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ได้จะต้องมีที่อยู่หรือที่เรียกว่า e-mail address เสียก่อน, Thai Definition: การส่งข้อมูลจากคอมพิวเตอร์หน่วยหนึ่งไปยังหน่วยอื่น |
| ขุทกนิกาย | น. ชื่อคัมภีร์นิกายที่ ๕ แห่งพระสุตตันตปิฎก แปลว่า หมวดเล็กน้อย รวบรวมข้อธรรมะที่ไม่อยู่ใน ๔ นิกายข้างต้น มี ๑๕ เรื่อง ซึ่งมีธรรมบทและชาดก รวมอยู่ในคัมภีร์นี้ด้วย. | คริสต์ศาสนิกชน | (คฺริดสาสะนิกกะชน, คฺริดสาดสะนิกกะชน) น. ผู้ที่นับถือคริสต์ศาสนา. | คลินิก | น. สถานรักษาพยาบาล โดยมากเป็นของเอกชน มักไม่รับผู้ป่วยให้พักรักษาตัวประจำ | คลินิก | แผนกของโรงพยาบาลที่รักษาโรคเฉพาะทาง. | เจ้าราชนิกุล | ดู หม่อมราชนิกุล, หม่อมราชนิกูล. | เจ้าราชินิกูล | น. หม่อมราชินิกูล. | ทักษิณนิกาย | น. เถรวาท, หินยาน. | ทีฆนิกาย | น. ชื่อคัมภีร์นิกายแรกแห่งพระสุตตันตปิฎก แปลว่า หมวดยาว รวบรวมพระสูตรขนาดยาวไว้ในหมวดนี้. | ธรรมยุติกนิกาย | น. ชื่อคณะสงฆ์นิกายหนึ่ง, คู่กับมหานิกาย, เรียกสั้น ๆ ว่า ธรรมยุต. | นิกเกิล | น. ธาตุลำดับที่ ๒๘ สัญลักษณ์ Ni เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง สีเงิน หลอมละลายที่ ๑๔๕๓ °ซ. ใช้ประโยชน์นำไปผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ ชุบฉาบผิวโลหะอื่นเป็นต้น, ทางการค้าเรียกว่า ทองขาว. (ดู ทองขาว) (อ. nickel). | นิกขะ | น. ลิ่ม, แท่ง | นิกขะ | ชื่อมาตรานํ้าหนักของเงินอินเดีย ๕ สุวัณณะ เป็น ๑ นิกขะ. | นิกขันต์ | ก. ออกไป, พ้นไป, จากไป. | นิกร | (-กอน) น. หมู่, พวก. | นิกรอยด์ | (-กฺรอย) น. ชนชาติผิวดำ มีลักษณะผมหยิกขอดติดศีรษะ ปากหนา เช่น นิโกร ซาไก. | นิกาย | น. หมู่, พวก, หมวด, ใช้เกี่ยวกับศาสนา ในกรณีเช่นคณะนักบวชในศาสนาเดียวกัน ที่แยกออกไปเป็นพวก ๆ เช่น มหานิกาย ธรรมยุติกนิกาย นิกายโรมันคาทอลิก นิกายโปรเตสแตนต์ | นิกาย | เรียกคัมภีร์พระสุตตันตปิฎกที่แยกออกเป็น ๕ หมวดใหญ่ คือ ทีฆนิกาย มัชฌิมนิกาย สังยุตนิกาย อังคุตรนิกาย ขุทกนิกาย. | นิยยานิก- | (นิยะยานิกะ-) ว. ที่นำออกไปจากทุกข์ เช่น มหาสติปัฏฐานสูตรเป็นนิยยานิกธรรม คือ ธรรมที่นำสัตว์ออกจากทุกข์. | บัตรอิเล็กทรอนิกส์ | น. บัตรที่ผู้ออกได้ออกให้แก่ผู้มีสิทธิใช้โดยบันทึกข้อมูลหรือรหัสไว้ในบัตรด้วยการประยุกต์ใช้วิธีการทางอิเล็กตรอน ไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือวิธีอื่นใดในลักษณะคล้ายกัน ซึ่งรวมถึงการประยุกต์ใช้วิธีการทางแสงหรือวิธีการทางแม่เหล็ก เช่น บัตรเครดิต บัตรเดบิต บัตรสมาร์ทการ์ด. | ปิกนิก | น. การพากันไปเที่ยวชั่วระยะเวลาสั้น ๆ และมีของกินไปเลี้ยงกันด้วย. | โปสาวนิกมูล | (-สาวะนิกะ-) น. ค่าเลี้ยงดู, ค่าข้าวป้อน. | เผนิก | (ผะเหฺนิก) ก. เบิก. | พสกนิกร | (พะสกกะนิกอน, พะสกนิกอน) น. คนที่อยู่ในประเทศ ไม่ว่าจะเป็นพลเมืองของประเทศนั้นหรือคนต่างด้าวที่มาอาศัยอยู่ก็ตาม. | พุทธศาสนิกชน | (-สาสะนิกกะชน, -สาดสะนิกกะชน) น. ผู้ที่นับถือพระพุทธศาสนา. | มหานิกาย | น. ชื่อคณะสงฆ์นิกายหนึ่ง, คู่กับ ธรรมยุติกนิกาย. | มัชฌิมนิกาย | น. ชื่อคัมภีร์นิกายที่ ๒ แห่งพระสุตตันตปิฎก แปลว่า หมวดปานกลาง รวบรวมพระสูตรขนาดปานกลางไว้ในหมวดนี้. | มุนิกุญชร | น. นามพระพุทธเจ้า. | ราชนิกุล | น. ผู้สืบสายราชสกุลตั้งแต่หม่อมราชวงศ์ทั้งชายและหญิงลงมาจนถึงผู้ที่ใช้คำว่า ณ อยุธยา ต่อท้ายชื่อราชสกุล แต่มิได้หมายรวมถึงสตรีที่สมรสกับผู้สืบสายราชสกุล. | ราชินิกุล, ราชินีกุล | น. สกุลวงศ์ฝ่ายพระราชชนนีของพระมหากษัตริย์ เช่น นามสกุล ณ บางช้าง ในรัชกาลที่ ๒ นามสกุล ศิริสัมพันธ์ ในรัชกาลที่ ๓ นามสกุล สุจริตกุล ในรัชกาลที่ ๖. | รามัญนิกาย | น. ชื่อพระสงฆ์นิกายหนึ่งซึ่งสืบสายมาจากพระสงฆ์มอญ. | วิปัสสนายานิก | น. ผู้มีวิปัสสนาเป็นยาน, ผู้ปฏิบัติวิปัสสนาล้วน ๆ โดยมิได้เคยฝึกหัดเจริญสมาธิใด ๆ มาก่อน. | ศาสนิกชน | น. บุคคลที่นับถือศาสนา เช่น ศาสนิกชนของพระพุทธศาสนา เรียกว่า พุทธศาสนิกชน ศาสนิกชนของคริสต์ศาสนา เรียกว่า คริสต์ศาสนิกชน. | ศาสนิกชน | ดู ศาสน-, ศาสนา. | สถาปนิก | (สะถาปะ-) น. ผู้ทรงคุณวุฒิในการสร้างสรรค์ทางออกแบบก่อสร้าง. | สนิกะ | (สะนิ-) ว. ค่อย ๆ, เบา ๆ. | สมถยานิก | น. ผู้มีสมถะเป็นยาน, ผู้บำเพ็ญสมถะจนได้ฌานก่อนแล้วจึงเจริญวิปัสสนา. | สังยุตนิกาย | (สังยุดตะ-) น. ชื่อคัมภีร์นิกายที่ ๓ แห่งพระสุตตันตปิฎก แปลว่า หมวดประมวล คือ ประมวลเรื่องประเภทเดียวกันไว้ด้วยกันทั้งหมด. | เสนางค์, เสนางคนิกร | (เส-นาง, -คะนิกอน) น. ส่วนแห่งกองทัพโบราณมี ๔ ส่วน คือ พลช้าง พลม้า พลรถ และพลเดินเท้า. | หม่อมราชนิกุล, หม่อมราชนิกูล | น. อิสริยยศที่พระราชทานแก่หม่อมราชวงศ์ชายที่รับราชการมีความชอบ อยู่ระหว่างหม่อมเจ้ากับหม่อมราชวงศ์ เช่น หม่อมราโชทัย (หม่อมราชวงศ์กระต่าย อิศรางกูร) หม่อมทวีวงศ์ถวัลยศักดิ์ (หม่อมราชวงศ์เฉลิมลาภ ทวีวงศ์) ถ้าเทียบกับบรรดาศักดิ์ฝ่ายขุนนาง อยู่ระหว่างพระยากับพระ ในสมัยกรุงศรีอยุธยาใช้ว่า เจ้าราชนิกุล ซึ่งรวมทั้งหม่อมเจ้า หม่อมราชวงศ์ ที่สืบสายราชสกุลห่างไกลมาหลายชั้น ตลอดจนพระองค์เจ้าหรือหม่อมเจ้าที่ห่างออกไป เจ้าราชนิกุลนี้ครั้งต้นพระบรมราชจักรีวงศ์ มีคำเรียกว่าคุณว่าหม่อม ต่อมารัชกาลที่ ๔ โปรดให้เปลี่ยนใช้คำว่า หม่อม แทนคำว่า เจ้า, หม่อมราชินิกูล ก็เรียก. | หม่อมราชินิกูล | ดู หม่อมราชนิกุล, หม่อมราชนิกูล. | อังคุตรนิกาย | (-คุดตะระ-) น. ชื่อคัมภีร์นิกายที่ ๔ แห่งพระสุตตันตปิฎก แสดงหลักธรรมโดยแบ่งเป็นหมวด เรียงลำดับตามจำนวนหัวข้อธรรมะตั้งแต่ ๑ หัวข้อถึง ๑๑ หัวข้อ. | อัสสานิก, อัสสานีก, อัสสานึก | น. อัศวานึก, กองทัพม้า, เหล่าทหารม้า. | อัสสานิก, อัสสานีก, อัสสานึก | ดู อัส-, อัสสะ. | อานก, อานิก | (-นก, -นิก) ก. เอ็นดู, รักใคร่. | อิเล็กทรอนิกส์ | (-ทฺรอ-) น. วิทยาศาสตร์กายภาพแขนงหนึ่งที่นำมาประยุกต์ใช้กับการศึกษาวงจรไฟฟ้าที่ใช้สารกึ่งตัวนำและอุปกรณ์อื่น ๆ ซึ่งควบคุมการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนได้. | อุตรนิกาย | (อุดตะระ-) น. ชื่อนิกายหนึ่งในพระพุทธศาสนา คือ นิกายฝ่ายเหนือ ซึ่งเรียกว่า มหายาน. | อุปนิกขิต, อุปนิกษิต | (อุปะนิกขิด, อุปะนิกสิด) ก. เก็บไว้, รักษาไว้. | อุปนิกขิต, อุปนิกษิต | (อุปะนิกขิด, อุปะนิกสิด) น. คนสอดแนม, จารชน. | กงเต๊ก | น. การทำบุญให้แก่ผู้ตายตามพิธีของนักบวชนิกายจีนและญวน มีการสวดและเผากระดาษที่ทำเป็นรูปต่าง ๆ มีบ้านเรือน คนใช้ เป็นต้น. | กณิกนันต์ | (กะนิกนัน) ว. ละเอียดยิ่ง เช่น ลวดหลายลายกณิกนันต์ (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). |
| pain clinic | คลินิกบำบัดอาการเจ็บปวด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | peace of the King | ความสงบสุขของพสกนิกร [ ดู pax regis ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | pathology, clinical | พยาธิวิทยาคลินิก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | preclinical | -ก่อนคลินิก, -พรีคลินิก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pre-natal clinic | คลินิกรับฝากครรภ์ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | pax regis (L.) | ความสงบสุขของพสกนิกร [ ดู peace of the King ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | limnic | ลิมนิก [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | royalty | ๑. ราชนิกุล๒. ค่าภาคหลวง, ค่าสิทธิ [ ดู severance tax ประกอบ ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | royalty | ๑. ราชนิกุล๒. ค่าภาคหลวง๓. ค่าสิทธิ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | simple harmonic motion (S.H.M.) | การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกเชิงเดียว (เอสเอชเอ็ม) [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | soft copy; softcopy | สำเนาชั่วคราว, ฉบับไม่พิมพ์, สำเนาอิเล็กทรอนิกส์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | softcopy: soft copy | สำเนาชั่วคราว, ฉบับไม่พิมพ์, สำเนาอิเล็กทรอนิกส์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | scaler, ultrasonic | เครื่องอัลทราโซนิกส์ขูดหินน้ำลาย [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | soft copy; softcopy | สำเนาชั่วคราว, ฉบับไม่พิมพ์, สำเนาอิเล็กทรอนิกส์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | soft copy: softcopy | สำเนาชั่วคราว, ฉบับไม่พิมพ์, สำเนาอิเล็กทรอนิกส์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | S.H.M. (simple harmonic motion) | เอสเอชเอ็ม (การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกเชิงเดียว) [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | sect | ลัทธิ, นิกาย [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | sectarianism | นิกายนิยม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | onyx marble | หินอ่อนโอนิกซ์ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | onyx | โอนิกซ์ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | anharmonic | แอนฮาร์มอนิก [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | anharmonic ratio | อัตราส่วนแอนฮาร์มอนิก [ มีความหมายเหมือนกับ cross ratio ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | arsenic | อาร์เซนิก, สารหนู [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | baptism | พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | baptism slip | ใบรับรองความเป็นคริสต์ศาสนิกชน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | medicine, clinical | เวชศาสตร์คลินิก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | Mexican onyx | โอนิกซ์เม็กซิโก [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | monic polynomial | พหุนามโมนิก [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | microbiology, clinical | จุลชีววิทยาคลินิก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | minister | ๑. รัฐมนตรี๒. อัครราชทูต๓. ศาสนาจารย์ (คริสต์ศาสนานิกายโปรเตสแตนต์) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | microscopy, clinical | จุลทรรศนศาสตร์คลินิก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | chemistry, clinical | เคมีคลินิก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | clinical diagnosis | การวินิจฉัยทางคลินิก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | clinical medicine | เวชศาสตร์คลินิก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | clinical microbiology | จุลชีววิทยาคลินิก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | clinical microscopy | จุลทรรศนศาสตร์คลินิก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | clinical nutrition | โภชนศาสตร์คลินิก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | clinical pathology | พยาธิวิทยาคลินิก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | clinical root | รากฟันทางคลินิก [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | cave onyx | โอนิกซ์ถ้ำ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | clinic | เวชสถาน, คลินิก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | clinical | -ด้านการรักษา, -คลินิก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | clinical chemistry | เคมีคลินิก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | clinical crown | ตัวฟันทางคลินิก [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | cynic | ซีนิก [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | cynicism | ลัทธิซีนิก [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | denomination | นิกาย [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | diagnosis, clinical | การวินิจฉัยทางคลินิก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | galvanic corrosion | การกัดกร่อนแกลแวนิก [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕] | ECU (electronic control unit) | อีซียู (ชุดควบคุมแบบอิเล็กทรอนิกส์) [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Eletronic data processing | การประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Electronic document delivery service | บริการจัดส่งเอกสารทางอิเล็กทรอนิกส์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Eletronic data processing | การประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Electronic journal | วารสารอิเล็กทรอนิกส์, Example: วารสารในรูปแบบวารสารอิเล็กทรอนิกส์ คือ วารสารทางวิชาการที่ผลิตและเผยแพร่สู่ผู้ใช้โดยระบบอิเล็กทรอนิกส์ เป็นวารสารที่ห้องสมุดบอกรับโดยเสียค่าบริการเพื่อให้ผ่านอินเทอร์เน็ต ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารนิเทศได้รวดเร็วในเวลาเดียวกันหลายคน โดยไม่จำกัดเวลา และสถานที่ สามารถจัดหาได้เมื่อต้องการ ( Acquisition on Demand) และมีบริการจัดส่งบทความ (Document Delivery) เมื่อมีผู้ต้องการสั่งซื้อทาง E - mail หรือ Fax หรืออื่นๆได้ตามต้องการ วารสารอิเล็กทรอนิกส์เป็นพัฒนาการของวารสารที่ทันสมัยที่สุดในปัจจุบัน <p>ข้อดีของวารสารอิเล็กทรอนิกส์ <ol>1. ผู้ใช้สามารถติดตามอ่านวารสารได้อย่างรวดเร็ว ทันทีที่วารสารมีการจัดพิมพ์ เนื่องจากสำนักพิมพ์จัดพิมพ์แบบอิเล็กทรอนิกส์ จึงทำให้เผยแพร่สู่ผู้อ่านได้อย่างรวดเร็ว</ol> <ol>2. ผู้อ่านสามารถเข้าถึงวารสารได้อย่างสะดวก รวดเร็ว โดยไม่จำกัดเวลา โอกาส และ สถานที่</ol> <ol>3. ประหยัดค่าใช้จ่ายในการเย็บเล่มวารสาร การเสียแรงงานบุคลากรในการเตรียมวารสารก่อนส่งเย็บเล่มและหลังการเย็บเล่ม</ol> <ol>4. ช่วยแก้ปัญหาการได้รับวารสารไม่ครบ วารสารถูกฉีกขาด</ol> <ol>5. ช่วยแก้ปัญหาสถานที่เก็บ ไม่มีปัญหาการเพิ่มน้ำหนักพื้นที่ของห้องสมุด</ol> <p>ข้อจำกัดของวารสารอิเล็กทรอนิกส์ <ol>1. ค่าใช้จ่ายในการบอกรับ แต่ละสำนักพิมพ์จะกำหนดค่าบอกรับแตกต่างกัน เช่น บางสำนักพิมพ์เมื่อบอกรับวารสารฉบับพิมพ์จะให้สิทธิ์สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ บางสำนักพิมพ์แยกราคากันระหว่างฉบับพิมพ์กับวารสารอิเล็กทรอนิกส์ </ol> <ol>2. ลิขสิทธิ์ในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส์ยังไม่ชัดเจนเช่นกฎหมายลิขสิทธิ์ของสิ่งพิมพ์</ol> <ol>3. วารสารย้อนหลัง การจัดเก็บวารสารอิเล็กทรอนิกส์ฉบับย้อนหลังยังไม่มีรูปแบบที่ชัดเจน ห้องสมุดที่บอกรับหารูปแบบ วิธีการจัดเก็บเอง หรือบริษัทเป็นผู้จัดทำ</ol> <ol>4. การเข้าถึงวารสารอิเล็กทรอนิกส็ ปัญหาสำคัญประการหนึ่งก็คือ ความล่าช้าของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ บรรณารักษ์และผู้ใช้ขาดความเข้าใจในวิธีการสืบค้นข้อมูล ตลอดจนปัญหาของข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบที่แตกต่างกัน King (1991 : 5-6) กล่าวว่า ประมาณปี 2006 จะมีการเปลี่ยนแปลงอีกมากในการสืบค้นข้อมูล ตลอดจนการนำส่งข้อมูลเข้าห้องสมุด ในขณะที่สื่อสิ่งพิมพ์ยังคงมีใช้อยู่ แต่จะมีบทบาทที่แตกต่างไป โดยความคิดนี้ตรงกับความเห็นของ McKnight (1993 : 9) และ Piternick (1989 b : 96) ที่กล่าวว่า วารสารในรูปแบบสิ่งพิมพ์จะมีการใช้ต่อไป ในขณะที่การใช้วารสารอิเล็กทรอนิกส์จะเป็นเสมือนเส้นขนานมากกว่าจะเป็นเทคโนโลยีที่เข้ามาแทนที่ นักวิชาการและนักวิจัยจะใช้เวลาเล็กน้อยในห้องสมุด เพราะสามารถสืบค้นข้อมูลได้จากคอมพิวเตอร์ หรือจาก Workstation จากที่ห่างไกลได้</ol> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Electronic data processing | การประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Electronic publishing | การพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Digital electronics | ดิจิทัลอิเล็กทรอนิกส์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Electronics | อิเล็กทรอนิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Electronic industries | อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Electronic apparatus and appliances | อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Electronic data processing | การประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Photonics technology | เทคโนโลยีโฟโทนิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Biophotonics | ไบโอโฟโทนิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Nono-electronics | นาโนอิเล็กทรอนิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Photonics | โฟโตนิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Plastic electronics | อิเล็กทรอนิกส์แบบพลาสติก [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Nanoelectronics | นาโนอิเล็กทรอนิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Optoelectronics | ออปโตอิเล็กทรอนิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Portable electronic nose | จมูกอิเล็กทรอนิกส์แบบพกพา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Microelectronic | ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Photonics technology | เทคโนโลยีโฟโทนิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | พสกนิกร | [ พะสกกะนิกอน, พะสกนิกอน ] คนที่อยู่ในประเทศไม่ว่าจะเป็นพลเมืองของประเทศนั้นหรือคนต่างด้าวที่มาอาศัยอยู่ก็ตาม [ศัพท์พระราชพิธี] | Electronic data processing documentation | เอกสารประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Electronic apparatus and appliances | อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Electronic procurement | การจัดซื้อจัดจ้างทางอิเล็กทรอนิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Hydroponics | ไฮโดรพอนิกส์ หรือการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน, Example: <p>ไฮโดรพอนิกส์ (hydroponics) คือ การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน โดยให้รากแช่อยู่ในน้ำที่มีธาตุอาหารพืชละลายอยู่ และส่วนลำต้นและส่วนอื่นๆ จะอยู่เหนือระดับสารละลาย โดยมีวัสดุพยุงไว้อย่างเหมาะสม <p> <p>เทคนิคการปลูกพืชด้วยวิธีไฮโดรพอนิกส์มีการพัฒนาขึ้นหลายรูปแบบโดยแต่ละรูปแบบมีวิธีปลูก วัสดุปลูก และการให้สารละลายธาตุอาหารพืช และอื่นๆ ที่แตกต่างกัน เทคนิคที่นำมาใช้ในเชิงการค้ามีเพียง 6 รูปแบบดังนี้ <p> <p>1. เทคนิคการให้อากาศ เป็นเทคนิคเก่า มีการให้อากาศโดยใช้เครื่องเป่าลมหรืออากาศ การให้ออกซิเจนลงในน้ำจะคล้ายกับการให้อากาศในตู้เลี้ยงปลา เทคนิคนี้ไม่มีการหมุนเวียนของน้ำหรือสารละลาย <p>2. เทคนิคน้ำหมุนเวียน เทคนิคนี้มีหลักการคล้ายเทคนิคการให้อากาศแต่จะต่างกันคือ การให้ออกซิเจนลงในน้ำอาศัยการไหลเวียนของน้ำหรือสารละลายธาตุอาหารพืช <p>3. เทคนิคเอ็นเอฟที (Nutrient Flow Technique, NFT) เป็นเทคนิคที่มีน้ำหรือสารละลายไหลเวียน มีหลักการว่ารากพืชจะต้องแช่อยู่ในรางแบนๆ ที่มีความลาดเอียงร้อยละ 1 - 3 และมีน้ำหรือสารละลายธาตุอาหารพืชไหลผ่านเป็นชั้นแผ่นผิวบางๆ ตามช่วงเวลาที่กำหนด เพื่อรากจะได้รับความชื้นและออกซิเจนที่เหมาะสม <p>4. เทคนิคฉีดพ่นราก เป็นเทคนิคที่มีน้ำหมุนเวียน รากพืชไม่ได้แช่ในน้ำหรือสารละลายแต่ยกลอยขึ้นในตู้ปลูกที่เป็นห้องมืดและรักษาความชื้นด้วยละอองน้ำจากหัวฉีดที่วางเป็นระยะๆ <p>5. เทคนิคปลูกพืชเพื่อเลี้ยงสัตว์ เป็นเทคนิคการปลูกพืชเพื่อใช้เลี้ยงสัตว์ เช่น ข้าวโพด ข้าวสาลี ข้าวฟ่าง จะปลูกในตู้ปลูกที่มีการควบคุมสภาพแวดล้อม ให้น้ำหรือสารละลายธาตุอาหารพืชด้วยน้ำหมุนเวียนโดยการฉีดเป็นละอองฝอยให้ทั่วกระบะหรือใช้วิธีน้ำหยด <p>6. เทคนิควัสดุปลูก เป็นเทคนิคที่นิยมใช้กันมาก มีการลงทุนต่ำกว่า ดูแลง่ายกว่า และสามารถปลูกพืชที่มีอายุยาวได้ดีกว่าการปลูกด้วยเทคนิคที่ใช้น้ำหรือสารละลาย วัสดุปลูก ได้แก่ วัตถุต่างๆ ที่เลือกมาใช้ปลูกพืชแทนการใช้ดินและสามารถทำให้พืชเจริญเติบโตได้เป็นปกติ วัตถุดังกล่าวอาจเป็นอินทรียวัตถุคือ วัตถุที่ได้มาจากสิ่งมีชีวิต เช่น กาบมะพร้าว ชานอ้อย แกลบ หรือเป็นอนินทรียวัตถุคือ วัตถุที่ได้มาจากสิ่งไม่มีชีวิต เช่น กรวด ทราย <p> <p>ข้อดีของการปลูกพืชด้วยวิธีไฮโดรพอนิกส์คือ <p> <p>1. สามารถปลูกในพื้นที่ที่มีข้อจำกัดทางภูมิศาสตร์ เช่น พื้นที่ที่มีภูเขาสูงชัน เป็นทะเลทราย หรือในพื้นที่ที่มีสภาพดินที่ไม่เหมาะสมสำหรับการปลูกพืช เช่น ดินเปรี้ยวจัด เค็มจัด <p>2. ใช้น้ำและปุ๋ยได้อย่างประหยัด ไม่สูญเสียน้ำและปุ๋ยจากการไหลทิ้ง และยังสามารถนำปุ๋ยกลับมาใช้ได้อีก <p>3. ใช้แรงงานในทุกขั้นตอนน้อยกว่าการเพาะปลูกแบบธรรมดา <p>4. สามารถปลูกพืชให้หนาแน่นได้มากกว่าการเพาะปลูกแบบธรรมดา เพราะมีระบบการให้สารละลายธาตุอาหารที่เพียงพอ นอกจากนี้การปลูกพืชสามารถทำได้ทันทีหลังเก็บผลผลิตโดยไม่ต้องรอการเตรียมแปลงปลูก <p>5. สามารถควบคุมสภาพแวดล้อมต่างๆ ของรากได้ดีกว่าการเพาะปลูกแบบธรรมดา ทำให้พืชสามารถดูดซึมธาตุอาหารได้อย่างมีประสิทธิภาพจึงทำให้ได้พืชที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง <p> <p>ข้อเสียของการปลูกพืชด้วยวิธีไฮโดรพอนิกส์คือ <p> <p>1. มีการลงทุนสูงกว่าการเพาะปลูกแบบธรรมดามาก เช่น ต้องใช้เทคโนโลยีสูง ต้องใช้น้ำที่สะอาด รวมทั้งต้องใช้โรงเรือนที่สามารถควบคุมสภาพแวดล้อมได้ <p>2. ต้องใช้ประสบการณ์และการดูแลเอาใจใส่มากกว่าการเพาะปลูกแบบธรรมดา <p>3. หากแก้ไขการขัดข้องของกระแสไฟฟ้าหรือการชำรุดของเครื่องมือไม่ทันจะมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตรวมถึงการตายของพืช <p>4. มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคในน้ำสูงเพราะโรคพืชโดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคที่เกิดกับรากสามารถแพร่กระจายได้ง่ายในน้ำ <p>5. ไม่สามารถใช้ปุ๋ยอินทรีย์ได้และยังทำให้พืชขาดจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ต่อพืชบางชนิดในดิน <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> วัฒนา เสถียรสวัสดิ์. (2553). ไฮโดรพอนิกส์. ในสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. (เล่มที่ 27, หน้า 132-163). กรุงเทพฯ : โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | กงเต๊กหลวง | เป็นพิธีบำเพ็ญพระราชกุศลอุทิศถวายในงานพระบรมศพเจ้านายที่เพิ่มเติมเข้ามาจากแบบแผนราชสำนัก เป็นการผสานทางศาสนาพุทธนิกายมหายานและวัฒนธรรมญวน-จีน กับความเชื่อของไทย โดยมีจุดมุ่งหมายเดียวกันคือการส่งเสด็จเจ้านายที่ล่วงลับสู่สวรรคาลัย [ศัพท์พระราชพิธี] | Waste electronic apparatus and appliances | ขยะอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Electronic government information | ข้อมูลข่าวสารของราชการทางอิเล็กทรอนิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Clinical biochemistry | ชีวเคมีคลินิก [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Veterinary clinical niochemistry | ชีวเคมีคลินิกทางสัตวแพทยศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Nanoelectronics | นาโนอิเล็กทรอนิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Photonics | โฟโตนิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Digital media | สื่ออิเล็กทรอนิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | electronic funds transfer | การโอนเงินโดยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ [เศรษฐศาสตร์] | Electrics industry | อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ [เศรษฐศาสตร์] | Electronic data processing | การประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ [คอมพิวเตอร์] | Electronic data processing -- Distributed | การประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์แบบกระจาย [คอมพิวเตอร์] | Electronic data interchange | การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ [คอมพิวเตอร์] | Electronic measurement | การวัดทางอิเล็กทรอนิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Harmonic analysis | การวิเคราะห์ฮาร์มอนิก [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Electronic circuit design | การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Electronic game | เกมอิเล็กทรอนิกส์ [คอมพิวเตอร์] | Transmutation | การแปรธาตุ, การเปลี่ยนจากธาตุหนึ่งเป็นอีกธาตุหนึ่ง โดยการเปลี่ยนจำนวนโปรตอนภายในนิวเคลียสของอะตอมด้วยปฏิกิริยานิวเคลียร์ เช่น การแปรธาตุโคบอลต์-60 เป็นนิกเกิล-60 [นิวเคลียร์] | Electronic mail | ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ [คอมพิวเตอร์] | Electronic file | การจัดแฟ้มอิเล็กทรอนิกส์ [คอมพิวเตอร์] | e-Mail | ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์, [คอมพิวเตอร์] | Clinical chemistry | เคมีคลินิก [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Electronic mail message | จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ [คอมพิวเตอร์] | National Electronics and Computer Technology Center | ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
| ไอออนิก | [ai-ønik] (adj) EN: ionic | บาเยิร์น มิวนิก | [Bayoēn Miūnik] (tm) EN: Bayern Munich FR: Bayern Munich [ m ] : Bayern [ m ] | ดอกกาญจนิกา | [døk kānjanikā] (n) EN: Night Flower Jasmine | โฟตอนิกส์ | [fōtønik] (n) EN: photonics | อิเล็กทรอนิกส์ | [ilekthrønik] (n) EN: electronics FR: électronique [ f ] | จิตวิทยาคลีนิก | [jittawitthayā khlinik] (n, exp) EN: clinical psychology FR: psychologie clinique [ f ] | การประมวลผลข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ | [kān pramūanphon khømūn thāng ilekthrønik] (n, exp) EN: Electronic Data Processing (EDP) | คลินิก = คลีนิก | [khlinik] (n) EN: clinic ; infirmary FR: clinique [ f ] | เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ | [khreūang ilekthrønik] (n, exp) EN: electronics | กระดานข่าวอิเล็กทรอนิกส์ | [kradān khāo ilekthrønik] (n, exp) EN: Bulletin Board System (BBS) | กระดาษอิเล็กทรอนิกส์ | [kradāt ilekthrønik] (n, exp) EN: electronic paper ; e-paper FR: papier électronique [ m ] | กรดเฮ็กซูโรนิก | [krot hēksūrōnik] (n, exp) EN: hexuronic acid ; C6H8O6 FR: acide hexuronique [ m ] ; C6H8O6 ; acide ascorbique [ m ] | กรดคาร์บอนิก | [krot khābønik] (n, exp) EN: carbonic acid ; H2CO3 FR: acide carbonique [ m ] ; H2CO3 | มหานิกาย | [Mahānikāi] (n, prop) EN: Maha Nikaya sect ; Thai sect of Theravada Buddhism | มิวนิก = มิวนิค | [Miūnik] (n, prop) EN: Munich FR: Munich | หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ | [nangseū ilekthrønik] (n, exp) EN: e-book FR: livre électronique [ m ] ; e-book [ m ] | นิกส์ | [nik] (x) EN: NICs (Newly Industrializing Countries) | นิกาย | [nikāi] (n) EN: sect ; religious denomination FR: secte [ f ] ; ordre sectaire [ m ] ; confession (religieuse) [ f ] ; église [ f ] ; société religieuse [ f ] | นิกาย | [nikāi Hinayān] (x) EN: Hinayana ; Theravada buddhism FR: bouddhisme hinayana ; bouddhisme du Petit véhicule ; bouddhisme theravada | นิกายแคธอลิก | [nikāi khaēthølik] (n) EN: Catholicism FR: catholicisme [ m ] | นิกายมหายาน | [nikāi Mahāyān] (x) EN: Mahayana FR: bouddhisme mahayana ; bouddhisme du grand véhicule [ m ] | นิกายโปรแตสแตนท์ | [nikāi prōtaēstaēn] (n) EN: Protestantism FR: protestantisme [ m ] | นิการากัว | [Nikārākūa] (n, prop) EN: Nicaragua FR: Nicaragua [ m ] | นิกเกิล | [nikkoēn] (n) EN: nickel FR: nickel [ m ] | นกฟินิกซ์ | [nok Finik] (n, exp) EN: Phoenix | พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ | [phānit ilekthrønik] (n, exp) EN: e-commerce ; electronic commerce FR: commerce électronique [ m ] | พันธะไอออนิก | [phantha ai-ønik] (n, exp) EN: ionic bond | พลาโตนิก | [phlātonik] (adj) EN: platonic FR: platonique | พุทธศาสนานิกายเถรวาท | [Phutthasatsana nikai Thērawāt] (n, prop) EN: Theravada Buddhism FR: bouddhisme theravada [ m ] | พุทธศาสนิกชน | [Phuttha sātsanikkachon] (adj) EN: buddhist FR: bouddhiste | ปิกนิก = ปิคนิค | [piknik] (n) EN: picnic FR: pique-nique [ m ] | ประเทศนิการากัว | [Prathēt Nikārākūa] (n, prop) EN: Nicaragua FR: Nicaragua [ m ] | ราชนิกูล | [rātchanikūn] (x) FR: de la dynastie royale | ไซเบอร์นิกส์ | [saiboēniks] (n) EN: cybernics FR: cybernétique [ f ] | สถาปนิก | [sathāpanik] (n) EN: architect FR: architecte [ m ] | สาธารณรัฐนิการากัว | [Sāthāranarat Nikārākūa] (n, prop) EN: Republic of Nicaragua FR: République du Nicaragua [ f ] | เซลล์กัลวานิก | [sel kanwānik] (n, exp) EN: galvanic cell | ไททานิก | [Thaithānik] (n, prop) EN: Titanic FR: Titanic [ m ] | ธรรมยุตนิกาย | [Thammayutnikāi] (n, prop) EN: Dhammayut Nikaya sect ; Dhammyuttika | ธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ | [thanākhān ilekthrønik] (n, exp) EN: electronic banking | ทางอิเล็กทรอนิกส์ | [thāng ilekthrønik] (adj) EN: electronic FR: électronique | อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ | [uppakøn ilekthrønik] (n, exp) EN: electronic appliance FR: appareil électronique [ m ] |
| fuel cell | (n) เซลกำเนิดไฟฟ้า โดยอาศัยปฏิกิริยาเคมี ระหว่างออกซิเจน กับ ไฮโดรเจน ซึ่งเมื่อรวมตัวกันแล้วจะได้น้ำ และพลังงานออกมา คาดกันว่าจะนำมาใช้อย่างแพร่หลาย สำหรับเป็นแหล่งพลังงานของรถยนต์ไฟฟ้า และเครื่องคอมพิวเตอร์กระเป๋าหิ้ว หรืออุปกรณ์อิเลคโทรนิกส์ต่างๆ โดยสามารถเติมพลังงานในรูปแบบของการเติมไฮโดรเจนที่ปั้ม หรือซื้อไฮโดรเจนกระป๋องสำหรับอุปกรณ์นั้นๆมาเปลี่ยน (สิงหาคม 2546) | nectec | (org) ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ National Electronics and Computer Technology Center | geeky | (adj) ที่เชี่ยวชาญเรื่องเทคโนโลยี หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์, บ้าเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์, บ้าวิชาการ, ที่หมกมุ่นกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งมาก | chabad | (n) ย่อมาจากคำว่า Chabad House เป็นสถานนมัสการของชาวยิวนิกาย Chabad Lubavitch ซึ่งมีลักษณะกึ่งโรงแรม, Syn. Synagouge | preproduction | ขั้นตอนก่อนลงมือผลิตชิ้นงานจริง เช่น การหาข้อมูล การประชุม การไปดูสถานที่ (ถ้าต้องใช้สถานที่ในการจัดงานหรือผลิตงาน) การทำตัวอย่างชิ้นงาน (เช่น การสร้างโมเดลของสถาปนิกก่อนที่จะลงมือก่อสร้างจริง) | instagram | [อิน'สตาแกรม] (n) โปรแกรมฟิลเต้อร์และลูกเล่นในตัวกล้องถ่ายรูปเพื่อการตบแต่งภาพถ่ายอิเล็กทรอนิกส์ให้โทนสีแปลกไปตามต้องการ พร้อมช่วยให้เกิดความสะดวกแก่การเชื่อมต่อไปยัง Social Media ต่างๆ เช่น Facebook และ Twitter เป็นต้น | bitcoin | (n) บิตคอยน์, ชื่อสกุลเงินอิเล็กทรอนิกส์ประเภทหนึ่งซึ่งใช้เทคโนโลยีบล็อกเชน [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | cyber crime | (n) [ cybercrime; cyber-crime; computer crime ] อาชญากรรมไซเบอร์, อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ๑. การกระทำผิดกฎหมายโดยใช้คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เป็นเครื่องมือ เช่น ทำลาย เปลี่ยนแปลง หรือขโมยข้อมูล ๒. การทำให้การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หรือระบบเครือข่าย ถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทํางานตามปรกติได้ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] |
| America Online | (n) ศูนย์บริการออนไลน์ผ่านทางโมเด็มที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งในอเมริกา มีขอบเขตการให้บริการที่กกว้างขวางมีการให้บริการจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ปริการเชื่อมต่ออินเตอร์เนตขั้นพื้นฐาน มีข่าวสารการพยากรณ์อากาศจากสำนักข่าวรอยเตอร์และยูพีไอ | Anabaptist | (n) ผู้ยึดถือนิกายโปรเตสแตนต์ที่มีการล้างบาป | architect | (n) สถาปนิก, See also: ผู้ออกแบบอาคาร, นักออกแบบอาคาร, Syn. designer | Baptist | (n) ผู้นับถือศาสนาคริสต์นิกายโปรแตสแตนต์ | basilica | (n) โบสถ์นิกายโรมันคาทอลิก | bionic | (adj) ซึ่งมีส่วนของร่างกายที่เป็นอิเล็กทรอนิกส์ | bleep | (n) เสียงสูงสั้นๆ เกิดจากเครื่องอิเลกทรอนิกส์, Syn. beep | bleep | (vt) ดูดเสียงคำที่หยาบคายออกแล้วใส่เสียง บี๊บ ของเครื่องอิเลกทรอนิกส์เข้าไปแทน | blip | (vt) ทำให้เกิดเสียงแหลมสั้นที่เกิดจากเครื่องมือทางอิเล็กโทรนิกส์ | blip | (n) เสียงแหลมสั้นที่เกิดจากเครื่องมือทางอิเล็กโทรนิกส์, Syn. bleep | Canterbury | (n) แคนเทอเบอรี่ (ประเทศอังกฤษ), See also: เมืองหนึ่งในประเทศอังกฤษ เป็นที่ตั้งของโบสถ์ในศาสนาคริสต์นิกาย Church of England | Canterbury | (n) เมืองแคนเทอเบอรี่ (ประเทศอังกฤษ), See also: เมืองหนึ่งในประเทศอังกฤษ เป็นที่ตั้งของโบสถ์ในศาสนาคริสต์นิกาย Church of England | Catholicism | (n) ศรัทธาและการปฏิบัติของนิกายโรมันคาทอลิก | Christian | (n) คริสตศาสนิกชน, See also: ผู้ที่นับถือศาสนาคริสต์ | clinic | (n) คลินิก, See also: สถานรักษาพยาบาล, Syn. infirmary, polyclinic | deck | (n) เครื่องเล่นเทป (ทางอิเล็กทรอนิกส์), See also: เทปเด็ด, เครื่องเล่นเทปที่ไม่มีภาคขยายเสียง, Syn. tape deck | denomination | (n) นิกายในศาสนาคริสต์, Syn. church, sect, subsect | denominational | (adj) เกี่ยวข้องกับนิกายในศาสนาคริสต์, Syn. factional, sectional | dispensary | (n) ร้านขายยา, See also: ที่จ่ายยา, ร้านจำหน่ายยา, คลินิก, สถานีอนามัย, Syn. sanatorium, clinic | Eastern Church | (n) คริสต์ศาสนาจักรนิกาย Orthodox ซึ่งกำเนิดในประเทศต่างๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรโรมันตะวันออก, Syn. Byzantine Church, Eastern Orthodox Church | ecumenical | (adj) ที่ช่วยส่งเสริมความสามัคคีของคริสเตียนทั่วโลก, See also: เกี่ยวกับโบสถ์คริสเตียนทั้งหมด, เกี่ยวกับนิกายคริสเตียนทั้งหมด, Syn. universal | elder | (n) พระอาวุโสในศาสนาคริสต์บางนิกาย, See also: พระผู้ใหญ่ของศาสนาคริสต์บางนิกาย | electronic | (adj) เกี่ยวกับระบบอิเล็กทรอนิกส์, See also: เกี่ยวกับวงจรอิเล็กทรอนิกส์ | electronic mail | (n) ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์, See also: การรับส่งข่าวสารผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์, Syn. E-mail, email, e-mail | electronic publishing | (n) การพิมพ์ข้อมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยเก็บข้อมูลลงในแถบแม่เหล็กแผ่นดิสก์หรือซีดีรอม ซึ่งอ่านข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์ | electronics | (n) วิชาอิเล็กทรอนิกส์ | e-mail | (n) ระบบการส่งผ่านข้อมูลข่าวสารทางคอมพิวเตอร์โดยอาศัยสายโทรศัพท์และโมเด็ม, See also: ไปรษณีย์อิเลคทรอนิกส์, Syn. electronic mail | encyclical | (n) หนังสือที่พระสันตะปาปาในศาสนาคริสต์นิกายโรมันแคทอลิกมีถึงเหล่าสังฆนายกซึ่งมักเกี่ยวกับหลักคำสอน | episcopacy | (n) การปกครองคณะสงฆ์โดยสังฆนายก เช่น ในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก, Syn. bishopric | evangelic | (adj) เกี่ยวกับความเชื่อของศาสนิกชนนิกายโปรแตสแตนท์ที่เชื่อถือในคัมภีร์ไบเบิลและการช่วยให้พ้นจากบาปโดยการศรัทธาในพระเยซู, Syn. evangelical | evangelical | (adj) เกี่ยวกับศาสนาคริสต์นิกายโปรแตสแตนท์ที่ศาสนิกชนของนิกายนี้เชื่อถือในคัมภีร์ไบเบิลและการช่วยให้รอดจากบาปโดยการศรัทธาในพระเยซู, Syn. evangelic | evangelical | (n) ศาสนิกชนของศาสนาคริสต์อีแวนเจลิค (ซึ่งเป็นสายหนึ่งในนิกายโปรแตสแตนท์) | evangelism | (n) การเผยแผ่ศาสนาคริสต์ (โดยเฉพาะโดยคริสตศาสนิกชนที่พยายามชักชวนให้คนอื่นหันมานับถือศาสนาคริสต์) | friar | (n) พระในคริสตศาสนานิกายโรมันคาทอลิก, See also: นักบวชในคริสตศาสนานิกายโรมันคาทอลิก | hardware | (n) อุปกรณ์คอมพิวเตอร์, See also: อุปกรณ์อิเล็กโทรนิกส์, ฮาร์ดแวร์ | Hinayana | (n) นิกายหินยานของพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกา พม่า ไทยและกัมพูชา, See also: ชื่อนิกายในพระพุทธศาสนาฝ่ายใต้ที่นับถือกันในศรีลังกา พม่า ไทยและกัมพูชาและกัมพูชา, ชื่ | Jesuit | (n) พระเยซูอิต ในนิกายหนึ่งของโรมันคาทอที่ก่อตั้งในปี ค.ศ.๑๕๓๔ | Lamaism | (n) ศาสนาพุทธในธิเบตและมองโกเลีย (เป็นนิกายมหายาน) | Mahayana | (n) นิกายมหายานในศาสนาพุทธ | mail | (vi) จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (คำไม่เป็นทางการของ e-mail) | master builder | (n) สถาปนิก, See also: ผู้รับเหมาก่อสร้าง, Syn. architect | Mennonite | (n) ผู้นับถือนิกายโปรเตสแตนต์ที่มีชีวิตเรียบง่าย | Monseigneur | (n) ตำแหน่งของพระในนิกายโรมันคาทอลิก, Syn. sinor | Mormon | (n) ผู้นับถือนิกาย Mormon Church | Mormonism | (n) ความเชื่อในนิกาย Mormon Church | mortal sin | (n) บาปร้ายแรง (ในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก) | neophyte | (n) คริสต์ศาสนิกชนใหม่ที่ผ่านพิธีรดน้ำมนต์, Syn. catechumen | nickel | (n) เงินเหรียญอเมริกันมีค่า1 ใน 20 ส่วนของหนึ่งดอลลาร์, See also: นิกเคิล | Nonconformist | (n) พระนิกายโปรแตสแตนท์ที่ไม่เชื่อคำสอนของ Church of England, Syn. apostage, dissenter | Orthodox Church | (n) หลักความเชื่อและปฎิบัติในคริสต์นิกาย Orthodox |
| a.m.e. | abbr. African Methodist Episcopal นิกายคริสเตียน (โดยเฉพาะ Anglican Church) ของอาฟริกา | abc | (เอบีซี) ย่อมาจาก Atanasoff-Berry Computer ว่ากันว่า เป็นชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกของโลก (หนังสือบางเล่มว่า เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกมีชื่อว่า ENIAC) ศาสตราจารย์ John Atanasoff แห่งมหาวิทยาลัยไอโอวา และ Clifford Berry เป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องเอบีซีนี้เมื่อราวทศวรรษ 1940 ABEND การหยุดงานผิดปกติ <คำแปล>ย่อมาจาก abnormal end of task หมายถึงการหยุดงานที่เกิดขึ้นโดยที่ไม่ได้มีคำสั่งให้หยุดในโปรแกรมหรือชุดคำสั่งมักจะเกิดขึ้น เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ถูกสั่งให้ปฏิบัติงานหนึ่งงานใด แล้วไม่ยอมปฏิบัติ อาจจะเป็นเพราะเครื่องเสีย หรือโปรแกรมผิดพลาด | acolyte | (แอค' โคไลทฺ) n. เด็กผู้ช่วยขาดหลวงทำพิธี, พระในนิกายดรมันคาทอลิก | adventist | (แอด' เวนทิสทฺ) n. สมาชิกของนิกายคริสเตียนที่เชื่อถือว่าพระเยซูคริสจะมาจุติในโลกอีกครั้งที่สอง., Syn. Second Adventist | anabaptist | (แอนนะแพบ' นิสทฺ) n. ผู้ยึดถือนิกายโปรแตสแตนท์ที่มีการล้างบาป (ในพิธีเจิมน้ำมนตร์) เมื่อเดิบโตเป็นผู้ใหญ่. -anabaptism n. | anglican | (แอง' กลิเคิน) adj., n. เกี่ยวกับนิกาย Church of England, ผู้ที่นับถือนิกาย church of England. -Anglicanism n. | anglo-catholic | (แอง' โกลแคธ' โธลิค) n. adj, ผู้นับถือนิกาย Church of England แต่ยึดถือลักษณะของคาธอลิค. -Anglo-Catholicism (opposing a Protestant designation) | architect | (อาร์'คิเทคทฺ) n. นักสถาปนิก | baptist | (แบพ'ทิสทฺ) n. สมาชิกนิกายหนึ่งของคริสเตียน ที่มีพิธีล้างบาปด้วยการจุ่มน้ำ | benignant | (บินิก'เนินทฺ) adj. กรุณาปรานี, มีอิทธิพลที่ดีต่อ, มีประโยชน์ต่อ, ใจดี, See also: benignancy n., Syn. kind | benignity | (บินิก'นีที) n. ความกรุณา, ความปรานี, ความใจดี, กุศลกรรม, Syn. kindness | bionics | (ไบออน'นิคซฺ) n. การศึกษาเกี่ยวกับการปฎิบัติงานและการแก้ปัญหาของมนุษย์และสัตว์เพื่อนำไปใช้ผลิตคอมพิวเตอร์และเครื่องมืออิเล็กทรอนิกอื่น ๆ | burn in | ระยะทดลอง <คำแปล>กระบวนการที่ใช้ในระหว่างการทดลองอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ เพื่อให้แน่ใจว่า สามารถใช้การได้ดีจริง ๆ เช่น เมื่อซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ใหม่เอี่ยมมา ก็ควรจะลองเปิดเครื่องทิ้งไวัสัก 48 ชั่วโมง ถ้าอะไรจะเสียหรือใช้การไม่ได้ดี ก็จะได้รู้ ช่วงเวลาที่ลองใช้นี้ เรียกว่าระยะ burn in (ถ้าเป็น รถยนต์เรียกว่า run in) | carmelite n | พระโรมันคาทอลิกนิกายหนึ่งที่สวมเสื้อขาว | case sensitivity | การบังคับใช้ตัวเล็ก/ตัวใหญ่หมายถึง ความแตกต่างระหว่างการใช้ตัวใหญ่และตัวเล็กของตัวอักษรในภาษาอังกฤษ โปรแกรมบางโปรแกรมหรือระบบบางระบบจะบังคับว่า ต้องใช้ตัวใหญ่ทั้งหมด หรือตัวเล็กทั้งหมด มิฉะนั้นเครื่องจะไม่เข้าใจ เช่น ชื่อโปรแกรมภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) หรือ ระบบยูนิกซ์ (UNIX) จะบังคับให้ใช้ตัวใหญ่เท่านั้น ส่วนระบบดอสและวินโดว์ไม่บังคับ กล่าวคือ ใช้ตัวเล็กก็ได้ตัวใหญ่ก็ได้ | cathode ray tube | หลอดภาพใช้ตัวย่อว่า CRT หมายถึงหลอดอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้กับจอภาพของคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะทำหน้าที่แสดงข้อมูลเป็นตัวหนังสือ หรือภาพ | catholic church | n. นิกายคาทอลิกที่มีสันตะปาปาเป็นหัวหน้า, Roman Catholic Church | catholicism | (คะธอล'ลิซิสซึม) n. ศรัทธาระบบและการปฏิบัติการของนิกายคาทอลิก, ความมีใจกว้าง, การแพร่หลาย, การมีอยู่ทั่วไป, Syn. catholicity | centronics port | ช่องเซ็นโทรนิกส์ <ความหมาย>หมายถึง ช่องทางเข้า/ออกที่เดิมใช้เสียบสายเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ กับเครื่องพิมพ์เซ็นโทรนิก ปัจจุบันใช้หมายถึงเพียงช่องขนาน (pararell port) ที่อยู่ทางด้านหลังของตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ดู pararell port เปรียบเทียบ | children of god | n. คริสต์ศาสนานิกายหนึ่งที่เคร่งครัดมีระเบียบวินัยมากและอยู่กันเป็นชุมชน | christianism | (คริส'ชันมิสซึม) n. พระคัมภีร์และพิธีของคริสต์ศาสนิกชน | christianity | (คริส'ชีแอน'นิที) n. ศาสนาคริสต์ (ทุกนิกาย) , คริสต์ศาสนิกชน, การเป็นคริสเตียน, โลกของคริสต์ศาสนิกชน, Syn. Christian religion | clinic | (คลี'นิค) n. คลินิก adj. เกี่ยวกับคลินิก | clinical | (คลิน'นิเคิล) adj. เกี่ยวกับคลินิก | communion | (คะมิว'เยิน) n. การร่วมกัน, การเข้าร่วม, การแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น, นิกายศาสนา, กลุ่มคนที่มิเชื่อในศาสนาเหมือนกัน, การรับอาหาร (ขนมปัง) จากพระเจ้าในพิธีศีลมหาสนิท (Eucharist) , พิธีศีลมหาสนิท, Syn. intercourse, fellowship, asociation, afinity | compression | (คัมเพรส'เชิน) n. การอัด, การบีบ, การกด, ผลจากการถูกอัด, ความกดดัน, ภาวะที่ปริมาตร (ในห้องเครื่อง) ต่ำลงและความกดดันของอากาศสูงขึ้นก่อนการเผาไหม้., Syn. compressure การอัดแน่นหมายถึง นำข้อมูลหรือคำสั่งจำนวนมาก ๆ มาอัดให้แน่น เพื่อ ให้ใช้ที่เก็บในหน่วยความจำ หรือจานบันทึกน้อยลง โดยปกติ จะมีโปรแกรม หรือคำสั่ง ในดอส 6.0 ที่สามารถอัดโปรแกรม ใหญ่ ๆ ที่กินเนื้อที่มาก ๆ ให้เหลือน้อยลง เพื่อจะได้เก็บลงในแผ่นจานบันทึกได้ จานบันทึกชนิดอ่อน floppy disk ในปัจจุบัน มีความสูงสุด 1.44 เมกะไบต์ ฉะนั้น ถ้าแฟ้มข้อมูลใหญ่มาก ก็จะไม่สามารถเก็บลงในแผ่นได้ จึงต้องจัดการอัดให้แน่นเสียก่อน อย่างไรก็ตาม เมื่อจะเรียกมาใช้ จะต้องนำมาคลายออกก่อน เรียกว่า "decompress" การอัดแน่นก็ดี การคลายคืนก็ดี จะต้องมีโปรแกรมเฉพาะจัดทำให้ ในระบบดอส นิยมใช้ PKZip/Unzip ในระบบ Windows 95 โปรแกรมที่นิยมชื่อ WinZip ในระบบยูนิกซ์ ใช้ Gunzipดู expand, decompress เปรียบเทียบ | computer | (คัมพิว'เทอะ) n. เครื่องคอมพิวเตอร์, เครื่องคำนวณ, ผู้คำนวณ คณิตกรณ์หมายถึง อุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ทำงานด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ สามารถจำข้อมูลและคำสั่งได้ ทำให้สามารถทำงานไปได้ โดยอัตโนมัติด้วยอัตราความเร็วที่สูงมาก ใช้ประโยชน์ในการคำนวณหรือการทำงานต่าง ๆ ได้เกือบทุกชนิด มี 3 ขนาด คือ ขนาดใหญ่ (main frame) ขนาดกลาง (mini computer) และขนาดเล็กที่กำลังได้รับความนิยมทั่วไปในขณะนี้ เรียกว่า ไมโครคอมพิวเตอร์ (micro computer) หรือ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (personal computer) ที่เรียกกันย่อ ๆ ว่า พีซี ปัจจุบัน การใช้ระบบเครือข่ายทำให้เราสามารถใช้คอมพิวเตอร์เป็นที่ค้นหาข้อมูลต่าง ๆ สื่อสารได้ นอกเหนือไปจากการใช้เพื่อการคำนวณตามวัตถุประสงค์ดั้งเดิมของผู้ประดิษฐ์ | congregation | (คองกริเก'เชิน) n. การชุมนุม, กลุ่มคน, คริสต์ศาสนิกชนที่ชุมนุมกันในโบสถ์, See also: congregational adj. ดูcongregation, Syn. assembly, union congregationalism คองกริเก'ชัน นัลลิสซึม n. รูปการปกครองของสงฆ์ที่อิสระ. คำ | console | (คันโซล') { consoled, consoling, consoles } vt. ปลอบโยน, ปลอบขวัญ, ทำให้สบายใจ n. ส่วนที่เป็นแป้นที่ประกอบด้วยก้านเปียโนแถวก้านอักษรพิมพ์ดีดหรืออื่น ๆ , ตู้วิทยุ โทรทัศน์ที่ตั้งอยู่บนพื้น, หิ้งที่ทำยื่นออกจากกำแพง, หอควบคุมระบบไฟฟ้าหรืออิเล็กทรอนิกส์ คำที่มีความ | crt | (ซีอาร์ที) ย่อมาจาก cathode ray tube หมายถึงหลอดอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้กับจอภาพของคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะทำหน้าที่แสดงข้อมูลเป็นตัวหนังสือ หรือภาพ หลอดภาพของจอคอมพิวเตอร์ก็ดี หลอดภาพของโทรทัศน์ก็ดี จะใช้หลอดภาพ CRT เช่นเดียวกัน | cyber | (ไซเบอร์) เป็นคำที่ใช้นำหน้าคำอื่น สื่อความหมายว่ามีลักษณะที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์หรือ อิเล็กทรอนิกส์ เช่น cyberphobia หมายถึงโรคกลัวคอมพิวเตอร์ cyberporn หมายถึงภาพโป๊ที่มาทางอินเตอร์เน็ต cyberpunk หมายถึงผู้ที่ใช้คอมพิวเตอร์ในอาชญากรรมต่าง ๆ เช่น ขโมยใช้บัตรเครดิต | denomination | (ดินอมมิเน'เชิน) n. ชื่อ, การตั้งชื่อ, ประเภท, นิกาย, สำนัก, หน่วย (เงินตรา, มาตรา, น้ำหนัก, ปริมาตร ฯลฯ) | denominationalize | vt. แบ่งแยกออกเป็นนิกายสำนักหรือฝ่าย | disciples of christs | นิกายหนึ่งของศาสนาคริสต์มีพิธีล้างบาปโดยการจุ่มน้ำ | e-mail address | หมายเลขไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์หมายถึง หมายเลขประจำตัวหรือรหัสประจำตัวที่กำหนดให้แก่สมาชิก ผู้ใช้หมายเลขนี้จะใช้สำหรับส่งจดหมายหรือเรียกดูข้อความที่ส่งมาทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ตัวโปรแกรมที่ใช้ จะต้องทำหน้าที่เหมือนที่ทำการไปรษณีย์ โดยจะรับข่าวสารที่มีผู้ส่งมาแล้วเก็บรอไว้ จนกว่าผู้รับจะเรียกออกมาดู | edp | (อีดีพี) ย่อมาจาก electronic data processing (แปลว่า การประมวลผลข้อมูลแบบอิเล็กทรอนิกส์) หมายถึงการใช้เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ (ซึ่งก็คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ นั่นเอง) ทำการประมวลผลข้อมูลที่รับเข้าไปได้อย่างรวดเร็ว แล้วแสดงผลลัพธ์ให้ตามที่สั่ง | electronic | adj. เกี่ยวกับอิเล็กทรอนิกส์ | electronic data processin | การประมวลผลข้อมูลแบบอิเล็กทรอนิกส์ใช้ตัวย่อว่า EDP (อ่านว่า อีดีพี) หมายถึงการใช้เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ (ซึ่งก็คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ นั่นเอง) ทำการประมวลผลข้อมูลที่รับเข้าไปได้อย่างรวดเร็ว และแสดงผลลัพธ์ให้ตามที่สั่ง | electronic mail | ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ใช้ตัวย่อว่า e-mail หมายถึงการสื่อสารหรือการส่งข้อความ โน้ต หรือบันทึกออกจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง ผ่านไปเข้าเครื่องปลายทาง (terminal) หรือเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่งโดยส่งผ่านทางระบบเครือข่าย (network) ผู้ส่งจะต้องมีเลขที่อยู่ (e-mail address) ของผู้รับ และผู้รับก็สามารถเปิดคอมพิวเตอร์เรียกข่าวสารนั้นออกมาดูเมื่อใดก็ได้ โดยปกติ จะไม่มีการพิมพ์ข้อความหรือข่าวสารนั้นลงแผ่นกระดาษ นับว่าเป็นการประหยัดกระดาษไปได้ส่วนหนึ่ง โดยทั่วไป ถือกันว่าเป็นงานส่วนหนึ่งของสำนักงานอัตโนมัติ (office automation) ปัจจุบันได้รับความนิยมเป็นอันมาก | enigma | (อะนิก'มะ) n., ปริศนา, คำพูดปริศนา, คนลึกลับ, สิ่งที่น่าฉงนสนเท่ห์, Syn. puzzle | enigmatic | (เอนนิกแมท'ทิค) adj. เป็นปริศนา, ลึกลับ, น่าฉงนสนเท่ห์., See also: enigmatically adv. ดูenigmatic, Syn. mysterious | episcopal | (อีพิส'คะเพิล) adj. เกี่ยวกับพระราชาคณะ (bishop) , เกี่ยวกับนิกายAnglican Church | facsimile | (แฟคซิม'มะลี) n. สำเนา, vt. อัดสำเนา, ถอดแบบ โทรสารโทรภาพใช้ตัวย่อว่า FAX เป็นระบบสื่อสารข้อมูล ที่เป็น เอกสารและภาพที่ส่งมาในรูปของสัญญาณไฟฟ้าผ่านสายโทรศัพท์ เครื่องรับ/ส่งแฟกซ์หรือโทรสารนั้น หมายถึง อุปกรณ์ที่มีลักษณะคล้ายเครื่องโทรศัพท์ ใช้ส่งและรับข้อความหรือภาพ ผู้รับและผู้ส่งจะต้องใช้กระดาษเป็นสื่อ ปัจจุบัน เราอาจจะต่อสายแฟกซ์ผ่านโมเด็มเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ได้ ในกรณีเช่นนี้ จะเป็นการส่งหรือรับข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เลย ไม่ต้องใช้กระดาษ คล้ายไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ | fax | (แฟคซฺ) n. การถอดแบบหรือทำสำเนาด้วยวิทยุหรือโทรเลข แฟกซ์ (โทรสาร) ย่อมาจากคำว่า facsimile เป็นระบบสื่อสารข้อมูล ที่เป็น เอกสารและภาพที่ส่งมาในรูปของสัญญาณไฟฟ้าผ่านสายโทรศัพท์ เครื่องรับ/ส่งแฟกซ์หรือโทรสารนั้น หมายถึง อุปกรณ์ที่ใช้ ส่งและรับข้อความหรือภาพ ผู้รับและผู้ส่งจะต้องใช้กระดาษ เป็นสื่อ ปัจจุบัน เราอาจจะต่อสายแฟกซ์ผ่านโมเด็มเข้าสู่ เครื่องคอมพิวเตอร์ได้ ในกรณีเช่นนี้ จะเป็นการส่งหรือรับข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เลย ไม่ต้องใช้กระดาษ คล้ายไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ | field day | วันเล่นกีฬา, วันปิกนิก, วันรื่นเริง, วันฝึกซ้อมสนาม, วันที่มีการแสดงบนสนาม | hardware | n. เครื่องโลหะ. , เครื่องกลไกที่ใช้ปฏิบัติการ, อาวุธ, ยุทโธปกรณ์, อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรือเครื่องกลไกของคอมพิวเตอร์, หมายถึง ส่วนกายภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งเป็น 3 ส่วนใหญ่ ๆ คือ 1. หน่วยรับข้อมูล เช่น แป้นพิมพ์ หน่วยบันทึก 2. หน่วยความจำ เช่น ชิป (chip) หรือหน่วยความจำรอง เช่น จานบันทึก 3. หน่วยแสดงผล เช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์ ฯลฯ นอกจากนั้นยังรวมถึงอุปกรณ์ ประกอบอื่น ๆ เช่น โมเด็ม ดู software เปรียบ เทียบ | high church | เกี่ยวกับศาสนาคริสเตียนนิกายประจำชาติของอังกฤษ, Syn. Anglican Church | hinayana | (ฮีนะยา'นะ) n. นิกายหินยานของพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกา พม่า ไทยและกัมพูชา, Syn. Theravada. -Hinayanist n. | ic | abbr. infection control ไอซีย่อมาจากคำ integrated circuit (แปลว่า วงจรรวม, วงจรเบ็ดเสร็จ) เป็นวงจรที่สร้างขึ้นครบชุดด้วยเกล็ดซิลิคอน ประกอบเป็นชิ้นส่วนต่าง ๆ ของวงจร เช่น ทรานซิสเตอร์ (transistor) ไดโอดส์ (diodes) เชื่อมต่อเข้าด้วยกันเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ วงจรเบ็ดเสร็จชนิดนี้ใช้กันมากในปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ในยุคต้น ๆ ใช้วงจรแยกชิ้นเป็นหลัก เหตุที่นิยมใช้วงจรเบ็ดเสร็จกันมาก ก็เพราะขนาดเล็กกว่า ราคาถูกกว่า ใช้กระแสไฟน้อยกว่า และสามารถปฏิบัติงานได้เร็วกว่า | ieee | (ไอทริพเพิลอี) ย่อมาจาก Institute of Electrical and Electronic Engineers แปลว่า สถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เป็นสถาบันที่ทำการศึกษาวิชาการด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ซึ่งมีวิชาการด้านคอมพิวเตอร์รวมอยู่ด้วย เน้นในเรื่องการพัฒนาเทคโนโลยีและการประมวลผลข้อมูลเพื่อการแลdเปลี่ยนสารสนเทศ และความเป็นเลิศทางวิชาการ โดยเป็นผู้กำหนดมาตรฐานต่าง ๆ ให้ สถาบันนี้เป็นที่รู้จักและยอมรับในวงการทั่วไป |
| architect | (n) สถาปนิก | Buddhist | (n) พุทธศาสนิกชน, ชาวพุทธ, พุทธมามกะ | carbonate | (n) เกลือของกรดคาร์บอนิก | carbonate | (vt) ทำให้เป็นกรดคาร์บอนิก | carbonic | (adj) เกี่ยวกับกรดคาร์บอนิก | catholic | (adj) เกี่ยวกับนิกายโรมันคาทอลิก | Catholicism | (n) ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก | christen | (vt) ทำพิธีเป็นคริสต์ศาสนิกชน, ทำพิธีศีลจุ่ม, ให้ชื่อ, ขนานนาม | Christian | (n) คริสต์ศาสนิกชน, คริสเตียน, ชาวคริสต์ | Christianity | (n) ศาสนาคริสต์, คริสต์ศาสนิกชน | christianize | (vt) ทำให้เป็นคริสต์ศาสนิกชน, ทำให้เป็นคริสเตียน | clinic | (n) คลินิก, สถานพยาบาล, ห้องรักษาโรค | clinical | (adj) เกี่ยวกับคลินิก, เกี่ยวกับสถานพยาบาล | denomination | (n) การตั้งชื่อ, หน่วยเงินตรา, ประเภท, นิกาย | denominational | (adj) เกี่ยวกับการตั้งชื่อ, เกี่ยวกับนิกาย | Jesuit | (n) พระนิกายโรมันคาทอลิก | people | (n) ประชาชน, ราษฎร, ครอบครัว, พลเมือง, พสกนิกร, คน | picnic | (vi) ไปปิกนิก | populace | (n) ประชาชน, พลเมือง, ประชากร, ราษฎร, พสกนิกร | ROMAN Roman Catholic | (n) ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก | sectarian | (adj) เกี่ยวกับการแบ่งแยก, เกี่ยวกับนิกาย | sectarian | (n) สมาชิกพรรค, สมาชิกในนิกาย | sectary | (n) สมาชิกพรรค, สมาชิกในนิกาย | votary | (n) พระ, นางชี, ผู้อุทิศตัว, ศาสนิกชน |
| Carbonic Anhydrase Inhibitors (CAIs) | เป็นชั้นของยาที่ระงับกิจกรรมของคาร์บอ ในทางการใช้ทางคลินิกได้รับการจัดตั้งขึ้นเป็นตัวแทนของโรคต้อหิน, ยาขับปัสสาวะ, ยากันชัก, ในการจัดการของเข่มาภูเขา, กระเพาะอาหารและลำไส้เล็กเป็นแผล, ความผิดปกติของระบบประสาท, หรือโรคกระดูกพรุน | cathedral | (n) วัดของคริสต์ศาสนาที่มีสังฆราช (bishop) เป็นประมุขและที่เป็นทีตั้งของ “อาสนะสังฆราช” (bishop's cathedra) เป็นสถานที่ทางศาสนาที่ใช้ในการสักการะบูชา (โดยเฉพาะสำหรับนิกายที่มีระบบฐานันดรการปกครองเช่นนิกาย นิกายโรมันคาทอลิก นิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์ นิกายอังกลิคัน และ นิกายลูเทอรัน มหาวิหารจะเป็นวัดที่เป็นที่นั่งของสังฆราช (วัดประจำตำแหน่ง) ที่ใช้เป็นศูนย์กลางของสังฆมณฑล (Diocese หรือ See) ที่อยู่ใต้การปกครองของสังฆราชที่กำหนดไว้ | creep | (n) คณะกรรมการการเลือกตั้งประธานาธิบดี (สมัยนิกสัน), Syn. Committee for the Re-Election of the President Nixon's 1972 campaign organizatio | Dominican | (n) ลัทธิโดมินิกัน | e-business | (n) การทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ | east-west schism | [อีสต์ เวสต์ ชิส เซิม] (n) ความแตกแยกระหว่างคริสต์ศาสนจักรตะวันออกและตะวันตก. การแตกแยกระหว่างคริสต์ศาสนจักรเป็นสองสาขา: คริสต์ศาสนจักรตะวันออก (กรีก) และคริสต์ศาสนจักรตะวันตก (โรมัน) ที่ต่อมากลายเป็นนิกายอีสเติร์นออร์ธอด็อกซ์ และนิกายโรมันคาทอลิค (en.wikipedia.org/wiki/East-West_Schism) | ecommerce | (n) พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ | EEI | (abbrev) สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์, Syn. Electrical and Electronics Institute | Electrical and Electronics Institute | สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์, Syn. EEI | Electronic Government Agency (Public Organization) | (abbrev) สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) | lifesaver | [ชีบ-พะ-รัก-สิก] lifesaver [ 1 ] - (N) - ชีพรักษิก คำอ่าน :: ชีบ-พะ-รัก-สิก คำขยาย :: อิก (สระ อิ + ก ไก่) หมายถึง คน หรือ ผู้(ที่เป็น) เช่น สถาปนิก สมาชิก ศาสนิก ปาราชิก ความหมาย :: อาสาสมัครที่ได้เรียนรู้ และได้รับการฝึกอบรมทักษะการว่ายน้ำ การปฐมพยาบาล การกู้ชีพ กู้ภัยทางน้ำ เบื้องต้น แต่ไมได้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพดูแลความปลอดภัยทางน้ำ โดยตรง, See also: Lifesaving, Lifeguard | RoHS | (abbrev) การกำจัดสารที่เป็นอันตรายบางประเภทในผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ | social commerce | (n) รูปแบบธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์รูปแบบหนึ่งที่ใช้ประโยชน์จากการปฏิสัมพันธ์ในเครือข่ายสังคม (Social Media) มาช่วยให้เกิดการซื้อขายผลิตภัณฑ์หรือบริการ หรือ อีกแง่หนึ่งก็คือการนำเครือข่ายสังคมมาใช้ให้เกิดเป็นธุรกรรมการซื้อขายสินค้า | Vaishnavism | (n) ไวษณพนิกาย, ลัทธิไวษณพ, นิกายในศาสนาฮินดูที่นับถือพระวิษณุเป็นพระเจ้าสูงสุด | Vaishnavism | (n) ไวษณพนิกาย, ลัทธิไวษณพ, นิกายในศาสนาฮินดูที่นับถือพระวิษณุเป็นพระเจ้าสูงสุด | waste from electrical and electronics equipment | เศษเหลือทิ้งของผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์, Syn. WEEE | weee | (abbrev) เศษเหลือทิ้งของผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์, Syn. Waste from Electrical and Electronics Equipment |
| シーア派 | [しーあは, shi-aha] (n) มุสลิมนิกายซีอะห์ | 電子辞書 | [でんしじしょ, denshijisho] (n) พจนานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ |
| 医院 | [いいん, iin] (n) คลีนิก, ห้องตรวจโรค, ห้องรักษาโรค, See also: R. 病院、診療室 | 電子商法 | [でんししょうほう, denshishouhou] (n) กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ | 法華経 | [ほけきょう, hokekyou] (n) สัทธรรมปุณฑรีกสูตร The Lotus Sutra คัมภีร์ของพุทธศาสนานิกายมหายาน มี 28 บท | 電子メール | [でんしメール, denshi me^ru] (n) จดหมายอิเล็กทรอนิกส์, อีเมล์ | 電気製品 | [でんきせいひん, denkiseihin] (n) สินค่าอิเล็กทรอนิกส์ | 炭酸 | [たんさん, tansan] (n) กรดคาร์บอนิก, See also: R. carbonic acid |
| 電子 | [でんし, denshi] TH: อิเล็กทรอนิก EN: electronics | 責める | [せめる, semeru] TH: ตำหนิกล่าวโทษ EN: to blame |
| entwerfen | (vt) |entwirft, entwarf, hat entworfen, etw.(A)| ออกแบบ, รังสรรค์, ประดิษฐ์, สร้างสรรค์ขึ้นมา เช่น Der Architekt hat einen Bauplan entworfen. สถาปนิกได้ออกแบบแผนการก่อสร้าง | Spielzeug | (n) |das, nur Sg.| ของเล่น (ของเด็กๆ) เช่น Er sammelt viel Kleingeld um Spielzeug zu kaufen. (เขาเก็บสะสมเหรียญไว้เป็นจำนวนมากเพื่อที่จะนำมาซื้อของเล่น); Elektronisches Spielzeug ist heutzutage etwas billiger als früher. (ปัจจุบันนี้เครื่องเล่นอิเล็คทรอนิกมีราคาถูกกว่าเมื่อก่อนมาก) |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |