ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -เรียก-, *เรียก* |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ เรียก | (v) call, See also: shout, yell, hail, cry, Example: ผมเรียกจนแสบคอ เธอก็ยังไม่หันมา, Thai Definition: เปล่งเสียงดังเพื่อให้มาหรือเพื่อมุ่งหมายอย่างอื่น |
|
| เรียก | ก. เปล่งเสียงเพื่อให้มาหรือให้ไปเป็นต้น เช่น แม่เรียกให้มาทำการบ้าน ช่วยเรียกสุนัขไปเสียที, ออกชื่อ เช่น ครูเรียกมาลีให้มาหา, เชิญ เช่น เรียกประชุม เรียกหมอ เรียกน้ำ เรียกลม | เรียก | ให้ชื่อ เช่น น้ำที่ทำให้แข็งเรียกว่าน้ำแข็ง ภาชนะอย่างนี้เรียกว่าถ้วย | เรียก | กำหนดเอา, ร้องเอา, เช่น หมอเรียกค่ารักษาพยาบาล โจทก์เรียกค่าเสียหาย รัฐบาลเรียกเก็บภาษี | เรียก | ชวนให้มีอาการเช่นนั้น เช่น เรียกน้ำตา เรียกเสียงตบมือ. |
| | เรียก | [rīek] (v) EN: call ; shout ; yell ; hail ; cry FR: appeler ; héler ; interpeller ; convoquer |
| football | (n) ถ้าในอเมริกา จะหมายถึง กีฬาอเมริกันฟุตบอล (ถ้าจะพูดถึงฟุตบอลในความหมายที่ใช้กันในบ้านเรา จะเรียกว่า soccer แทน) | lemmatize | (vi) ทำให้คำอยู่ในรูปปกติ หรือที่เรียกว่า Lemma เช่น คำว่า go คือ lemmatized form ของ going, went, gone | aka | (phrase) also known as, เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า | Lok Sabha | (uniq) โลกสภา ชื่อเรียกสภาผู้แทนราษฎรของอินเดีย ส่วนวุฒิสภาของอินเดียนั้น เรียกว่า ราชย์สภา (Rajya Sabha) | Richter scale | (n, name) หน่วยวัดขนาดของแผ่นดินไหว จากพลังงานที่แผ่นดินไหวปล่อยออกมา เช่น แผ่นดินไหวขนาด (หรือแมกนิจูด) 6.1 ตามมาตราวัดริกเตอร์ หมายเหตุ: แผ่นดินไหวจะรุนแรงไม่รุนแรง ต้องดูขนาดควบคู่ไปกับความลึกของจุดศูนย์กลาง กล่าวคือ ถ้าขนาดใหญ่แต่ถ้าอยู่ลึกมากก็อาจจะไม่แรง แต่ถึงขนาดไม่ใหญ่มาก แต่จุดศูนย์กลางอยู่ตื้นก็อาจสร้างความเสียหายได้มาก, ส่วนสิ่งที่รับรู้ได้บนดินคือ ความสั่นสะเทือน (ความรุนแรง, intensity) ซึ่งแต่ละพื้นที่บนพื้นดินจะมีความสั่นสะเทือนแตกต่างกัน แล้วแต่ว่าอยู่ใกล้ไกล จุดเหนือศูนย์แผ่นดินไหว (epicenter) แค่ไหน <p> <b>เพิ่มเติม:</b>ความสั่นสะเทือน (intensity) ในภาษาญี่ปุ่นจะเรียก ชินโดะ (震度) และมีมาตรวัดของญี่ปุ่นเอง มีระดับตั้งแต่ 1 (เบา) ถึง 7 (รุนแรง) ถ้าพูดถึงขนาดจะใช้ว่า Magnitude | fingerroot | (n) กระชาย, พืชสมุนไพรเอเชียชนิดหนึ่ง เหง้ามีรากเป็นกลุ่ม ลักษณะคล้ายนิ้วมือยื่นออกมา ตำราอาหารมักเรียกผิดเป็น lesser galangal (เปราะหอม), See also: Chinese ginger, krachai, Syn. lesser ginger | public education | (n) ระบบการศึกษาของรัฐ ที่ถูกกำหนดขึ้นโดยรัฐบาลและใช้เงินภาษีช่วยสนับสนุน เช่น โรงเรียนภายใต้การดูแลของรัฐ หรือโรงเรียนรัฐ ถูกเรียกว่า public school (ขณะที่ในอังกฤษ public school คือโรงเรียนอิสระที่ได้รับความช่วยเหลือทางการเงินจากการบริจาคเพื่อให้คนยากจนได้เรียน) | nerd | (n, jargon) nerd เป็นคำเรียกบุคคลที่มีระดับสติปัญญาสูงซึ่งมีความสนใจในการเรียนหรือ การศึกษาเรื่องบางเรื่องที่เขาสนใจ คนภายนอกจะมองว่าพวกนี้เป็นพวกที่ไม่เข้าสังคม แต่จริงๆแล้วเป็นเพราะว่าพวกนี้ไม่สนใจและไม่เห็นความจำเป็นที่จะต้องเข้าต่างหาก (ความหมายโดยชาว Nerd) | Mardi Gras | (n) |มาจากภาษาฝรั่งเศส| วันอังคารก่อนวัน Ash Wednesday, วันฉลองก่อนวันถือบวชในศาสนาคริสต์ (หรือเรียกว่า Shrove Tuesday), วันสุดท้ายของเทศกาลคาร์นิวาลในอเมริกา โดยเฉพาะที่เมือง New Orleans, Syn. Fat Tuesday | goddess of mercy | (n) เจ้าแม่กวนอิม, เทพเจ้าแห่งความเมตตา (ซึ่งหมายถึงเจ้าแม่กวนอิม โดยในภาษาอื่นอาจเรียกกันไปในหลายๆ คำ เช่น Quan Yin, Kuan Yim เป็นต้น) Image: |
| advert | (vt) เรียกความสนใจ, See also: หันความสนใจ | agitate for | (phrv) เรียกร้อง, See also: ปลุกระดมให้มี, Syn. campaign for | beep | (vt) เรียกโดยใช้วิทยุติดตามตัว | bring in | (phrv) เรียกมาช่วย, Syn. call in, come in, get in, have in | call | (vt) เรียก, See also: ร้องเรียก, ตะโกนเรียก | call | (vi) เรียก, See also: ร้องเรียก, ตะโกนเรียก, Syn. shout, call out, cry out | call | (vt) เรียกว่า | challenge | (vt) เรียกร้อง | charge | (vt) เรียกเก็บ | charge | (vt) เรียกเก็บเงิน, See also: เรียบเก็บค่าใช้จ่าย, Syn. bill |
| ^ | <คำแปล> hat หมายถึง สัญลักษณ์ที่มีลักษณะคล้ายหมวก (^) ในภาษาไทยเราก็เรียกเครื่องหมายนี้ว่า "หมวก" ใช้แทน แป้นควบคุม (Control Key) เช่น กดแป้นควบคุมและแป้น K จะใช้ย่อ ๆ ว่า กด ^K ในภาษาเบสิกใช้หมายถึงการยกกำลัง เช่น 5^3 มีความหมายว่า 5 ยกกำลัง 3 ดู caret ประกอบ^ (สัญลักษณ์) <เครื่องหมาย>caretหมายถึง สัญลักษณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อกดแป้น Shift+6 (^) สัญลักษณ์นี้ใช้ในการเขียนโปรแกรมของบางภาษา โดยจะแทนคำสั่งเฉพาะบางคำสั่ง มีความหมายแตกต่างกันไป เช่น ^ ในภาษาปาสกาล (Pascal) ใช้แทนตัวชี้ (pointer) , ^ ใน ภาษาซี (C) ใช้แทนตัวดำเนินการ exclusive OR, ^ ใน ภาษาเบสิก (BASIC) ใช้แทนการยกกำลัง เป็นต้น | a: | A: Drive A ไดรฟ์เอ หมายถึง ชื่อหน่วยบันทึกหน่วยแรกของเครื่องคอมพิวเตอร์ตระกูลไอบีเอ็ม หรือเครื่องเลียนแบบ (compatibles) เมื่อเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องจะเข้าไปดูในหน่วยนี้ก่อน หากไม่พบสิ่งใด ๆ จึงจะย้ายไปดูหน่วยบันทึกอื่นต่อไป หน่วยที่สองจะนิยมเรียกกันว่า B: และหน่วยจานบันทึกแข็งหรือฮาร์ดดิสก์ มักจะถูกกำหนดให้เป็น C: (เวลาเขียน ต้องมีเครื่องหมาย : ตามหลังเสมอ จึงจะหมายถึงหน่วยบันทึก) | ac. | (เอซี) abbr. ย่อมาจาก Alternating Current หมายถึง กระแสไฟฟ้าชนิดสลับซึ่งตรงข้ามกับกระแสตรงที่เรียกว่า DC หรือ Direct Current | access key | กุญแจการเข้าถึงหมายถึง รหัส หรือคำหลักที่ใช้เพื่อให้เข้าถึงข้อมูลที่มีเก็บไว้ได้ ข้อมูลบางอย่างต้องทำเป็นการเฉพาะ และจะยอมให้เรียกมาใช้ได้เฉพาะคนบางกลุ่ม จึงต้องมีกุญแจที่จะให้รู้กันเฉพาะคนในกลุ่ม ผู้ที่ไม่รู้กุญแจ ก็ไม่สามารถเรียกเอาข้อมูลออกมาดู หรือมาใช้หรือแก้ไขได้ | access method | วิธีเข้าถึงโปรแกรมสำหรับเข้าถึงหมายถึง ระเบียบวิธีการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่งสำหรับการเก็บและเรียกใช้ข้อมูลมี 2 วิธี คือ วิธีการเข้าถึงโดยตรง (direct) หรือโดยสุ่ม (random) และวิธีการเข้าถึงโดยอ้อม (indirect) หรือโดยลำดับ (sequential) ดู direct และ indirect access ประกอบ | access time | ช่วงเวลาเข้าถึง (ข้อมูล) หมายถึง เวลาที่ใช้ในการที่หัวอ่าน (บางทีเรียกหัวเข็ม) ของหน่วยบันทึกจะสามารถอ่านแฟ้มข้อมูล หรือดึงข้อมูลออกมาจากที่เก็บข้อมูล เช่น จากจานบันทึก หรือฮาร์ดดิสก์ หากใช้เวลาเข้าถึงข้อมูลน้อย ก็หมายความว่า อ่านได้เร็ว ดู direct access, indirect access, random access, sequential access, immediate access ประกอบ | accumulator | ตัวสะสมเป็นหน่วยความจำ ซึ่งอยู่ในหน่วยคำนวณและตรรกะ (arithmetic and logical unit) ของคอมพิวเตอร์ เป็นที่ใช้สำหรับเก็บผลบวก หรือ การคำนวณอื่น ๆ และผลของการเปรียบเทียบเอาไว้ ถ้ามีหลายตัว มักเรียกว่า เรจิสเตอร์ (register) ดู register ประกอบ | advocation | (แอดโวเค' เชิน) n. =advocacy, การเรียกให้ปรากฏ, Syn. summoning | ahoy | (อะฮอย') interj. เสียงร้องเรียกเรือ | alias | (เอ' ลิแอส) 1. n., (pl. -ases) นามแฝง, สมญานาม. -adv. มีนามแฝงว่า, Syn. pseudonym 2. สมนาม คอมพิวเตอร์แมคอินทอชที่ใช้ System 7 มีคำสั่ง Make Alias ใต้เมนู File คำสั่งนี้ใช้สำหรับสร้างสัญรูป icon อีกอันหนึ่งของแฟ้มข้อมูลที่เลือกไว้ แฟ้มใหม่นี้จะมีคำ alias ต่อท้ายชื่อเดิม หากเมื่อใดมีการแก้ไขแฟ้มใดแฟ้มหนึ่ง โดยเรียกมาทำในจอภาพ แล้วสั่งบันทึกเก็บลงในจานบันทึก การแก้ไขนั้นก็จะมีผลต่อแฟ้มสมนามนั้นด้วย ทั้งนี้เพราะอันที่จริงแล้ว สัญรูปสมนามนั้นไม่ว่าจะมีสักกี่อัน จะโยงถึงแฟ้มข้อมูลอันเดียวกันทั้งสิ้น ดู duplicate เปรียบเทียบ |
| ahoy | (int) เสียงเรียก | appeal | (vt) ขอร้อง, อ้อนวอน, ร้องเรียน, อุทธรณ์, เรียกร้อง, ดึงดูดความสนใจ | arraign | (vt) ออกหมายเรียกตัว, กล่าวหา, นำตัวมาขึ้นศาล, ฟ้องร้อง | arraignment | (n) การออกหมายเรียกตัว, การฟ้องร้อง, การกล่าวหา | beck | (n) การให้สัญญาณ, การเรียก, การกวักมือ, การผงกศีรษะ | beckon | (vt) เรียก, กวักมือ, ผงกศีรษะ | call | (vt) ร้อง, ร้องเรียก, เรียกหา, มาหา, เยี่ยมเยียน, โทรศัพท์ | caller | (n) ผู้ขานชื่อ, ผู้เรียก, ผู้ไปเยี่ยม, ผู้มาหา | calling | (n) อาชีพ, การเรียกร้อง, การเยี่ยมเยียน, การไปมาหาสู่ | challenge | (vt) ท้าทาย, ท้าดวล, เรียกร้อง |
| call on | เรียกร้อง เช่น He called on the government to urgently help him. |
| 呼び出す | [よびだす, yobidasu] TH: เรียกออกมา EN: to summon | 呼び出す | [よびだす, yobidasu] TH: เรียกมารับสาย EN: to call (e.g. phone) | 訴える | [うったえる, uttaeru] TH: เรียกความสนใจ(โดยวิธีการ) EN: to appeal to | 呼ぶ | [よぶ, yobu] TH: เรียก EN: to call | 叫ぶ | [さけぶ, sakebu] TH: เรียกร้อง |
| fordern | (vt) |forderte, hat gefordert| เรียกร้อง, แสดงความต้องการ เช่น Er fordert das Gehalt in einer Höhe von 2000 Euro von der Firma. เขาเรียกเงินเดือนสองพันยูโรจากบริษัท, Syn. verlangen | französisch | (adj, n) ที่เกี่ยวกับฝรั่งเศส, ภาษาฝรั่งเศส เช่น Wie heißt das auf französisch? มันเรียกว่าอย่างไรในภาษาฝรั่งเศส, Ich bin französisch./Ich bin eine Französin. ฉันเป็นคนฝรั่งเศส, See also: Frankreich | nennen | (vt) |nannte, hat genannt| ตั้งชื่อ, เรียกว่า เช่น Er nennt seinen Hund Poldi. เขาเรียกหมาของเขาว่าโพลดี้ | hatte | (vt) |กริยารูปอดีตที่เรียกว่า Präteritum ของ haben: ich/er/sie/es hatte, du hattest, wir/sie/Sie hatten, ihr/Ihr hattet| มี, See also: haben | heißen | (vi) |hieß, hat geheißen| มีชื่อว่า, เรียกว่า เช่น Wie heißen Sie? คุณชื่ออะไร | hieß | (vt) |กริยารูปอดีตที่เรียกว่า Präteritum ของ heißen: ich hieß, du hießt/hießtest, er/sie/es hieß, wir/Sie/sie hießen, ihr/Ihr hießt| มีชื่อว่า, See also: heißen | sogenannt | อย่างที่เรียกกันว่า | Girokonto | (n) |das, pl. Girokonten| บัญชีเงินฝากแบบเผื่อเรียก (ระยะสั้นกว่าแบบประจำที่เรียกว่า Sparkonto) | Opa | (n) |der, pl. Opas| ปู่ หรือ ตา (ใช้เรียกสั้นๆ แบบกันเอง) | Oma | (n) |die, pl. Omas| ย่า หรือ ยาย (ใช้เรียกสั้นๆ แบบกันเอง) |
| ä | เป็นสระในภาษาเยอรมัน เรียกว่า a tréma ในภาษาฝรั่งเศส | ö | เป็นสระในภาษาเยอรมัน เรียกว่า o tréma ในภาษาฝรั่งเศส | ü | เป็นสระในภาษาเยอรมัน เรียกว่า ü tréma ในภาษาฝรั่งเศส | ß | เป็นสระในภาษาเยอรมัน เรียกว่า deux s ในภาษาฝรั่งเศส | appeler | (vt) |j' appelle, tu appelles, il appelle, nous appelons, vous appelez, ils appellent| เรียก, โทร, ร้องเรียก เช่น 1° appeler à l'aide = ร้องขอความช่วยเหลือ 2° Je vais t'appeler ce soir. = ผมจะโทรหาคุณ เย็นนี้ | s'appeler | (vt) เรียกว่า เช่น ça s'appelle comment? = มันเรียกว่าอะไร | appellation | (n) |f| การตั้งชื่อ, การให้คำเรียก | appeler | (vt) เรียก, โทร, ร้องเรียก เช่น Je vais te appeler demain. พรุ่งนี้ผมจะโทรไปหาคุณนะครับ, Syn. téléphoner, exiger | consonne | (n) |f, pl. -s| พยัญชนะ, สระอักษร ประกอบด้วย A(อา) B(เบ) C(เซ) D(เด) E(เอ) F(เอฟ) G(เจ) H(อาช) I(อี) J(จี) K(คา) L(เอ็ล) M(เอ็ม) N(เอ็น) O(โอ) P(เพ) Q(คู) R(แอร์) S(เอส) T(เท) U(ออกเสียงระหว่าง อู-อือ) V(เว) W(ดุบเบลอเว) X(อิกส์) Y(อีเกร็ค) Z(เซท) é: e accent aigu è: e accent grave ê: e accent circonflexe ë: e tréma ç ตัวอักษรที่เรียกว่า cédille (เซดีย์) ใช้เปลี่ยงเสียงคำที่ขึ้นต้นด้วย ca, co, cu ซึ่งต้องเปล่งเสียงเป็น ค ให้เป็น ça, ço, çu ซึ่งต้องเปล่งเสียงเป็น ส | entrée | (n) |f, pl. entrées| อาหารจานแรกของมื้อซึ่งมักเป็นสลัดหรือซุป, อาหารเรียกน้ำย่อย, Syn. hors-d'oeuvre |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |