ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -ฤดี-, *ฤดี* |
(เนื่องจากผลลัพธ์จากการค้นหา ฤดี มีน้อย ระบบได้ทดลองค้นหาใหม่โดยใส่ดอกจันทน์ (wild-card) ให้โดยอัตโนมัติ: *ฤดี*) |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ฤดี | (รึ-) น. รติ, ความยินดี, ใจ. | ฤดียา, ฤติยา | (รึ-) ก. เกลียด, รังเกียจ, ดูถูก. | กฤดีกา, กฤตยฎีกา | (กฺริ-, กฺริดตะยะ-) แผลงมาจาก กติกา เช่น อันว่าความกฤดีกา แต่สองราแรกทรงพรต (ม. คำหลวง กุมาร), ชำระกฤตยฎีกา (ไวพจน์พิจารณ์). | ภฤดี | (พฺรึ-) น. ค่าจ้าง, สินจ้าง. | สมประดี, สมปฤดี, สมปฤๅดี | (สมปฺระ-, สมปะรึ-, สมปะรือ-) น. ความรู้สึกตัว, มักใช้เข้าคู่กับคำ สติ เป็น สติสมประดี เช่น ไม่ได้สติสมประดี. | สมฤดี, สมฤๅดี | (สมรึดี, สมรือดี) น. ความรู้สึกตัว, ใช้เป็น สมปฤดี สมปฤๅดี หรือ สมประดี ก็มี. | ดัด ๑ | ปลุก เช่น เคยดัดฤดีตาตื่นตรับ (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). | แดยัน | ก. แทบขาดใจ เช่น ผวาวิ่งประหวั่นจิตต์ ไม่ทันคิดก็โศกา กอดแก้วขนิษฐา ฤดีดิ้นอยู่แดยัน (พากย์นางลอย). | ตรับ, ตรับฟัง | (ตฺรับ) ก. เอาใจใส่คอยฟังข่าวคราวทุกข์สุขหรือความคิดเห็นของผู้อื่นเป็นต้น, มักใช้เข้าคู่กับคำ สดับ เป็น สดับตรับฟัง, เช่น เคยดัดฤดีตาตื่นตรับ สยงสารสงงคีตขับทรอท่อ (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). | ตรีประดับ | น. ชื่อกลอนกลบทชนิดหนึ่ง กำหนดให้แต่ละวรรคมีคำเดียวกัน ผันวรรณยุกต์รูปสามัญ เอก และโท เรียงกัน หรือโท เอก สามัญ ก็ได้ เช่น อมรแมนแม่นแม้นเจ้างามโฉม ชฬอฬ่อฬ้อโลกย์ให้โศกโทรม แต่เลาเล่าเล้าโลมฤดีแด (ประชุมจารึกวัดพระเชตุพน). | ท่อ ๓ | ก. โต้ตอบ เช่น นกท่อเสียงกัน, ประสาน เช่น เคยดัดฤดีตาตื่นตรับ สยงสารสงงคีตขับทรอท่อ (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). | ทำเนียม | ว. เทียม, แนบ, ชิด, เช่น ใครโทจะเท่าเทียม ทำเนียมพักตรเล้าโลม เล้าลูบตระโบมโสม รูปกฤตย์ฤดีดาย (อนิรุทธ์). | รติ | ความรัก, ความกำหนัด, แผลงใช้ว่า ฤดี หรือ รดี ก็ได้. | ฤๅดี | น. ฤดี, ความยินดี, ใจ. |
|
| | กฤดีกา, กฤตยฎีกา | (กฺริ-, กฺริดตะยะ-) แผลงมาจาก กติกา เช่น อันว่าความกฤดีกา แต่สองราแรกทรงพรต (ม. คำหลวง กุมาร), ชำระกฤตยฎีกา (ไวพจน์พิจารณ์). | ภฤดี | (พฺรึ-) น. ค่าจ้าง, สินจ้าง. | ฤดี | (รึ-) น. รติ, ความยินดี, ใจ. | ฤดียา, ฤติยา | (รึ-) ก. เกลียด, รังเกียจ, ดูถูก. | สมประดี, สมปฤดี, สมปฤๅดี | (สมปฺระ-, สมปะรึ-, สมปะรือ-) น. ความรู้สึกตัว, มักใช้เข้าคู่กับคำ สติ เป็น สติสมประดี เช่น ไม่ได้สติสมประดี. | สมฤดี, สมฤๅดี | (สมรึดี, สมรือดี) น. ความรู้สึกตัว, ใช้เป็น สมปฤดี สมปฤๅดี หรือ สมประดี ก็มี. | ดัด ๑ | ปลุก เช่น เคยดัดฤดีตาตื่นตรับ (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). | แดยัน | ก. แทบขาดใจ เช่น ผวาวิ่งประหวั่นจิตต์ ไม่ทันคิดก็โศกา กอดแก้วขนิษฐา ฤดีดิ้นอยู่แดยัน (พากย์นางลอย). | ตรับ, ตรับฟัง | (ตฺรับ) ก. เอาใจใส่คอยฟังข่าวคราวทุกข์สุขหรือความคิดเห็นของผู้อื่นเป็นต้น, มักใช้เข้าคู่กับคำ สดับ เป็น สดับตรับฟัง, เช่น เคยดัดฤดีตาตื่นตรับ สยงสารสงงคีตขับทรอท่อ (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). | ตรีประดับ | น. ชื่อกลอนกลบทชนิดหนึ่ง กำหนดให้แต่ละวรรคมีคำเดียวกัน ผันวรรณยุกต์รูปสามัญ เอก และโท เรียงกัน หรือโท เอก สามัญ ก็ได้ เช่น อมรแมนแม่นแม้นเจ้างามโฉม ชฬอฬ่อฬ้อโลกย์ให้โศกโทรม แต่เลาเล่าเล้าโลมฤดีแด (ประชุมจารึกวัดพระเชตุพน). | ท่อ ๓ | ก. โต้ตอบ เช่น นกท่อเสียงกัน, ประสาน เช่น เคยดัดฤดีตาตื่นตรับ สยงสารสงงคีตขับทรอท่อ (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). | ทำเนียม | ว. เทียม, แนบ, ชิด, เช่น ใครโทจะเท่าเทียม ทำเนียมพักตรเล้าโลม เล้าลูบตระโบมโสม รูปกฤตย์ฤดีดาย (อนิรุทธ์). | รติ | ความรัก, ความกำหนัด, แผลงใช้ว่า ฤดี หรือ รดี ก็ได้. | ฤๅดี | น. ฤดี, ความยินดี, ใจ. |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |