ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: อรรถ, -อรรถ- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ |
| อรรถบท | (n) essence, See also: theme, text, story, topic, Syn. แก่นเรื่อง, เนื้อความ, สาระ, แก่น, Example: เขาพยายามทำความเข้าใจอรรถบทของเรื่องนี้ | อรรถรส | (n) beautiful wording, See also: beautiful words, (poetic) flavor, Example: หนังสือเล่มนี้มีความไพเราะงดงามด้วยเสียง ความหมาย และอรรถรสต่างๆ, Thai Definition: รสแห่งถ้อยคำ, ถ้อยคำที่ทำให้เกิดความซาบซึ้ง, ถ้อยคำที่ทำให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | อรรถรส | (n) beautiful wording, See also: beautiful words, (poetic) flavor, Example: หนังสือเล่มนี้มีความไพเราะงดงามด้วยเสียง ความหมาย และอรรถรสต่างๆ, Thai Definition: รสแห่งถ้อยคำ, ถ้อยคำที่ทำให้เกิดความซาบซึ้ง, ถ้อยคำที่ทำให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | อรรถกถา | (n) exegesis, See also: commentary, Example: เขาชอบอ่านอรรถกถาเหล่านั้นก่อนนอนทุกคืน, Thai Definition: คัมภีร์ที่อธิบายความพระบาลี, คัมภีร์ที่ไขความพระไตรปิฎก | อรรถคดี | (n) lawsuit, See also: legal case, legal proceedings, legal action, Example: ศาลพิพากษาอรรถคดีไปตามพยานหลักฐาน, Thai Definition: เรื่องที่ฟ้องร้องกันในศาล | โดยอรรถ | (adv) according to the essence of a matter, See also: by the text, Syn. ตามเนื้อความ | เชิงอรรถ | (n) footnote, Syn. อ้างอิง, คำอธิบายเพิ่มเติม, Example: ผู้เขียนใส่ความหมายของคำศัพท์เพิ่มเติมในเชิงอรรถ, Thai Definition: คำอธิบายหรือข้ออ้างอิงที่เขียนหรือพิมพ์ไว้ที่ส่วนล่างของหน้าหนังสือหรือตอนท้ายของเรื่อง | อรรถศาสตร์ | (n) semantics, Thai Definition: วิชาที่เกี่ยวกับความหมาย, การตีความทางความหมาย | อรรถศาสตร์ | (n) utilitarianism, See also: science of practical life and government, economics, Thai Definition: วิชาที่เกี่ยวกับการงานในชีวิตและการปกครอง | อรรถาธิบาย | (n) explanation, See also: elucidation, Syn. คำอธิบาย, Example: พระภิกษุกำลังให้อรรถาธิบายแก่ศิษย์, Thai Definition: การอธิบายขยายความ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | อรรถาธิบาย | (v) explain, See also: clarify, amplify (meaning), Syn. อธิบายความ, ขยายความ, Example: วิทยากรอรรถาธิบายสรรพคุณของสินค้ามากมาย, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | อรรถาธิบาย | (v) explain, See also: clarify, amplify (meaning), Syn. อธิบายความ, ขยายความ, Example: วิทยากรอรรถาธิบายสรรพคุณของสินค้ามากมาย, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | แปลตามอรรถ | (v) free translate, Syn. แปลตามเนื้อความ, แปลเอาความ, Example: นิยายบางเรื่องนักแปลจะแปลตามอรรถจากต้นฉบับเดิม | อรรถกถาจารย์ | (n) exegete, See also: commentator, Example: เขาเป็นเพียงอรรถกถาจารย์แต่งแก้และขยายความจากปรัชญาของเฮเกลเท่านั้น, Thai Definition: อาจารย์ผู้แต่งอรรถกถา | อรรถประโยชน์ | (n) advantage, Syn. ประโยชน์, คุณประโยชน์, Example: เราจะได้รับอรรถประโยชน์มากมายจากงานวิจัยชิ้นนี้, Thai Definition: ประโยชน์ที่ต้องการ |
| เชิงอรรถ | น. คำอธิบายเพื่อขยายคำหรือข้อความที่อยู่ในเนื้อหา หรือข้ออ้างอิง ซึ่งเขียนหรือพิมพ์ไว้ส่วนล่างของหน้าหนังสือหรือตอนท้ายของเรื่อง. | โดยอรรถ | ว. ตามเนื้อความ เช่น แปลภาษาบาลีโดยอรรถ. | แปลโดยอรรถ | ก. แปลตามเนื้อความ, แปลตามอรรถ ก็ว่า. | แปลตามอรรถ | ก. แปลตามเนื้อความ. | อรรถ, อรรถ- | (อัด, อัดถะ-) น. เนื้อความ เช่น แปลโดยอรรถ, คำที่ยังไม่ได้แปลความหมาย เช่น คำอรรถ. | อรรถกถา | (อัดถะกะถา) น. คัมภีร์ที่อธิบายความพระบาลี, คัมภีร์ที่ไขความพระไตรปิฎก. | อรรถกถาจารย์ | น. อาจารย์ผู้แต่งอรรถกถา. | อรรถกร | (อัดถะกอน) ว. ให้ประโยชน์, เป็นประโยชน์. | อรรถกวี | (อัดถะกะวี) น. กวีผู้มีความสามารถในการแต่งร้อยกรองตามความเป็นจริง. | อรรถคดี | (อัดถะคะดี) น. เรื่องที่ฟ้องร้องกันในศาล. | อรรถบท | (อัดถะบด) น. แก่นเรื่อง, เนื้อความ, หัวข้อ, สาระ. | อรรถปฏิสัมภิทา | (อัดถะ-) น. ปัญญาอันแตกฉานในอรรถ คือ ความเข้าใจที่สามารถคาดหมายผลข้างหน้าอันจะเกิดสืบเนื่องไปจากเหตุ, ความเข้าใจอธิบายอรรถแห่งภาษิตย่อให้พิสดาร, เป็นธรรมข้อ ๑ ในปฏิสัมภิทา ๔ คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรมปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา. | อรรถประโยชน์ | (อัดถะปฺระโหฺยด) น. ประโยชน์ที่ต้องการ. | อรรถรส | (อัดถะรด) น. รสแห่งถ้อยคำ, ถ้อยคำที่ทำให้เกิดความซาบซึ้ง, ถ้อยคำที่ทำให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจ. | อรรถาธิบาย | ก. ขยายความ, อธิบายความ. | อรรถาธิบาย | น. การขยายความ, การอธิบายความ. | อรรถาธิบาย | ดู อรรถ, อรรถ-. | เอื้อนอรรถ, เอื้อนเอ่ย, เอื้อนโอฐ ๒ | ก. ออกปากพูด, พูดข้อความออกมา, มักใช้แก่กิริยาที่ทำทีอิดเอื้อนไม่ใคร่พูดออกมาง่าย ๆ. | กระจัด ๒ | ว. กระจะ, จะจะ, ชัดเจน, เช่น ฝ่ายล่ามบอกออกอรรถกระจัดแจ้ง (อภัย). | กระบวน | วิธีการ เช่น จัดกระบวนพิจารณาอรรถคดีในโรงศาล, ใช้เข้าคู่กับคำ กระบิด เป็น กระบิดกระบวน. | กล่าว | แสดง เช่น กล่าวเกลาอรรถเอมอร (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์) | กวี | (กะวี) น. ผู้รู้ผู้เชี่ยวชาญในศิลปะการประพันธ์บทกลอน จำแนกเป็น ๔ คือ ๑. จินตกวี แต่งโดยความนึกคิด ๒. สุตกวี แต่งโดยได้ฟังมา ๓. อรรถกวี แต่งตามความเป็นจริง ๔. ปฏิภาณกวี แต่งโดยฉับพลันทันที. | กุสุมวิจิตร | น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติแบบหนึ่ง กำหนดด้วย ๔ คณะ คือ น คณะ ย คณะ น คณะ ย คณะ บาทละ ๑๒ คำ หรือ ๑๒ พยางค์ (ตามแบบว่า นยสหิตานฺยา กุสุมวิจิตฺตา) ตัวอย่างว่า จะรจิตรอรรถา ปิสุณวจีขวน พิปริตญาณยล บรชนทำลาย (ชุมนุมตำรากลอน). | คุณบท | (คุนนะ-) น. กลบทโบราณชนิดหนึ่ง ตัวอย่างว่า “เดชกุศลผล ตนข้าแปล แก้คัมภีร์ ที่ชาดก, ยกจากอรรถ จัดปัญญาส ชาติโพธิสัตว์ คัดประจง”. | ชนกกรรม | (ชะนะกะกำ) น. กรรมอันนำให้เกิดหรือกรรมอันเป็นต้นเค้าทั้งข้างดีหรือข้างชั่ว เช่น กรรมอันทำให้เกิดเป็นคนชั้นสูง เป็นชนกกรรมฝ่ายกุศล (อรรถศาสน์). | ฎีกา | ชื่อคัมภีร์หนังสือที่แก้หรืออธิบายคัมภีร์อรรถกถา | ตรีทศ | น. เทวดา ๓๓ องค์ ในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์, ในคัมภีร์อรรถกถาธรรมบทหมายถึง พระอินทร์และเทวดาผู้ใหญ่อีก ๓๒ องค์, ไตรทศ ก็เรียก. | ตุลาการ | น. ผู้มีอำนาจและหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี. | ไตรทศ | (-ทด) น. เทวดา ๓๓ องค์ ในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์, ในคัมภีร์อรรถกถาธรรมบทหมายถึง พระอินทร์และเทวดาผู้ใหญ่อีก ๓๒ องค์, ตรีทศ ก็ว่า. | ธรรมปฏิสัมภิทา | น. ปัญญาอันแตกฉานในธรรม คือ ความเข้าใจสาวหาเหตุในหนหลัง, ความเข้าใจถือเอาใจความแห่งอธิบายนั้น ๆ ตั้งเป็นกระทู้หรือหัวข้อขึ้นได้, เป็นธรรมข้อ ๑ ในปฏิสัมภิทา ๔ คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรมปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา. | นิรุตติปฏิสัมภิทา | น. ปัญญาอันแตกฉานในนิรุตติ คือ ความเข้าใจในภาษา รู้จักใช้ถ้อยคำพูดอธิบายให้คนเข้าใจ ตลอดจนรู้ภาษาต่าง ๆ อาจชักนำคนให้เชื่อถือหรือนิยมตามคำพูด, กล่าวสั้น ๆ ว่า เข้าใจพูด, เป็นธรรมข้อ ๑ ในปฏิสัมภิทา ๔ คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรมปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติ-ปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา. | บเอ | ว. มิใช่เอก, มิใช่หนึ่ง, มาก เช่น อักษรอรรถบเอ (ม. คำหลวง ทศพร). | ปฏิภาณปฏิสัมภิทา | (ปะติพานะ-) น. ปัญญาอันแตกฉานในปฏิภาณ คือ ความเข้าใจทำให้สามารถแก้ไขเหตุการณ์ได้ในเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน หรือกล่าวโต้ตอบได้ทันท่วงที, เป็นธรรมข้อ ๑ ในปฏิสัมภิทา ๔ คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรม-ปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา. | ปฏิสัมภิทา | น. ความแตกฉาน, ปัญญาอันแตกฉาน, มี ๔ อย่าง คือ อรรถปฏิสัมภิทา ธรรมปฏิสัมภิทา นิรุตติปฏิสัมภิทา ปฏิภาณปฏิสัมภิทา. | แปลตามเนื้อความ | ก. แปลเอาความ, แปลตามอรรถ หรือ แปลโดยอรรถ ก็ว่า. | ผู้พิพากษา | น. ผู้มีอำนาจและหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาอรรถ-คดีในศาล. | ยกบัตร | (ยกกะบัด) น. ตำแหน่งเจ้าพนักงานเกี่ยวกับอรรถคดี ตรงกับ พนักงานอัยการ หรือ อัยการ ในปัจจุบัน, ยกกระบัตร หรือ พนักงานรักษาพระอัยการ ก็เรียก, เขียนเป็น ยกบัตร์ ก็มี. | ยกกระบัตร | น. ตำแหน่งข้าราชการสังกัดกระทรวงวัง มีหน้าที่ออกไปประจำอยู่ตามหัวเมืองเพื่อสอดส่องอรรถคดี | ยกกระบัตร | ตำแหน่งเจ้าพนักงานเกี่ยวกับอรรถคดี ตรงกับ พนักงานอัยการ หรือ อัยการ ในปัจจุบัน, ยกบัตร หรือ พนักงานรักษาพระอัยการ ก็เรียก | ยุติธรรม | ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการศาลยุติธรรม แต่ไม่รวมถึงการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี. | รร | (รอหัน) อักษร ร ควบกัน ๒ ตัว ถ้าไม่มีตัวสะกด ใช้แทนสระอะกับแม่กนสะกด เช่น กรรไตร (กันไตฺร) ยรรยง (ยันยง) สรร (สัน) สรรค์ (สัน), ถ้ามีตัวสะกดใช้แทนสระอะ เช่น วรรณ (วัน) สรรพ (สับ) กรรม (กัม) อรรถ (อัด). | วงเล็บ | ใช้กันนามเต็มหรือบรรดาศักดิ์ที่เขียนใต้ลายมือชื่อ เช่น
ใช้กันตัวอักษรหรือตัวเลขที่เป็นหัวข้อหรือที่เป็นเลขหมายบอกเชิงอรรถ ส่วนตัวอักษรหรือตัวเลขที่เป็นหัวข้ออาจใช้เพียงเครื่องหมายวงเล็บปิดก็ได้ เช่น วันรุ่งแรมสามค่ำเป็นสำคัญ (๑) อภิวันท์ลาบาทพระชินวร ข้อ (ก) ข้อ ๑), ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์และสูตรทางวิทยาศาสตร์เพื่อกั้นตัวเลขหรือสัญลักษณ์ไว้เป็นกลุ่ม เช่น a2 - b2 = (a + b)(a – b), Al2(SO4)3, นขลิขิต ก็ว่า. | วงเล็บเหลี่ยม | น. คิ้ว, ใช้เป็นราชาศัพท์ว่า พระขนง, ใช้กันข้อความในการเขียนบรรณานุกรมและเชิงอรรถในกรณีที่ข้อความนั้นไม่ปรากฏในหนังสือ แต่ผู้ทำบรรณานุกรมเพิ่มเติมเข้าไปเอง โดยมีหลักฐานยืนยัน เช่น [ ตรี อมาตยกุล ] นำชมหอสมุดดำรงราชานุภาพ. พระนคร : กรมศิลปากร, ๒๔๙๔., ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์เพื่อกั้นกลุ่มตัวเลขกลุ่มสัญลักษณ์ที่มีวงเล็บอื่นอยู่แล้วไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน เช่น 11 + 2[ x + 4 – 3{ x + 5 – 4(x + 1) } ] = 23, ใช้ในทางวิทยาศาสตร์เพื่อกั้นกลุ่มตัวเลขหรือกลุ่มสัญลักษณ์เพื่อแสดงความหมายต่าง ๆ เช่น [ Ba2+ ][ F−2 ] = 1.05.10−6, Na2[ Fe(Cn)5(NO) ]·2H2O. | ศาล | (สาน) น. องค์กรฝ่ายตุลาการซึ่งมีอำนาจพิจารณาพิพากษาอรรถคดี, ผู้พิพากษาหรือตุลาการซึ่งมีอำนาจพิจารณาพิพากษาอรรถคดี | หมอความ | น. ผู้ที่ได้รับอนุญาตให้ว่าต่างแก้ต่างคู่ความในเรื่องอรรถคดี, ทนาย หรือ ทนายความ ก็เรียก. | อลังการศาสตร์ | น. วิชาว่าด้วยวิธีการประพันธ์ที่จะทำให้เกิดอรรถรสและความประทับใจ อำนวยประโยชน์ในการศึกษาวรรณคดีมาก. |
| | Citation footnote | เชิงอรรถอ้างอิง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Content footnote | เชิงอรรถเสริมความ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Patent | สิทธิบัตร, หนังสือสำคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ (Invention)การออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Design) หรือผลิตภัณฑ์อรรถประโยชน์ (Utility Model)ที่มีลักษณะตามที่กฎหมายกำหนด [ทรัพย์สินทางปัญญา] | utility program | โปรแกรมอรรถประโยชน์, Example: โปรแกรมที่ช่วยให้เราใช้งานคอมพิวเตอร์ได้สะดวกขึ้น เช่น ช่วยจัดการแฟ้มข้อมูล วินิจฉัยและแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวกับการใช้เครื่อง และการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ [คอมพิวเตอร์] | Nettiatthakath | เนตติอรรถกถา [TU Subject Heading] | Semantics | อรรถศาสตร์ [TU Subject Heading] | Semantics (Law) | อรรถศาสตร์ (กฎหมาย) [TU Subject Heading] | Semantics (Philosophy) | อรรถศาสตร์ (ปรัชญา) [TU Subject Heading] | Footnotes | เชิงอรรถ, Example: หลักฐานการอ้างอิงข้อความที่นำมาจากที่อื่นเพื่อประกอบการเรียบเรียงงาน วิจัย อยู่ส่วนล่างของหน้า งานวิจัยบางเรื่องอาจรวมเชิงอรรถไว้ท้ายบทหรือท้ายเล่มเลยก็ได้ เชิงอรรถมี 3 ประเภท <p> 1. เชิงอรรถอ้างอิง (Citation footnotes) คือ เชิงอรรถแสดงแหล่งที่มาของข้อความที่นำมาประกอบการเรียบเรียง <p> 2. เชิงอรรถเสริมความ (Content footnotes) คือ เชิงอรรถอธิบายศัพท์หรือข้อความเพิ่มเติมในเนื้อเรื่องบางตอนที่มีความสัมพันธ์กัน <p> 3. เชิงอรรถโยง (Cross reference footnotes) คือ เชิงอรรถที่โยงให้ผู้อ่านดูข้อความที่หน้าอื่นในงานวิจัยเรื่องเดียวกัน หรือดูเพิ่มเติมในบทอื่น ๆ ซึ่งมีรายละเอียดไว้แล้วและไม่ต้องการกล่าวซ้ำอีก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Patent | สิทธิบัตร, หนังสือสำคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ (Invention) การออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Design) หรือผลิตภัณฑ์อรรถประโยชน์ (Util, Example: <p>สิทธิบัตร หรืออีกความหมายหนึ่งคือ เอกสารที่รัฐบาลให้แก่ผู้ได้รับสิทธิผูกขาดการใช้สิ่งประดิษฐ์เพื่อประโยชน์เชิงพาณิชย์ ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ตามที่กฎหมายสิทธิบัตรของประเทศกำหนดไว้ เพื่อแลกเปลี่ยนกับการที่ผู้ขอรับสิทธิบัตรยอมเปิดเผยรายละเอียดของการประดิษฐ์นั้นไว้ในเอกสารสิทธิบัตร <p>สิ่งที่ขอจดสิทธิบัตรได้ <p>1. การประดิษฐ์ที่เป็นผลให้ได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์หรือกรรมวิธีที่ไม่เคยมีมาก่อน (Novelty) <p>2. การประดิษฐ์ที่มีขั้นตอนการประดิษฐ์สูงขึ้น ซึ่งไม่อาจทำโดยบุคคลที่มีความรู้ในระดับธรรมดา (Inventive Step) <p>3. การประดิษฐ์ที่สามารถใช้ประโยชน์ได้ในทางอุตสาหกรรม เกษตรกรรม หรือหัตถกรรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | utilities program | โปรแกรมอรรถประโยชน์, ซอฟต์แวร์ที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น ดูแลรักษา ความปลอดภัยและเสถียรภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
| อรรถ | [at] (n) EN: test ; words | อรรถ- | [attha-] (pref, (n)) EN: text ; words ; content | อรรถบท | [atthabot] (n) EN: essence | อรรถกถา | [atthakathā] (n) EN: commentary ; exegesis | อรรถกถาจารย์ | [atthakathājān] (n) EN: commentator ; exegete FR: exégète [ m ] ; commentateur [ m ] | อรรถคดี | [atthakhadī] (n) EN: lawsuit ; case ; legal action ; legal case ; legal proceedings ; litigation | อรรถกวี | [atthakawī] (n) EN: writer of non-fiction | อรรถนิยม | [atthaniyom] (n) EN: realism | อรรถประโยชน์ | [atthaprayōt] (n) EN: advantage ; utility | อรรถรส | [attharot] (n) EN: flavour = flavor (Am.) ; feeling ; aesthetic quality ; beautiful wording | อรรถศาสตร์ | [atthasāt] (n) EN: semantics FR: sémantqiue [ f ] | อรรถศาสตร์ | [atthasāt] (n) EN: utilitarianism | อรรถาธิบาย | [atthāthibāi] (n) EN: explanation | อรรถาธิบาย | [atthāthibāi] (v) EN: explain | เชิงอรรถ | [choēng-at] (n) EN: footnote | โดยอรรถ | [dōi at] (adv) EN: according to the essence of a matter | แก้อรรถ | [kaē at] (v, exp) EN: do an exegesis ; explain ; define | คำอรรถ | [kham at] (n, exp) EN: special term |
| exegete | (n) อรรถกถาจารย์ - ผู้เขียนหนังสืออธิบายข้อพระคัมภีร์ของศาสนาต่างๆ เช่นหนังสืออธิบายข้อพระคริสต์ธรรมคัมภีร์ หรือหนังสืออธิบายข้อพระธรรมเบญจบรรณ หรือหนังสืออธิบายพระไตรปิฏก หรือหนังสืออธิบายคัมภีร์พระเวท หรือหนังสืออธิบายคัมภีร์อัลกุรอ่านก็ได้ทั้งนั้น, Syn. commentator |
| declaim | (vi) อ่าน, See also: ท่อง บทกวี, สุนทรพจน์ ฯลฯ, อย่างมีอรรถรส, Syn. recite | footnote | (n) เชิงอรรถ, See also: คำอธิบายที่พิมพ์ไว้ส่วนล่างหรือส่วนหลังของหนังสือ | semantics | (n) สาขาวิชาหนึ่งทางภาษาศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องของความหมาย, See also: อรรถศาสตร์, Syn. semasiology, semiology | utility | (n) ประโยชน์ใช้สอย, See also: ผลประโยชน์, อรรถประโยชน์, Syn. usefulness, Ant. uselessness | variorum | (n) คำอรรถาธิบาย |
| context | (คอน'เทคซฺทฺ) n. คำอรรถาธิบาย, ตอนต้นหรือตอนต่อจากคำหรือถ้อยคำ, สิ่งแวดล้อม, See also: contextual adj. ดูcontext, Syn. circumstance -Conf. point | control panel | แผงควบคุมเป็นชื่อโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) กลุ่มหนึ่ง เป็นตัวกำหนดเกี่ยวกับอุปกรณ์ หรือส่วนต่าง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ ให้เป็นไปตามที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น จอภาพ, เมาส์ , แป้นพิมพ์, หน่วยความจำ ระบบเครือข่าย ฯ control panel นี้จะมีให้ใช้ทั้งในแมคอินทอช และระบบวินโดว์บนพีซี หรือ Presentation Manager ของ โอเอสทู (OS 2) | da | 1. abbr. dopamine 2. (ดีเอ) ย่อมาจาก desk accessory (แปลว่า เครื่องใช้อำนวยความสะดวก) มีอยู่ในเครื่องแมคอินทอช หมายถึง โปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) ต่าง ๆ เช่น เครื่องคิดเลข สมุดโน้ต นาฬิกา โปรแกรมเหล่านี้สามารถเรียกมาใช้ได้ แม้ในขณะที่ทำโปรแกรมอื่นอยู่ ในระบบไมโครซอฟต์วินโดว์ ก็มีกลุ่มโปรแกรมที่ชื่อ Accessories ซึ่งมีโปรแกรมอรรถประโยชน์ในลักษณะคล้าย ๆ กัน เช่น มีเครื่องคิดเลข นาฬิกา สมุดโน้ต ปฎิทิน มีโปรแกรมที่จำเป็น เช่น ประมวลผลคำ (word processing) และ โปรแกรมวาดภาพ ฯลฯ | desk accessory | เครื่องใช้อำนวยความสะดวกใช้ตัวย่อว่า DA (อ่านว่า ดีเอ) หมายถึง โปรแกรมพิเศษประเภทโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) ต่าง ๆ ที่อำนวยประโยชน์ให้แก่ผู้ใช้ได้ตลอดเวลา แม้ในขณะที่ใช้โปรแกรมอื่นอยู่ เช่น เครื่องคิดเลข นาฬิกา ฯ (ดู DA) | emm | (อีเอ็มเอ็ม) ย่อมาจากคำ expanded memory manager เป็นชื่อของโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) โปรแกรมหนึ่งที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์สามารถทำให้หน่วยความจำมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ส่วนมากจะใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีตัวประมวลผลเป็นชิป (chip) เบอร์ 80386 หรือ 80486 | expanded memory manager | ชื่อโปรแกรมขยายหน่วยความจำใช้ตัวย่อว่า EMM (อีเอ็มเอ็ม) เป็นชื่อของโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) โปรแกรมหนึ่งที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์สามารถทำให้หน่วยความจำมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ส่วนมากจะใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีตัวประมวลผลเป็นชิป (chip) เบอร์ 80386 หรือ 80486 | font/da mover | โปรแกรมเพิ่ม/ลดแบบอักษรเป็นโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) โปรแกรม หนึ่ง มีเฉพาะในเครื่องคอมพิวเตอร์แมคอินทอช ใช้เมื่อ ต้องการ นำแบบอักษรต่าง ๆ เข้าไปเก็บในฮาร์ดดิสก์ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือเมื่อต้องการคัดลอกลงไปเก็บ ในจานบันทึก | judgement | (จัดจฺ'เมินทฺ) n. การพิจารณา, การพิจารณาอรรถคดี, การตัดสิน, การลงความเห็น, ความเห็น, คำวินิจฉัย, การพิพากษาครั้งสุดท้ายของพระเจ้าที่มีต่อมนุษย์ทั้งหลาย, วาระสุดท้ายของโลก (หรือ Last judg (e) ment), Syn. consideration, ruling, opinion, wisdom | judgment | (จัดจฺ'เมินทฺ) n. การพิจารณา, การพิจารณาอรรถคดี, การตัดสิน, การลงความเห็น, ความเห็น, คำวินิจฉัย, การพิพากษาครั้งสุดท้ายของพระเจ้าที่มีต่อมนุษย์ทั้งหลาย, วาระสุดท้ายของโลก (หรือ Last judg (e) ment), Syn. consideration, ruling, opinion, wisdom | judicature | (จู'ดะเคเชอะ) n. การพิจารณาอรรถคดีตามกฎหมาย, ผู้พิพากษาทั้งหลาย, อำนาจในการพิพากศาอรรถคดี, ศาลยุติธรรม, กฎหมาย | judicial | (จูดิช'เชิล) adj. เกี่ยวกับการตัดสินอรรถคดีตามกฎหมาย, เกี่ยวกับศาลยุติธรรม, เกี่ยวกับผู้พิพากษา, เกี่ยวกับกฎหมาย, ซึ่งเกิดจากพระผู้เป็นเจ้า, Syn. legal, juridical | judiciary | (จูดิช'ชีเออรี) adj. เกี่ยวกับการตัดสินอรรถคดีของศาลยุติธรรม, เกี่ยวกับกฎหมาย, เกี่ยวกับผู้พิพากษา n. การพิจารณาคดีตามกฎหมาย, ศาลยุติธรรม, ระบบศาล, การะทรวงยุติธรรม, ผู้พิพากษาทั้ง, หลาย, Syn. legal, discerning | juridical | (จูริด'ดิเคิล) adj. เกี่ยวกับการพิจารณาอรรถคดี, เกี่ยวกับกฎหมาย. -S.juridic -S.judicial | jurisprudence | (จัวริสพรูด'เดินซฺ) n. นิติศาสตร์, ธรรมศาสตร์, ระบบกฎหมาย, การตัดสินอรรถคดีของศาล, See also: jurisprudential adj. | justiciary | (จัสทิช'ชีเออรี) adj. เกี่ยวกับการพิจารณาอรรถคดีโดยศาลยุติธรรม n. ที่ทำการหรืออำนาจหน้าที่ของตุลาการ | memory resident program | โปรแกรมในหน่วยความจำหมายถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ส่วนที่เก็บเอาไว้ในหน่วยความจำของเครื่องคอมพิวเตอร์โดยที่เราไม่รู้ไม่เห็น และไม่สามารถเรียกมาดูได้ โดยมากเป็นโปรแกรมอรรถประโยชน์ต่าง ๆ เช่น โปรแกรมตัวขับเมาส์ (mouse driver) เป็นต้น โปรแกรมประเภทนี้บางทีเรียกว่า TSR (terminate and stay residnts) | notepad | สมุดพกเป็นโปรแกรมหนึ่งในประเภทโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) ในระบบวินโดว์ (ในแมคอินทอชก็มี) เป็นโปรแกรมที่ทำให้สามารถบันทึกโน้ตย่อ หรือ เรื่องราวสั้น ๆ เก็บไว้ และจะเรียกมาดูได้ตลอดเวลา แม้ว่าในขณะนั้นจะใช้โปรแกรมอื่นอยู่ (เหมือนกระดาษทด) | plea | (พลี) n. คำแก้ตัว, คำแก้ต่าง, คำแก้ฟ้อง, ข้อต่อสู้ในอรรถคดี, คำขอร้อง, การขอร้อง, การวิงวอน | res edit | เรซเอดิท <คำอ่าน>ย่อมาจาก resource editor เป็นโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) โปรแกรมหนึ่งในเครื่องแมคอินทอชที่ยอมให้ผู้ใช้แก้ไขส่วนต่าง ๆ ของแฟ้มข้อมูลในเครื่องแมคอินทอชได้ เช่น เปลี่ยนกรอบสนทนา หรือเมนู | tribunal | (ไทรบิว'เนิล) n. ศาลยุติธรรม, บัลลังก์ตุลาการ, บัลลังก์พิจารณาพิพากษาอรรถคดี | utitity program | โปรแกรมอรรถประโยชน์หมายถึง ซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ที่สร้างขึ้นไว้เพื่อให้เราเพิ่มสมรรถนะในการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมอรรถประโยชน์ไม่ใช่โปรแกรมใช้งานหรือโปรแกรมที่จะนำมาใช้ผลิตงานใด ๆ ออกมาด้วยตัวเอง เพียงแต่เป็นโปรแกรมที่ทำให้การใช้โปรแกรมอื่นสะดวกขึ้น เดิมเราเรียกโปรแกรมประเภทนี้ว่า เป็นเครื่องมือในการทำซอฟต์แวร์ (software tools) เพราะเป็นโปรแกรมที่มีไว้ช่วยนักเขียนโปรแกรมอีกชั้นหนึ่ง ปัจจุบันโปรแกรมประเภทนี้เป็นโปรแกรมที่ขายกันทั่วไป ที่ได้รับความนิยมมาก ก็มี Norton Utiltities, PC Tools, Stacker เป็นต้น | windows | ย่อจากคำเต็มว่า Microsoft Windows เป็นชื่อของโปรแกรมระบบวินโดว์สของบริษัทไมโครซอฟต์ ซึ่งทำงานภายใต้ระบบไมโครซอฟต์ดอส (Microsoft DOS) ที่เขียนโดยบริษัทเดียวกัน ถือว่าเป็นโปรแกรมระบบที่ได้รับความนิยมสูงสุดในปัจจุบัน ไมโครคอมพิวเตอร์ที่ใช้ชิป 80286 ขึ้นไป สามารถใช้ระบบวินโดว์สได้ ระบบวินโดว์ได้พัฒนาตลอดมา ปัจจุบัน กำลังอยู่ระหว่างหัวเลี้ยวหัวต่อที่จะเปลี่ยนจากวินโดว์ส 3.1 เป็นวินโดว์ส 95 วินโดว์ส 97 และวินโดว์ส 2000 ต่อไป ระบบวินโดว์นี้จะรวมเอาโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) ต่าง ๆ ไว้ให้อย่างพร้อมมูล นอกจากนั้น หลายบริษัทยังสร้างโปรแกรมสำเร็จต่าง ๆ ให้ทำงานบนระบบวินโดว์สนี้ เช่น Aldus PageMaker, Freelance ทุกโปรแกรมจะมีวิธีการใช้พื้นฐานคล้ายคลึงกัน ทำให้ง่ายในการเรียนรู้ เพราะเรียนรู้โปรแกรมหนึ่ง ก็ทำให้มีแนวที่จะเรียนโปรแกรมอื่นง่ายขึ้น ระบบวินโดว์สนี้ จะเน้นในเรื่องการใช้ภาพเป็นสื่อ มีการใช้เมาส์ ใช้เมนู มีรายการเลือกต่าง ๆ ทำให้ผู้ใช้รู้สึกสะดวกขึ้นมาก | zip | (ซิพ) n. เสี่ยงหวือ, พลังงาน, กำลังวังชา, ศูนย์, ความไม่มีอะไร vi. เคลื่อนที่หรือกระทำด้วยความเร็วหรือพลังสูง vt. เติมพลัง, เติมความเร่าร้อน, รูปซิป, ดึงซิป, ทำให้พ่ายแพ้ , ใช้เป็นคำนำหน้าชื่อแฟ้มข้อมูลที่ได้ผ่านการอัดแน่นโดยโปรแกรมอรรถประโยชน์ที่มีชื่อว่า PKZIP การอัดแน่นข้อมูลนั้นมีประโยชน์ในการประหยัดที่เก็บ เมื่อใดที่ต้องการใช้ จะต้องนำมาขยายขนาดเท่าเดิมก่อน โดยใช้โปรแกรมที่ชื่อ PKUNZIP ปัจจุบัน ในระบบวินโดว์ 95 ใช้โปรแกรมชื่อ Winzip, See also: ziper n., Syn. vitality |
| context | (n) ปริบท, บทความ, ท้องเรื่อง, อรรถาธิบาย, สิ่งแวดล้อม | footnote | (n) หมายเหตุ, เชิงอรรถ |
| code switching | (n) (ศัพท์เฉพาะทฤษฎีการแปล) การถ่ายความหมายของคำจากภาษาหนึ่งเป็นอีกภาษาหนึ่ง โดยไม่คำนึงถึงบริบท ผลงานแปลจึงขาดความพลิ้ว ลีลา และอรรถรส ดังเช่นการแปลด้วยซอฟแวร์แปล |
| 備考 | [びこう, bikou] TH: เชิงอรรถ EN: remarks |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |