ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

*นายจ้าง*

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: นายจ้าง, -นายจ้าง-
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


Longdo Dictionary ภาษา ไทย (TH) - ไทย (TH) (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
sweetheart contract[สวีทฮ็าร์ต คอนแทร์คท์] (phrase) หากแปลกันตรงๆ คือ "สัญญารัก" ในเนื้อหาชองสิทธิการจ้างงาน สามารถอธิบายว่าป็นข้อตกลงระหว่างนายจ้างกับเจ้าพนักงานสหภาพแรงงานที่ซึ่งอำนวยผลประโยชน์ต่อทั้งสองฝ่ายบนค่าใช้จ่ายของพนักงาน In the context of employment rights, a sweetheart contract can describe a deal between an employer and trade union officials which benefits them both at the expense of employees.

Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
นายจ้าง(n) employer, See also: boss, Syn. เจ้านาย, นาย, Ant. ลูกจ้าง, Example: นายจ้างต้องกำหนดค่าจ้าง ค่าล่วงเวลาในวันหยุดให้แก่ลูกจ้างเท่าเทียมกัน, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้จ้างให้ผู้อื่นทำงานให้, ผู้จ้างทำการงาน

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
นายจ้างน. ผู้จ้างทำการงาน, คู่กับ ลูกจ้าง
นายจ้างบุคคลซึ่งตกลงว่าจ้างบุคคลอีกคนหนึ่งซึ่งเรียกว่า ลูกจ้าง ให้ทำงานให้และจะให้สินจ้างตลอดเวลาที่ทำงานให้นั้น.
กองทุนประกันสังคมน. กองทุนที่จัดตั้งขึ้นในสำนักงานประกันสังคม เพื่อเป็นทุนใช้จ่ายให้ผู้ประกันตนได้รับประโยชน์ทดแทน กองทุนนี้มีทรัพย์สินส่วนใหญ่ประกอบด้วยเงินสมทบจากรัฐบาล นายจ้าง และผู้ประกันตน.
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพน. กองทุนที่ลูกจ้างและนายจ้างร่วมกันจัดตั้งขึ้นโดยมีทรัพย์สินส่วนใหญ่ประกอบด้วยเงินที่ลูกจ้างจ่ายสะสม และเงินที่นายจ้างจ่ายสมทบ เพื่อเป็นหลักประกันแก่ลูกจ้างในกรณีที่ลูกจ้างตายหรือออกจากงาน.
การิตการก(การิดตะ-) น. ผู้ถูกใช้ให้ทำ, เป็นประธานของประโยค เรียงไว้หน้ากริยา “ถูก-ให้” เช่น คนงานถูกนายจ้างให้ทำงานทั้งกลางวันและกลางคืน, ถ้ามิได้เป็นประธานก็เรียงไว้หลังบุรพบท “ยัง” หรือกริยานุเคราะห์ “ให้” เช่น นายจ้างยังลูกจ้างให้ทำงาน นายจ้างให้ลูกจ้างทำงาน.
การิตวาจก(การิดตะ-) ก. กริยาที่บอกว่าประธานเป็นการิตการกหรือผู้รับใช้, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทำหน้าที่เป็นการิตการก คือ เป็นผู้ถูกใช้ กริยาของการิตวาจกใช้กริยานุเคราะห์ “ถูก” “ถูก-ให้” หรือ “ถูกให้” เช่น ลูกจ้างถูกนายจ้างให้ทำงาน.
ข้อพิพาทแรงงานน. ข้อขัดแย้งระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างเกี่ยวกับสภาพการจ้าง.
ค่าจ้างน. เงินทุกประเภทและผลประโยชน์อย่างอื่นที่นายจ้างจ่ายหรือให้แก่ลูกจ้างเป็นค่าตอบแทนการทำงาน.
ค่าล่วงเวลาน. เงินที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างเป็นการตอบแทนการทำงานล่วงเวลาในวันทำงาน.
จ้าง ๒ก. ให้ทำงานหรือทำของโดยให้ค่าตอบแทน, ผู้ให้ทำงานเรียก นายจ้าง หรือ ผู้ว่าจ้าง, ผู้รับทำงานเรียก ลูกจ้าง หรือ ผู้รับจ้าง, ผู้ให้ทำของเรียก ผู้ว่าจ้าง, ผู้รับทำของเรียก ผู้รับจ้าง.
จ้างแรงงานน. ชื่อสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่า ลูกจ้าง ตกลงจะทำงานให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า นายจ้าง และนายจ้างตกลงจะให้สินจ้างตลอดเวลาที่ทำงานให้.
บุริมสิทธิสามัญน. บุริมสิทธิของเจ้าหนี้ผู้ทรงสิทธิเรียกร้องในมูลหนี้อย่างหนึ่งอย่างใดเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายเพื่อประโยชน์อันร่วมกัน ค่าปลงศพ ค่าภาษีอากร และเงินที่ลูกจ้างมีสิทธิได้รับเพื่อการงานที่ได้ทำให้แก่ลูกหนี้ซึ่งเป็นนายจ้าง ค่าเครื่องอุปโภคบริโภคอันจำเป็นประจำวัน ในอันที่จะได้รับชำระหนี้ที่ค้างชำระแก่ตนจากทรัพย์สินทั้งหมดของลูกหนี้.
ปิดงานน. การที่นายจ้างปฏิเสธไม่ยอมให้ลูกจ้างทำงานชั่วคราวเนื่องจากข้อพิพาทแรงงาน.
รับคำก. ให้สัญญา, ไม่ปฏิเสธ, ตอบตกลง, เช่น ลูกจ้างรับคำนายจ้าง, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคำ รับปาก เป็น รับปากรับคำ.
แรงงานสัมพันธ์น. ความสัมพันธ์ในด้านการจ้างงานระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างในเรื่องต่าง ๆ เกี่ยวกับการว่าจ้างทำงาน เช่น เงื่อนไขการจ้าง สภาพการทำงาน.
ลดตัวก. ถ่อมตัว, ไม่ถือตัว, เช่น ลูกจ้างนิยมนายจ้างที่ลดตัวมาเล่นหัวกับตน, ไม่ไว้ตัว เช่น เป็นผู้ใหญ่แล้วยังลดตัวไปทะเลาะกับเด็ก.
วินาศกรรม(วินาดสะกำ) น. การลอบทำลายหรือเผาผลาญทรัพย์สินโรงงานอุตสาหกรรมเป็นต้น ของนายจ้างหรือของศัตรู เช่น ในกรณีที่เกิดพิพาทกันขึ้นระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง หรือเพื่อตัดกำลังฝ่ายศัตรูเมื่อทำสงครามกันโดยตรงหรือโดยปริยาย.
ศาลแรงงานน. ศาลยุติธรรมชั้นต้นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้นเป็นการเฉพาะ มีอำนาจพิจารณาพิพากษาหรือมีคำสั่งในเรื่องที่เกี่ยวกับแรงงานระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง.
สภาพการจ้างน. หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการจ้างหรือการทำงาน กำหนดวันและเวลาทำงาน ค่าจ้าง สวัสดิการ การเลิกจ้าง หรือประโยชน์อื่นของนายจ้าง หรือลูกจ้าง อันเกี่ยวกับการจ้างหรือการทำงาน.
สหภาพแรงงานน. องค์การของลูกจ้างที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการแสวงหาและคุ้มครองผลประโยชน์เกี่ยวกับสภาพการจ้างและส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง และระหว่างลูกจ้างด้วยกัน.
สินจ้างค่าตอบแทนที่นายจ้างหรือผู้ว่าจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างหรือผู้รับจ้าง.

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
respondeat superior (L.)นายจ้างต้องรับผิดในการกระทำของลูกจ้าง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
agency shop agreementข้อตกลงร่วม (ระหว่างนายจ้างกับสหภาพแรงงาน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
common employmentความไม่ต้องรับผิดของนายจ้าง (ต่อความบาดเจ็บของลูกจ้างที่เกิดจากการกระทำผิดของลูกจ้างด้วยกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
collective agreementข้อตกลงร่วม (ระหว่างนายจ้างกับสหภาพแรงงาน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
collective bargainingการร่วมเจรจาต่อรอง (ระหว่างนายจ้างกับสหภาพแรงงาน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
employers' liabilityความรับผิดของนายจ้าง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
employerนายจ้าง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
employerนายจ้าง [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
employerนายจ้าง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
employer's associationสมาคมนายจ้าง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
employer's liability insuranceการประกันภัยความรับผิดของนายจ้าง [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
employers' dutiesหน้าที่ของนายจ้าง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
harbouring an employeeการจ้างลูกจ้างทั้งที่รู้ว่าเป็นผู้ทำผิดสัญญากับนายจ้างเดิม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
union contractสัญญาระหว่างสหภาพแรงงานกับนายจ้าง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Employerนายจ้าง [เศรษฐศาสตร์]
Employers organizationองค์การนายจ้าง [เศรษฐศาสตร์]
Employer attitude surveysการสำรวจทัศนคตินายจ้าง [TU Subject Heading]
Employer-supported day careสถานดูแลเด็กที่นายจ้างจัดบริการ [TU Subject Heading]
Employers associationsสมาคมนายจ้าง [TU Subject Heading]
Employers' liabilityความรับผิดของนายจ้าง [TU Subject Heading]
Employer Statusสถานภาพนายจ้าง, Example: เป็นการจำแนกประชากรที่ทำงานตามสถานภาพ การทำงาน ซึ่งจะแบ่งออกเป็นนายจ้างและลูกจ้าง [สิ่งแวดล้อม]
International Labor Organizationคือองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 11 เมษายน ปีค.ศ.1919 วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ การมีส่วนเกื้อกูลให้มีสันติภาพอันถาวร ด้วยการส่งเสริมให้มีความยุติธรรมในสังคม โดยต้องการให้ทุกประเทศปฏิบัติการปรับปรุงสภาวะแรงงาน ส่งเสริมมาตรฐานการครองชีพ พร้อมทั้งส่งเสริมเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสังคมให้ดีขึ้นการที่จะให้บรรลุ ตามวัตถุประสงค์เหล่านี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศจะจัดให้มีการประชุมเป็นประจำ ระหว่างฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายแรงงาน และฝ่ายจัดการ เพื่อเสนอแนะและจัดให้มีมาตรฐานระหว่างประเทศ ร่วมกันจัดร่างสัญญาแรงงานระหว่างประเทศเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ เช่น ค่าแรง ชั่วโมงทำงาน อายุการทำงาน เงื่อนไขการทำงานสำหรับคนงานในระดับต่าง ๆ ค่าชดเชยสำหรับคนงาน การประกันสังคม การหยุดพักร้อนโดยให้รับเงินเดือน ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม บริการต่าง ๆ ในหน้าที่การงาน การตรวจแรงงาน เสรีภาพในการคบหาสมาคมกัน และอื่น ๆ นอกจากนั้น องค์การยังได้ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการอย่างกว้างขวางแก่รัฐบาลของประเทศ สมาชิก รวมทั้งจัดพิมพ์เผยแพร่สิ่งพิมพ์หรือเอกสารรายคาบ เรื่องค้นคว้าและรายงานต่าง ๆ เกี่ยวกับปัญหาสังคม อุตสาหกรรม และแรงงานILO ปฏิบัติงานผ่านองค์กรต่าง ๆ โดยองค์กรสำคัญที่สุดภายในองค์การแรงงานระหว่างประเทศได้แก่ ที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ซึ่งประชุมกันเป็นประจำทุกปี ประกอบด้วยคณะผู้แทนแห่งชาติ ในจำนวนนี้มีผู้แทนจากฝ่ายรัฐบาล 2 คน ผู้แทนฝ่ายจัดการ 1 คน และผู้แทนฝ่ายแรงงานอีก 1 คน หน้าที่สำคัญคือจัดวางมาตรฐานทางสังคมระหว่างประเทศขึ้นในรูปของอนุสัญญา องค์กรภายในองค์การอีกส่วนหนึ่งคือคณะผู้ว่าการ (Governing Body) จะประกอบด้วย สมาชิก 40 คน ในจำนวนนี้ 20 คน จะเป็นตัวแทนของฝ่ายรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง 10 คน จากจำนวนนี้จะได้แก่ ตัวแทนจากประเทศอุตสาหกรรมใหญ่ ๆ ส่วนตัวแทนของฝ่ายจัดการ (หรือนายจ้าง) จะมีจำนวน 10 คน และอีก 10 คนเป็นตัวแทนของฝ่ายแรงงาน คณะผู้ว่าการนี้จะทำหน้าที่ควบคุมดูแลงานของคณะกรรมาธิการ และคณะกรรมการขององค์การ คือสำนักแรงงานระหว่างประเทศจะมีหน้าที่รวบรวมเผยแพร่ข้อสนเทศ ช่วยเหลือรัฐบาลของประเทศสมาชิกที่ขอร้องให้ช่วยร่างกฎหมายตามที่ได้มีมติ ตกลงในที่ประชุมใหญ่ นอกจากนี้ ยังรับดำเนินการสอบสวนเรื่องต่าง ๆ เป็นพิเศษ รวมทั้งออกสิ่งพิมพ์เผยแพร่องค์การแรงงานระหว่างประเทศมีสำนักงานใหญ่ตั้ง อยู่ ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ [การทูต]

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
นายจ้าง[nāijāng] (n) EN: employer ; boss  FR: employeur [ m ]

English-Thai: Longdo Dictionary
payroll tax(n) เงิน (ภาษี) ส่วนหนึ่งที่หักได้จากเงินเดือนหรือค่าจ้าง และอีกส่วนจากนายจ้าง รัฐบาลหรือส่วนการปกครองท้องถิ่นเก็บเงิน (ภาษี) ส่วนนี้เพื่อเป็นค่าสวัสดิการสังคมสงเคราะห์ต่างๆ เช่น ค่ารักษาพยาบาล (เมื่ออายุมาก) ค่าชดเชยหรือใช้จ่ายขณะว่างงาน เป็นต้น

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
boss(n) นายจ้าง, See also: เจ้านาย, หัวหน้า, นาย, ผู้เป็นใหญ่, Syn. chief, employer
character(n) ใบรับรองงาน, See also: ใบรับรองงานจากนายจ้าง, Syn. character reference, reference
employer(n) นายจ้าง, See also: ผู้ว่าจ้าง, ผู้จ้าง, คนจ้าง, Syn. boss, owner, manager
master(n) เจ้านาย, See also: นายจ้าง, หัวหน้า, ผู้ควบคุม, ผู้ปกครอง, Syn. chief, leader, ruler, governor
non-contributory(adj) ซึ่งจ่ายให้นายจ้าง, Syn. contributory

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
boss(บอส) { bossed, bossing, bosses } n., adj. นายจ้าง, นาย, ผู้บังคับบัญชา, ผู้นำ -v. เป็นนายเหนือ, ควบคุม, บังคับบัญชา, บงการ, Syn. superior
entrepreneur(อานทระพระเนอ') n. ผู้บริหารกิจการ, นายจ้าง, นักวิสาหกิจ, นายทุน., See also: entrepreneurial adj. ดูentrepreneur entrepreneurship n. ดูentrepreneur, Syn. employer -pl. entrepreneurs
fringe benefitn. ผลประโยชน์นอกเหนือจากเงินค่าจ้างที่ลูกจ้างได้รับจากนายจ้าง
master(มาส'เทอะ, แมส'เทอะ) n. นาย, เจ้านาย, นายจ้าง, กัปตันเรือสินค้า, กัปตันเรือ, ผู้บังคับการ, หัวหน้าครอบครัว, เจ้าบ้าน, ผู้เชี่ยวชาญ, ผู้มีชัย, ผู้มีอำนาจ, คนเก่ง, ผู้ช่วยผู้พิพากษา, มหาบัณฑิต, ผู้สำเร็จปริญญาโท adj. เป็นนาย, เป็นหัวหน้า, เป็นผู้นำ, เกี่ยวกับการควบคุม, เกี่ยวกับการนำ, วางอำนาจ, ใหญ่ยิ่ง, เชี่ยวชาญ
padrone(พะโดรน') n. นาย, นายจ้าง, เจ้าของ, หัวหน้า, กัปตันเรือ, เจ้าของเรือ, เจ้าของโรงแรม, See also: padronism n.
sleeping(สลีพ'พิง) n. การนอน, การนอนหลับ adj. หลับ, นอนหลับ, เกี่ยวกับการนอนหลับใช้สำหรับนอนหลับ, ทำให้หลับ, ทำให้ง่วงหลับ, นอนอยู่ที่บ้านนายจ้าง
sweater(สเวท'เทอะ) n. ผู้ที่ทำงานหนัก, เสื้อกีฬาทำด้วยขนสัตว์, เครื่องทำให้เหงื่อออก, ยาขับเหงื่อ, นายจ้างที่ใช้คนงานให้ทำงานหนักมากแต่ให้ค่าจ้างต่ำ
time clockn. นาฬิกาบันทึกการมาและจากไปของคนงาน, -Phr. (punch a time clock ตอกเวลาการมาทำงานและเวลาเลิกงาน, ทำงานในแหล่งที่นายจ้างคอยจู้จี้เวลาการมาหรือกลับ)

English-Thai: Nontri Dictionary
boss(n) นายจ้าง, เจ้านาย, หัวหน้า, ลายสลักปุ่ม, โหนก
employer(n) นายจ้าง, เจ้านาย, ผู้ว่าจ้าง

English-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
freelancer[ฟรีแลนซ์ - เซอะ] (n) บุคคค ที่เสนอตนเองเพื่อรับทำงาน ตามคำสั่ง ของผู้ว่าจ้าง รับจ้าง ทำงาน อิสระ รับไปทำด้วยตัวคนเดียว หรืองานบางประเภท ที่นายจ้าง ต้องการ

German-Thai: Longdo Dictionary
Urlaubsgeld(n) |das| เงินสำหรับพักร้อนที่ได้จากนายจ้างนอกเหนือจากเงินเดือน
Unternehmer(n) |der, pl. Unternehmer| นักลงทุนทางการเงิน, ผู้บริหารกิจการ, นายจ้าง, นักวิสาหกิจ, นายทุน, See also: Related: die Unternehmerin, unternehmen

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?



Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top