มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ scenes | scene (ซีน) n. ฉาก, เวที, ภาพ, เหตุการณ์, สถานที่เกิดเหตุ, (ละคร) บทหนึ่ง, (ภาพยนตร์) ตอนหนึ่ง, เรื่องราว, อุปกรณ์ประกอบฉาก, สิ่งแวดล้อม, ทัศนียภาพ, ภาพภูมิประเทศ, -Phr. (behind the scenes อยู่เบื้องหลัง) |
|
| สิ่งแวดล้อม | (n) environment, Syn. สภาพแวดล้อม | สิ่งแวดล้อม | (n) surroundings, See also: environment, Syn. สภาพแวดล้อม, Example: ลวดลายส่วนใหญ่ของไทยได้รับแรงบันดาลใจจากสิ่งแวดล้อมจากธรรมชาติ, Thai Definition: สิ่งต่างๆ ที่มีลักษณะทางกายภาพและชีวภาพที่อยู่รอบตัวมนุษย์ซึ่งเกิดขึ้นโดยธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์ได้ทำขึ้น | นักสิ่งแวดล้อม | (n) environmentalist, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่ใฝ่ใจในการรักษาสิ่งแวดล้อม | คุณภาพสิ่งแวดล้อม | (n) quality of environment, Example: กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเร่งเดินเครื่องเต็มที่ในการวางแผนส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระยะยาว, Thai Definition: ลักษณะของสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวมนุษย์ ทั้งทางกายภาพและชีวภาพ ซึ่งเกิดขึ้นโดยธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์ได้ทำขึ้น | สิ่งแวดล้อมทางสังคม | (n) social environment, Syn. สภาพแวดล้อมทางสังคม, Example: เด็ก 2 คนมีนิสัยต่างกัน เพราะมีสิ่งแวดล้อมทางสังคมที่แตกต่างกัน, Thai Definition: สภาพความเป็นอยู่อันได้แก่สิ่งต่างๆ ที่มีลักษณะทางกายภาพและชีวภาพที่อยู่รอบตัวมนุษย์ในสังคม | กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม | (n) Department of Environmental Quality Promotion, Count Unit: กรม | สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ | (n) Office of the National Environment Board, Syn. สวล., Example: สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ กล่าวกับ “สารคดี” ถึงแหล่งที่อาจก่อให้เกิดฝนกรด | กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม | (n) Ministry of Science Technology and Environment, Count Unit: กระทรวง |
| วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม | น. ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การพลังงาน การควบคุมรักษาสภาพสิ่งแวดล้อม และการวิจัย. | สิ่งแวดล้อม | น. สิ่งต่าง ๆ ทั้งทางธรรมชาติและทางสังคมที่อยู่รอบ ๆ มนุษย์มีทั้งที่ดีและไม่ดี เช่น โรงเรียนสร้างสวนดอกไม้ให้เป็นสิ่งแวดล้อมที่ดีแก่นักเรียน ชุมชนที่มีการทะเลาะวิวาทกันหรือเล่นการพนันเป็นสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดีแก่เด็ก. | ก่อการร้าย | น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำก่อให้เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงต่อบุคคล ต่อทรัพย์สินอันเป็นสาธารณะ หรือต่อทรัพย์สินของรัฐหนึ่งรัฐใด หรือของบุคคลใดหรือต่อสิ่งแวดล้อมอันก่อให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจอย่างสำคัญ โดยผู้กระทำมุ่งหมายเพื่อขู่เข็ญหรือบังคับรัฐบาลไทย รัฐบาลต่างประเทศ หรือองค์การระหว่างประเทศ ให้กระทำหรือไม่กระทำการใดอันจะก่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรง หรือเพื่อสร้างความปั่นป่วนโดยให้เกิดความหวาดกลัวในหมู่ประชาชน แต่ทั้งนี้ไม่รวมถึงการใช้เสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ. | กังหันน้ำชัยพัฒนา | น. ชื่อเครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้ำหมุนช้าแบบทุ่นลอยแบบหนึ่ง เป็นอุปกรณ์บำบัดน้ำเสียชนิดหนึ่ง มีลักษณะการทำงานคล้ายกังหันวิดน้ำขึ้นเหนือผิวน้ำเพื่อเติมอากาศหรือออกซิเจนในแหล่งน้ำ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาและประดิษฐ์อุปกรณ์เติมอากาศขึ้นแล้วทรงมอบหมายมูลนิธิชัยพัฒนา ศึกษาวิจัยเพื่อทำต้นแบบพร้อมสนับสนุนงบประมาณให้กรมชลประทานสร้าง นำไปใช้งานตามแหล่งน้ำเสียทั่วประเทศ กรมทรัพย์สินทางปัญญาได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายการจดสิทธิบัตรการประดิษฐ์เลขที่ ๓๑๒๗ และองค์กรนักประดิษฐ์โลกจากประเทศเบลเยียมได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายรางวัลในฐานะที่ทรงสร้างนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อการรักษาสิ่งแวดล้อม. | ความรู้สึกด้อย | น. ความรู้สึกว่าตนเองมีความสามารถไม่เท่าเทียมบุคคลทั่วไป ความรู้สึกนี้ไม่จำเป็นจะต้องอยู่ในจิตใต้สำนึกและผู้นั้นไม่จำเป็นต้องมีปมด้อย อาจเกิดขึ้นในสิ่งแวดล้อมหรือในบางขณะเท่านั้น แต่ถ้าเกิดขึ้นเสมอ ๆ และมิได้แก้ไข ก็อาจเก็บกดไว้จนเกิดเป็นปมด้อยได้ | คหกรรมศาสตร์ | (คะหะกำมะสาด) น. วิชาที่เกี่ยวข้องกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปะ โดยมุ่งพัฒนาครอบครัวด้วยการจัดการทรัพยากรบุคคล วัสดุและสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาอาชีพและเสริมสร้างคุณภาพชีวิต ความมั่นคงของสถาบันครอบครัวและสังคม. | ท่ามกลาง | น. ที่ซึ่งอยู่ระหว่างกลางสิ่งแวดล้อม เช่น อยู่ในท่ามกลางประชาชน. | ท่ามกลาง | ว. ระหว่างกลางสิ่งแวดล้อม เช่น อยู่ท่ามกลางอันตราย. | นิเวศวิทยา | (นิเวดสะวิดทะยา, นิเวดวิดทะยา) น. วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับถิ่นที่อยู่และสิ่งแวดล้อม | นิเวศวิทยา | การศึกษาเกี่ยวกับการดัดแปลงวัฒนธรรมของมนุษย์ให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม. | บริภัณฑ์ ๑ | (บอริพัน) น. วง, สิ่งแวดล้อม | ภูมิศาสตร์ | (พูมิ-) น. วิชาที่ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติกับสังคมที่ปรากฏในดินแดนต่าง ๆ ของโลก. | มลพิษ | (มนละพิด) น. พิษเกิดจากความมัวหมองหรือความสกปรกของสิ่งแวดล้อม เช่นในอากาศหรือในน้ำเป็นต้น. | แวดล้อม | ว. ที่ห้อมล้อม, ที่อยู่โดยรอบ, เช่น สิ่งแวดล้อม ภาวะแวดล้อม. | สถานพินิจ | น.เป็นคำย่อ ใช้เรียกสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ซึ่งเป็นหน่วยงานในกระทรวงยุติธรรม ทำหน้าที่เกี่ยวกับการคุ้มครองเด็กและเยาวชน เช่น สืบเสาะเรื่องราวบุคคล และสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับเด็กหรือเยาวชนซึ่งต้องหาว่ากระทำความผิด ควบคุมและฝึกอบรมเด็กและเยาวชน . | สปอร์ | น. หน่วยขยายพันธุ์ขนาดเล็ก ทำหน้าที่คล้ายเมล็ดพืชแต่ไม่มีเอ็มบริโอ เมื่อสิ่งแวดล้อมเหมาะสมจะเจริญเป็นต้นใหม่ได้. |
| | Environmental engineering | วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Ecodesign | การออกแบบเพื่อสิ่งแวดล้อม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Global environmental change | การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมโลก [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Environmental economics | เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม [เศรษฐศาสตร์] | Environmental health | อนามัยสิ่งแวดล้อม [เศรษฐศาสตร์] | Environmental law | กฎหมายสิ่งแวดล้อม [เศรษฐศาสตร์] | Environmental impact analysis | การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Background radiation | รังสีพื้นหลัง, รังสีจากสิ่งแวดล้อมซึ่งมีที่มาจากหลายแหล่ง เช่น รังสีคอสมิกจากอวกาศ รังสีจากสารกัมมันตรังสีตามธรรมชาติที่มีอยู่ในดิน น้ำ อากาศ อาหาร รวมทั้งที่มีอยู่ในร่างกายมนุษย์ (ดู natural exposure ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Chronic exposure | การรับรังสีต่อเนื่อง, การรับรังสีเป็นเวลานาน เช่น การรับรังสีจากนิวไคลด์กัมมันตรังสีที่มีอายุยาวในธรรมชาติหรือสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่องเป็นเวลาหลายปี [นิวเคลียร์] | Confinement | สิ่งกักกั้น, สิ่งที่สร้างขึ้นล้อมอุปกรณ์หลักของโรงงานนิวเคลียร์ เพื่อป้องกันหรือบรรเทาการปล่อยวัสดุกัมมันตรังสีออกสู่สิ่งแวดล้อมในสภาวะการทำงานปกติหรือกรณีเกิดอุบัติเหตุ เช่น บ่อน้ำแกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ (ดู containment ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Containment | อาคารคลุมเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์, อาคารหรือสิ่งก่อสร้างชั้นนอกที่ออกแบบให้มีความแข็งแรงเป็นพิเศษเพื่อป้องกันเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์จากอุบัติภัยภายนอก และเพื่อไม่ให้สารกัมมันตรังสีแพร่กระจายออกสู่สิ่งแวดล้อมกรณีเกิดอุบัติเหตุภายในอาคารหรือสิ่งกักกั้นชำรุดหรือเสียหาย [นิวเคลียร์] | Decommissioning | การเลิกดำเนินงาน, กระบวนการด้านบริหารจัดการและด้านเทคนิค เพื่อยกเลิกการควบคุมโรงงานนิวเคลียร์บางส่วนหรือทั้งหมด เนื่องจากไม่มีการใช้งานอีกต่อไป โดยต้องให้มีความปลอดภัยต่อสาธารณชนและสิ่งแวดล้อมในระยะยาว รวมถึงการลดปริมาณนิวไคลด์กัมมันตรังสีที่ตกค้างอยู่ตามวัสดุและสถานที่ต่างๆ หลังจากเลิกดำเนินงาน วัสดุบางส่วนสามารถนำกลับมาแปรใช้ใหม่ ใช้ซ้ำ หรือจัดเก็บเป็นกากกัมมันตรังสี ส่วนสถานที่ก็สามารถใช้ประโยชน์ด้านอื่นได้ (ดู commissioning ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Disposal, waste | การขจัดกากกัมมันตรังสี, การดำเนินการเก็บกากกัมมันตรังสีไว้ในสถานที่ที่เหมาะสม โดยไม่มีการนำกลับมาใช้งานอีก รวมถึงการระบายน้ำและแก๊สจากสถานปฏิบัติการทางรังสีออกสู่สิ่งแวดล้อม ซึ่งต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดโดยคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ (ดู radioactive discharge ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Environmental monitoring | การเฝ้าสังเกตสิ่งแวดล้อม, การเฝ้าสังเกตปริมาณรังสี และความเข้มข้นของนิวไคลด์กัมมันตรังสีในตัวอย่างจากสิ่งแวดล้อมภายนอกสถานปฏิบัติการทางรังสี [นิวเคลียร์] | Waste storage | การเก็บรักษากากกัมมันตรังสี, การเก็บรักษากากกัมมันตรังสีไว้ในสถานที่จัดเก็บที่เหมาะสม เพื่อความปลอดภัยต่อประชาชนและสิ่งแวดล้อม โดยจัดเก็บอย่างเป็นหมวดหมู่และเป็นระเบียบ มีการจำกัดเขต ติดป้ายแสดงสถานที่และระดับรังสีอย่างชัดเจน ผนังของสถานที่จัดเก็บมีความหนาเพียงพอต่อการกำบังรังสีให้อยู่ในเกณฑ์ปลอดภัย และอากาศถ่ายเทสะดวก [นิวเคลียร์] | Waste disposal | การขจัดกากกัมมันตรังสี, การดำเนินการเก็บกากกัมมันตรังสีไว้ในสถานที่ที่เหมาะสม โดยไม่มีการนำกลับมาใช้งานอีก รวมถึงการระบายน้ำและแก๊สจากสถานปฏิบัติการทางรังสีออกสู่สิ่งแวดล้อม ซึ่งต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดโดยคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ (ดู radioactive discharge ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Storage, waste | การเก็บรักษากากกัมมันตรังสี, การเก็บรักษากากกัมมันตรังสีไว้ในสถานที่จัดเก็บที่เหมาะสม เพื่อความปลอดภัยต่อประชาชนและสิ่งแวดล้อม โดยจัดเก็บอย่างเป็นหมวดหมู่และเป็นระเบียบ มีการจำกัดเขต ติดป้ายแสดงสถานที่และระดับรังสีอย่างชัดเจน ผนังของสถานที่จัดเก็บมีความหนาเพียงพอต่อการกำบังรังสีให้อยู่ในเกณฑ์ปลอดภัย และอากาศถ่ายเทสะดวก, Example: [นิวเคลียร์] | Sterile Insect Technique | เทคนิคการใช้แมลงที่เป็นหมัน, เอสไอที, การควบคุมประชากรแมลงโดยปล่อยแมลงชนิดเดียวกันที่ทำให้เป็นหมันด้วยรังสีไปในธรรมชาติ จำนวนมากต่อเนื่องกันหลายรุ่น เมื่อแมลงตัวเมียผสมพันธุ์กับแมลงตัวผู้ที่เป็นหมันจะไม่สามารถแพร่พันธุ์ต่อไปได้ ซึ่งทำให้ประชากรแมลงค่อยๆ ลดลง วิธีการนี้ ไม่ทำลายแมลงที่เป็นประโยชน์ และไม่มีสารพิษตกค้างในสิ่งแวดล้อม [นิวเคลียร์] | Source monitoring | การเฝ้าสังเกตต้นกำเนิดรังสี, การตรวจติดตามกัมมันตภาพที่ปลดปล่อยจากวัสดุกัมมันตรังสีสู่สิ่งแวดล้อม หรืออัตราปริมาณรังสีจากต้นกำเนิดรังสีในสถานปฏิบัติการ, Example: [นิวเคลียร์] | Reactor containment | อาคารคลุมเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์, อาคารหรือสิ่งก่อสร้างชั้นนอกที่ออกแบบให้มีความแข็งแรงเป็นพิเศษเพื่อ ป้องกันเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์จากอุบัติภัยภายนอก และเพื่อไม่ให้สารกัมมันตรังสีแพร่กระจายออกสู่สิ่งแวดล้อมกรณีเกิด อุบัติเหตุภายในอาคารหรือสิ่งกักกั้นชำรุดหรือเสียหาย [นิวเคลียร์] | Radioactive discharge | การระบายสิ่งเจือปนสารกัมมันตรังสี, การระบายแก๊สหรือของเหลวที่เจือปนสารกัมมันตรังสีออกสู่สิ่งแวดล้อม โดยมีแผนงานและการควบคุมตามเกณฑ์ที่กำหนดโดยคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ <br>(ดู disposal, waste ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] | Radiation safety | ความปลอดภัยจากรังสี, การป้องกันหรือลดอุบัติเหตุต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นจากต้นกำเนิดรังสี หรืออุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น โดยมีมาตรการบรรเทาผลแก่ผู้ปฏิบัติงานทางรังสี ประชาชน และสิ่งแวดล้อมภายหลังจากที่เกิดเหตุขึ้น, Example: [นิวเคลียร์] | Environmental quality | คุณภาพสิ่งแวดล้อม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Nuclear safety | ความปลอดภัยทางนิวเคลียร์, มาตรการสำหรับป้องกันหรือลดอุบัติเหตุที่จะเกิดจากสถานปฏิบัติการ หรือกิจกรรมที่ก่อให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ รวมทั้งมาตรการบรรเทาผลกระทบที่เกิดขึ้นแก่ผู้ปฏิบัติงาน ประชาชน และสิ่งแวดล้อม ภายหลังเกิดอุบัติเหตุ, Example: [นิวเคลียร์] | Nuclear accident | อุบัติเหตุนิวเคลียร์, เหตุการณ์ใดๆ ที่เกิดขึ้นในโรงงานนิวเคลียร์โดยไม่เจตนา รวมถึงความผิดพลาดที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินกิจกรรมทางนิวเคลียร์ หรือของอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับระบบความปลอดภัย ทำให้มีการปลดปล่อย หรือ เกือบมีการปลดปล่อยสารกัมมันตรังสี ออกสู่สิ่งแวดล้อม (ดู INES ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Monitoring | การเฝ้าสังเกต, การเฝ้าสังเกตปริมาณรังสี หรือ การเปื้อนของสารกัมมันตรังสีจากการตรวจวัด เพื่อประเมินหรือควบคุมการรับรังสี แบ่งเป็น 2 แบบ คือ <br>1. การเฝ้าสังเกตตามจุดตรวจ ได้แก่ การเฝ้าสังเกตตามรายบุคคล สถานที่ปฏิบัติการ ต้นกำเนิดรังสี และสิ่งแวดล้อม</br> <br>2. การเฝ้าสังเกตตามความมุ่งหมาย ได้แก่ การเฝ้าสังเกตเป็นประจำ หรือตามภารกิจที่เกี่ยวข้อง หรือเป็นกรณีพิเศษ</br> [นิวเคลียร์] | Environmental technology | เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Environmental geology | ธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Environmentalist | นักสิ่งแวดล้อม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Geo-Informatics | ระบบภูมิสารสนเทศ, ระบบภูมิสารสนเทศ เป็นเทคโนโลยีที่รู้จักกันมากขึ้น สำหรับ หน่วยงาน หรือองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการ และติดตามทรัพยากรสิ่งแวดล้อม เช่น ทรัพยากร ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ หรือทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้น ระบบภูมิสารสนเทศได้เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีต่างๆ ได้แก่ การรับรู้จากระยะไกล (Remote sensing) ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก (GPS - Global Positioning System) และระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS - Geographic information Systems ) [Assistive Technology] | Geomatics | ระบบภูมิสารสนเทศ, ระบบภูมิสารสนเทศ เป็นเทคโนโลยีที่รู้จักกันมากขึ้น สำหรับ หน่วยงาน หรือองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการ และติดตามทรัพยากรสิ่งแวดล้อม เช่น ทรัพยากร ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ หรือทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้น ระบบภูมิสารสนเทศได้เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีต่างๆ ได้แก่ การรับรู้จากระยะไกล (Remote sensing) ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก (GPS - Global Positioning System) และระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS - Geographic information Systems ) [Assistive Technology] | Work Environment | สิ่งแวดล้อมในที่ทำงาน [TU Subject Heading] | Environment | สิ่งแวดล้อม, Example: สิ่งต่างๆ ที่มีลักษณะทางกายภาพและชีวภาพที่อยู่รอบตัวมนุษย์ ซึ่งเกิดขึ้นโดยธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์ได้ทำขึ้น [สิ่งแวดล้อม] | Environmental quality standards | มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม, Example: ค่ามาตรฐานคุณภาพน้ำ อากาศ เสียงและสภาวะอื่นๆของสิ่งแวดล้อมซึ่งกำหนดเป็นเกณฑ์ทั่วไปสำหรับการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม [สิ่งแวดล้อม] | ISO 14000 | มาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม, Example: มาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม ในฐานะที่เป็นบรรทัดฐานสำหรับแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมทั่วโลก โดยให้ ISO 14000 อยู่ในความดูแลรับผิดชอบขององค์การระหว่างประเทศ ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐาน (International Organization for Standardization : ISO) ซึ่งมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ [สิ่งแวดล้อม] | Environmental quality | คุณภาพสิ่งแวดล้อม, Example: ดุลยภาพของธรรมชาติ อันได้แก่ สัตว์ พืช และทรัพยากรธรรมชาติ ต่างๆและสิ่งที่มนุษย์ได้ทำขึ้น ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ต่อการดำรงชีพของประชาชนและความสมบูรณ์สืบไปของมนุษย์ชาติ [สิ่งแวดล้อม] | Carcinogens, Environmental | สารก่อมะเร็งในสิ่งแวดล้อม [TU Subject Heading] | College environment | สิ่งแวดล้อมในสถาบันอุดมศึกษา [TU Subject Heading] | Convention on Access to Information, Public Participation in Decision-making, and Access to Justice in Environmental Matters | อนุสัญญาว่าด้วยการเข้าถึงข้อมูล การมีส่วนร่วมของสาธารณะชนในการตัดสินใจ และการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมในเรื่องสิ่งแวดล้อม (ค.ศ. 1, อนุสัญญาว่าด้วยการเข้าถึงข้อมูล การมีส่วนร่วมของสาธารณะชนในการตัดสินใจ และการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมในเรื่องสิ่งแวดล้อม (ค.ศ. 1998) [TU Subject Heading] | Eco-labeling | ฉลากสิ่งแวดล้อม [TU Subject Heading] | Effect of environment on | ผลกระทบของสิ่งแวดล้อม [TU Subject Heading] | Environment (Aesthetics) | สิ่งแวดล้อม (สุนทรียศาสตร์) [TU Subject Heading] | Environment and children | สิ่งแวดล้อมกับเด็ก [TU Subject Heading] | Environmental agencies | หน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อม [TU Subject Heading] | Environmental aspects | แง่สิ่งแวดล้อม [TU Subject Heading] | Environmental auditing | การตรวจสอบสิ่งแวดล้อม [TU Subject Heading] | Environmental conditions | ภาวะสิ่งแวดล้อม [TU Subject Heading] | Environmental degradation | การเสื่อมโทรมของคุณภาพสิ่งแวดล้อม [TU Subject Heading] | Environmental economics | เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม [TU Subject Heading] | Environmental education | สิ่งแวดล้อมศึกษา [TU Subject Heading] |
| ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม | [chīwit kap singwaētløm] (n, exp) EN: human being and environment | จิตวิทยาสิ่งแวดล้อม | [jittawitthayā singwaētløm] (n, exp) EN: environmental psychology FR: psychologie environnementale [ f ] | การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม | [kān anurak singwaētløm] (n, exp) EN: environment conservation FR: protection de l'environnement [ f ] | การคุ้มครองสิ่งแวดล้อม | [kān khumkhrøng singwaētløm] (n, exp) EN: environment protection FR: protection de l'environnement [ f ] | การรับรองระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม | [kān raprøng rabop kān jatkān singwaētlom] (n, exp) EN: Environmental Management System FR: système de management environnemental [ m ] | คุณภาพสิ่งแวดล้อม | [khunnaphāp singwaētløm] (n, exp) EN: quality of environment FR: qualité de l'environnement [ f ] | กฎหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม | [kotmāi kīokap singwaētløm] (n, exp) EN: environmental law | กฎหมายสิ่งแวดล้อม | [kotmāi singwaētløm] (n, exp) FR: législation environnementale [ f ] | กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม | [Krasūang Sapphayākøn Thammachāt lae Singwaētløm] (org) EN: Ministry of Natural Ressources and Environment FR: ministère des Ressources naturelles et de l'Environnement [ m ] | กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม | [Krasūang Witthayāsāt Thēknōlōyī lae Singwaētløm] (org) EN: Ministry of Science Technology and Environment | นักสิ่งแวดล้อม | [nak singwaētløm] (n, exp) EN: environmentalist FR: environnementaliste [ m ] | ปัญหาสิ่งแวดล้อม | [panhā singwaētløm] (n, exp) EN: environmental problems FR: problème environnemental [ m ] | เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม | [pen mit kap singwaētløm] (adj) EN: eco-friendly ; environment-friendly ; environmentally-friendly ; non-polluting ; ecologically sound | สิ่งแวดล้อม | [singwaētløm] (n) EN: environment ; surroundings FR: environnement [ m ] | สิ่งแวดล้อม | [singwaētløm] (n) EN: conditions ; circumstances FR: circonstances [ fpl ] | สิ่งแวดล้อมทางสังคม | [singwaētløm thāng sangkhom] (n, exp) EN: social environment FR: environnement social [ m ] | สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ | [singwaētløm thāng thammachāt] (n, exp) EN: natural environment FR: environnement naturel [ m ] |
| effluent | (n) ของเสียที่ปล่อยออกมา เช่นจากโรงงาน ออกไปสู่สิ่งแวดล้อม | environment | (n) สิ่งแวดล้อม | tributyltin | (n, name) สารประกอบเคมีชนิดหนึ่งที่ใช้ผสมในสีทาใต้ท้องเรือกันเพรียงเรือและสาหร่ายต่างๆมาเกาะ แต่สารนี้เป็นอันตรายต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม | UNEP | (abbrev) ย่อมาจาก United Nations Environment Programme หมายถึง องค์การควบคุมสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ | EPA | (n) องค์การพิทักษ์สิ่งแวดล้อม, Syn. Environmental Protection Agency | homoeopathy | [โฮมีโอพาธี] (n) การบำบัดแบบโฮมีโอพาธีมีแนวคิดหรือปรัชญาพื้นฐานในการทำความเข้าใจร่างกายมนุษย์ที่แตกต่างจากระบบการแพทย์แผนปัจจุบันโดยสิ้นเชิง การมองร่างกายและจิตใจของ ผู้ป่วยจะไม่ได้มองเป็นอวัยวะที่แยกส่วนออกจากกัน แต่จะมองร่างกายและจิตใจของผู้ป่วยเป็นภาพรวมเดียวกัน ดังนั้นก่อนที่จะบำบัดผู้ป่วยจะต้องมีการสัมภาษณ์และคุยกับผู้ป่วยในเรื่องของลักษณะทั่วไป บุคลิกภาพ ประวัติทางการแพทย์ของครอบครัว อารมณ์ ความรู้สึกส่วนบุคคลต่อสิ่งแวดล้อม อาหาร อากาศ ฯลฯ รวมทั้งอาการของโรคด้วย นักบำบัด (practitioner) จะต้องนำคำตอบทั้งหมดมาประมวลและสรุปเป็นภาพรวมโดยเรียกว่า “ภาพของอาการ” (symtom picture)ดังนั้นการประเมินประสิทธิภาพของการบำบัดจึงไม่ควรใช้กรอบและแนวคิดของระบบการแพทย์แผนปัจจุบันประเมินแต่เพียงอย่างเดียว ควรมีการศึกษาและทำความเข้าใจแนวคิดพื้นฐานของการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีด้วย โดยสรุปแล้วการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีจัดเป็นศาสตร์การรักษาสุขภาพแบบองค์รวมที่เน้นเรื่องการปรับสมดุลสารชีวเคมีและพลังไหลเวียนภายในร่างกาย การให้ยาเป็นไปเพียงเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายเกิดการปรับสมดุลด้วยกลไกตามธรรมชาติของร่างกายเอง ไม่ได้มุ่งหมายให้ยาไปขจัดหรือทำลายกลไกของร่างกายหรือสารที่ก่อให้เกิดอาการป่วย รวมทั้งไม่ได้มุ่งหมายที่จะขจัดสิ่งมีชีวิตใด ๆ ออกจากร่างกายด้วย | Amyotrophic Lateral Sclerosis (ALS) | (n, name) โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ พยาธิสภาพของโรคเอแอลเอสอยู่ที่บริเวณแกนสมอง และไขสันหลัง ทำให้ผู้ป่วยมีกล้ามเนื้อแขนขา และลำตัวอ่อนแรง กลืนลำบาก และพูดไม่ชัด คำว่า “Amyotrophic” หมายถึง กล้ามเนื้ออ่อนแรง ฝ่อลีบและเต้นพลิ้ว (fasciculation) ส่วนคำว่า “Lateral sclerosis” หมายถึงรอยโรคในทางเดินของกระแสประสาทซึ่งควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในไขสันหลัง โรคเอแอลเอสพบน้อยมาก โดยพบได้เพียง 4 ถึง 6 ต่อประชากร 100, 000 คน และโอกาสที่จะพบผู้ป่วยรายใหม่มีเพียง 1.5 ถึง 2.5 ต่อประชากร 100, 000 คนต่อปี โรคนี้เป็นกับผู้ใหญ่วัยใดก็ได้ แต่จะพบบ่อยขึ้นตามอายุ อายุเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 65 ปี โดยมักเป็นในเพศชายมากกว่าเพศหญิง จนถึงปัจจุบัน ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าโรคเอแอลเอสเกิดขึ้นได้อย่างไร ผู้ป่วยราวร้อยละ 5 (โดยเฉพาะผู้ป่วยอายุน้อย) อาจมีประวัติโรคนี้ในครอบครัว สิ่งแวดล้อมหรือสารพิษบางชนิด อาจมีผลกับการเกิดโรคนี้ เนื่องจากพบว่าในบางพื้นที่ของโลก เช่นที่เกาะกวม พบโรคนี้มากกว่าที่อื่น นอกจากนั้นการศึกษาทางระบาดวิทยายังพบว่า นักกีฬาบางประเภท โดยเฉพาะนักฟุตบอลอาชีพมีโอกาสเป็นโรคนี้สูงกว่าประชากรทั่วไป ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของโรคนี้อาจเกิดจาก กลไกภูมิคุ้มกันต่อตนเองผิดปกติ (Autoimmune attack) หรือเกิดจากกลไกอนุมูลอิสระ (Free radicals) ทำลายเซลล์ประสาทของตนเอง ส่วนอีกทฤษฎีหนึ่งเชื่อว่า การเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทในสมองและไขสันหลังเกิดจากสารสื่อนำกระแสประสาท (neurotransmitter) ที่เรียกว่ากลูตาเมต (glutamate) กระตุ้นให้เกิดการทำลายเซลล์ (ข้อมูลจาก ผศ.นพ.รุ่งนิรันดร์ ประดิษฐสุวรรณ สาขาวิชาอายุรศาสตร์ปัจฉิมวัย : http://www.thonburihospital.com/th/tip_detail.asp?id=22 , http://www.inf.ku.ac.th/article/diag/520506/alsmnd.html) |
| ecocide | (n) การทำลายสิ่งแวดล้อมของคน | ecology | (n) นิเวศวิทยา, See also: การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม, สาขาสังคมวิทยาที่เกี่ยวกับความ, Syn. bionomics | ecosystem | (n) ระบบที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม | environment | (n) สภาพแวดล้อม, See also: สภาวะแวดล้อม, สิ่งแวดล้อม | environmentalist | (n) นักสิ่งแวดล้อม, See also: คนที่ทำงานด้านรักษาสิ่งแวดล้อม | greenhouse effect | (n) ภาวะเรือนกระจก, See also: ภาวะที่โลกมีอุณหภูมิสูงขึ้นเนื่องจากมลพิษจากสิ่งแวดล้อม | habitat | (n) สิ่งแวดล้อม, Syn. environment, surroundings | orientate oneself | (phrv) คุ้นเคยกับสิ่งแวดล้อม | medium | (n) สิ่งแวดล้อม, See also: สภาพแวดล้อม, Syn. environment, atmosphere, surroundings | misfit | (n) ผู้ที่ปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมไม่ได้, See also: คนแปลกแยก | eco warrior | (sl) นักประท้วงทางสิ่งแวดล้อม | scene | (n) ทิวทัศน์, See also: ทัศนียภาพ, สิ่งแวดล้อม, Syn. landscape, panorama, view | sphere | (n) สิ่งแวดล้อม, See also: สภาพแวดล้อม, Syn. atmosphere, background, environment | superfund | (n) งบประมาณใหญ่สำหรับดูแลสิ่งแวดล้อม | surroundings | (n) สภาพแวดล้อม, See also: สิ่งแวดล้อม, Syn. environment, circumstances, vicinity | ungreen | (adj) เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม, See also: ไม่ห่วงใยในสิ่งแวดล้อม | warm-blooded | (adj) (สัตว์) ที่มีอุณหภูมิคงที่, See also: ที่มีเลือดอุ่น, ที่มีอุณหภูมิไม่เปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิสิ่งแวดล้อม |
| adaptation | (แอดแดพเท' เชิน) n. การปรับตัว, การปรับให้เหมาะ, สิ่งที่ได้จากการปรับให้เหมาะ, ภาวะที่เหมาะสม, ฉบับแก้ไขปรับปรุง, สิ่งที่แก้ไขปรับปรุง, การปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม, การปรับตัวของรูม่านตา, Syn. version, adjustment, Ant. rigid | aerobiosis | (แอโรไบโอ' ซิส) n. ชีวิตในสิ่งแวดล้อมที่มีอากาศหรืออ็อกซิเจน -aerobiotically, adv. (life in an environment, containing air or oxygen) | ambience | (แอม' บิอันซ) n., (pl. -biences) สิ่งแวดล้อม, สภาพแวดล้อม., Syn. ambience | americanise | (อะเม' ริคะไนซ) vt., vi. ทำให้หรือกลายเป็นลักษณะของอเมริกา, ปรับตัวกับสิ่งแวดล้อมหรือประเพณีของอเมริกา. -Americanis (z) ation n., -Americanis (z) er n.. | americanize | (อะเม' ริคะไนซ) vt., vi. ทำให้หรือกลายเป็นลักษณะของอเมริกา, ปรับตัวกับสิ่งแวดล้อมหรือประเพณีของอเมริกา. -Americanis (z) ation n., -Americanis (z) er n.. | autecology | (ออทีคอส'โลจี) n. นิเวศวิทยาที่เกี่ยวกับเฉพาะตัวและสิ่งแวดล้อม. -autecologic (al) adj. (author authorized | condition | (คันดิช'เชิน) n. เงื่อนไข, สภาพ, สภาวะ, ฐานะ. vt. กำหนด, ตกลง, กำหนดเงื่อนไข, ทำให้ชินกับสิ่งแวดล้อม vi. กำหนดเงื่อนไข | context | (คอน'เทคซฺทฺ) n. คำอรรถาธิบาย, ตอนต้นหรือตอนต่อจากคำหรือถ้อยคำ, สิ่งแวดล้อม, See also: contextual adj. ดูcontext, Syn. circumstance -Conf. point | denizen | n. ผู้อาศัย, ผู้พำนัก, ชาวต่างด้าวที่ได้รับสิทธิบางอย่างของพลเมือง, สัตว์หรือพืชที่ปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมใหม่, Syn. inhabitant, Ant. outsider | deracinate | (ดิแรส'ซิเนท) vt. ถอนราก, ทำให้หมดสิ้น, แยกออกจากถิ่นเดิมหรือสิ่งแวดล้อมเดิม, See also: deracination n. | eco- | Pref."ครอบครัว", "บ้าน", "สิ่งแวดล้อม" | ecology | (อีคอล'โลจี) n. นิเวศวิทยา, สาขาสังคมวิทยาที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างคนกับสิ่งแวดล้อม, See also: ecologic, ecological adj. ecologist n., Syn. oecology | ecosystem n. | ระบบที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม | entourage | (อานทูราจฺ') n. คณะผู้ติดตาม, สิ่งแวดล้อม, Syn. companions | environment | (เอนไว'เรินเมินทฺ) n. สิ่งแวดล้อม, ภาวะสิ่งแวดล้อม, การโอบล้อม, ภาวะที่ถูกหุ้มห่อ, สิ่งที่หุ้มห่อ, See also: environmental adj. ดูenvironment, Syn. surroundings | extrovert | (เอคซฺ'โทรเวิร์ท) n. ผู้ชอบเอาใจใส่ต่อสิ่งภายนอก adj. เกี่ยวกับการชอบเอาใจใส่ต่อสิ่งภายนอกหรือสิ่งแวดล้อม | habitat | (แฮบ'บิแทท) n. ถิ่นที่อยู่ของพืชหรือสัตว์, สิ่งแวดล้อมของถิ่นที่อยู่ของพืชหรือสัตว์. ที่อยู่อาศัย, Syn. habitation | homeostasis | n. ภาวะสมดุลของสิ่งแวดล้อมภายใน, ภาวะสมดุลทางคุณสมบัติเคมีและฟิสิกส์ของเหลวในร่างกาย, See also: homeostatic adj. | in vitro | (อิน'วีโทร) ในหลอดแก้ว, ในสิ่งแวดล้อมที่ทำเทียมขึ้น, Syn. in glass | integration | (อันทะเกร'เชิน) n. การรวมกันเป็นก้อนหรือกลุ่ม, การผสมกัน, การปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม, สหศึกษา, การยกเลิกการศึกษาแบบแบ่งแยกผิว, Syn. unification, Ant. separation | medium | (มี'เดียม) n. สายกลาง, ภาวะที่อยู่ตรงกลาง, สิ่งที่อยู่ระหว่างกลาง, สื่อ, มัชฌิม, สิ่งที่แสงหรือเสียงผ่านไป, ที่อยู่สิ่งมีชีวิต, สิ่งแวดล้อม, วิธีการ, อาหารเพาะเชื้อ. adj. ซึ่งอยู่ระหว่างกลาง, เป็นสายกลาง pl. media, Syn. mean, means | milieu | (มิล'ยู') n. สิ่งแวดล้อม, สื่อ, ภาวะ, สภาพ pl. milieus, -milieux, Syn. environment | misfit | (มิส'ฟิท, มิสฟิท') n. เครื่องแต่งกายที่ผิดขนาด, ผู้ที่ไม่สามารถปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ถูกต้อง, Syn. nonconformist | naturalise | (แนช'เชอเริลไลซ) v. ให้สัญชาติ, โอนสัญชาติ, ปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม, See also: naturalisation n. naturalization n. | naturalisze | (แนช'เชอเริลไลซ) v. ให้สัญชาติ, โอนสัญชาติ, ปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม, See also: naturalisation n. naturalization n. | pliable | (ไพล'อะเบิล) adj. งอได้, ดัดง่าย, ยืดหยุ่น, เชื่อง่าย, ว่าง่าย, ออน, อ่อนโยน, นิ่มนวล, ปรับให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมได้., See also: pliability n., Syn. flexible, supple | precinct | (พรี'ซิงทฺ) n. ขอบเขต, บริเวณ, เขตแบ่ง, เขตปกครอง, เขตควบคุม, อาณาเขต, สิ่งแวดล้อม | purlieu | (เพอ'ลู) n. ที่ดินตามชายป่า, บริเวณรอบนอก. purlieus สิ่งแวดล้อม, ละแวกใกล้เคียง, เขตสกปรกของเมือง, Syn. outskirts | relict | (เรล'ลิคทฺ) n. พืชหรือสัตว์ที่อาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไปเป็นไม่เหมาะสม, ส่วนที่เหลือ, ซากสัตว์หรือพืช, แม่หม้าย, Syn. remnant | scene | (ซีน) n. ฉาก, เวที, ภาพ, เหตุการณ์, สถานที่เกิดเหตุ, (ละคร) บทหนึ่ง, (ภาพยนตร์) ตอนหนึ่ง, เรื่องราว, อุปกรณ์ประกอบฉาก, สิ่งแวดล้อม, ทัศนียภาพ, ภาพภูมิประเทศ, -Phr. (behind the scenes ส่วนตัว, เป็นความลับ), Syn. view, landscape, setting, display, s | scenery | (ซี'เนอรี) n. ทิวทัศน์, ทัศนียภาพ, ภาพภูมิประเทศ, ฉากทั้งหลาย, สิ่งแวดล้อม | schizophrenia | (สคิส'โซฟรี'เนีย) n. โรคจิตที่สำคัญที่สุด มีอาการขาดการติดต่อกับสิ่งแวดล้อมหรือมีบุคลิกภาพที่แตกแยก, โรคจิตเภท., See also: schizophrenic adj., Syn. dementia praecox | sphere | (สเฟียร์) n. รูปทรงกลม, รูปกลม, สิ่งที่เป็นรูปวงกลม, ดาวนพเคราะห์, ดาวฤกษ์, ระบบจักรวาล, ปริมณฑล, อาณาเขต, อาณาจักร, สิ่งแวดล้อม, บริเวณ, ขอบเขตความรู้, วง, วงอิทธิพล. vt. ล้อมรอบ, เป็นรูปวงกลม., Syn. ball, globe, scope, position | surrounding | (ซะเรา'ดิง) n. สิ่งแวดล้อม adj. โอบล้อม, ล้อมรอบ, แวดล้อม, See also: surroundings n., pl. สภาพแวดล้อม, การแวดล้อม, การอ้อมล้อม. |
| context | (n) ปริบท, บทความ, ท้องเรื่อง, อรรถาธิบาย, สิ่งแวดล้อม | environment | (n) สิ่งแวดล้อม, สภาพแวดล้อม, ภาวะแวดล้อม, การโอบล้อม | surroundings | (n) เครื่องแวดล้อม, สภาพแวดล้อม, สิ่งแวดล้อม |
| Anthropocene | [อันโธรพะซีน] (adv) เกี่ยวกับหรือหมายถึงยุคสมัยในทางธรณีวิทยาที่ซึ่งการกระทำของมนุษย์มีอิทธิพลมากที่สุดต่อสภาพอากาศและสิ่งแวดล้อม | environmental | (adj) เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม | environmental science | (n) วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม | geosocial | (n) ภูมิสังคม หมายถึง ความแตกต่างของแต่ละพื้นที่ ทั้งทางด้านภูมิศาสตร์ สิ่งแวดล้อม ชีวภาพ วีถีชีวิต ประเพณี ขนบธรรมเนียมและวัฒนธรรม | Inclusive Education | (n) การศึกษาแบบเรียนร่วม การจัดการศึกษาให้กับกลุ่มบุคคลที่มีความต้องการพิเศษ เช่น คนพิการ คนด้อยโอกาส คนไร้สัญชาติ คนอพยพ โดยคำนึงถึงการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ในโรงเรียน หรือระบบการศึกษาแบบปกติ มีจุดมุงหมายเพื่อสร้างความเข้าใจ และการยอมรับความแตกต่าง ความสามารถระหว่างบุคคล เพื่อให้ผู้เรียนค้นพบศักยภาพของตนเอง และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างปกติสุข | oceanography | [โอ-เชีย-นอ-กราฟ-ฟี] (n) “สมุทรศาสตร์” เป็นสาขาวิชาหนึ่งของวิทยาศาสตร์โลก (Earth science) ที่ศึกษาเกี่ยวกับมหาสมุทรในหัวข้อต่างๆ ที่รวมทั้งสิ่งมีชีวิตในมหาสมุทร, ระบบการหมุนเวียนของสิ่งแวดล้อม, กระแสคลื่นในมหาสมุทร, พฤติกรรมของคลื่น, แผ่นเปลือกโลกที่ก้นมหาสมุทร, ธรณีวิทยาของก้นมหาสมุทร, และความผันผวนของสารเคมีและลักษณะทางฟิสิคส์ของทั้งมหาสมุทรและบริเวณรอบข้าง (ข้อมูลจาก wikipedia.org) | terrarium | (n) ธรรมชาติจำลองขนาดเล็กที่สร้างขึ้น ในพื้นที่สิ่งแวดล้อมจำลอง ที่สามารถพึ่งพากันในระบบนั้นๆได้ |
| 環境 | [かんきょう, kankyou] (n) สิ่งแวดล้อม |
| 風景 | [ふうけい, fuukei] (n) (ซี'เนอรี) n. ทิวทัศน์, ทัศนียภาพ, ภาพภูมิประเทศ, ฉากทั้งหลาย, สิ่งแวดล้อม |
| erhalten | (vt) |erhält, erhielt, hat erhalten| รักษาไว้ เช่น In Deutschland ist die Umwelt gut erhalten. ที่เยอรมนีสิ่งแวดล้อมถูกรักษาไว้อย่างดี | Umwelt | (n) |die, nur Sg.| สิ่งแวดล้อม, See also: die Umgebung |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |