มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ฌาณ | (n) ฌาณ หรือ อธิจิต(supraconscious) เป็นจิตที่เป็นที่สุดของปัญญา คือความรู้ชัดธรรมชาติของมนุษย์ว่านี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา(คือความรู้มรรค 8 การคิดปฏิบัติเพื่อดับทุกข์) เป็นจิตที่อยู่เหนือและสามารถ ควบคุมหรือข่ม ได้ทั้งจิตสำนึก(consious) และจิตใต้สำนึก(subconsious) ซึ่งเป็นความรู้ที่สูดของวิญญาณคือความรู้แจ้งของธรรมชาติของมนุษย์ว่า นี้สุข นี้ทุกข์ นี้มิใช่ทุกข์ มิใช่สุข อธิจิตใช้สำหรับดับกิเลส ซึ่งสามารถทำให้เกิดนิมิตขึ้นมาได้ เพื่อดับกิเลสในเวลาที่เกิดกิเลสขึ้น พระผู้มีพระภาค(พระพุทธเจ้า)ได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ไว้ในพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์๑๐. วิตักกสัณฐานสูตรว่าด้วย อาการแห่งวิตก การเรียกอธิจิตของตนเอง ถ้าไม่มีพรสวรรค์หรือบารมีที่สะสมมาแต่ปางก่อน จะเรียกไม่ได้ เพราะจิตยังไม่มั่นคงพอ จะต้องเรียนรู้และทำความเพียรที่ทนได้ยาก ฝึกฝน จนเกิดความชำนาญ ซึ่งข้าพเจ้ามีความสามารถที่จะให้คนทั่วไปเรียกอธิจิตของตนเองได้ เช่นให้ผู้ป่วยเรียกอธิจิตของเขาออกมารักษาโรคภัยไข้เจ็บทั้งทางกายและใจของเขาที่เป็นอยู่ โดยสั่งให้จิตของเขาตกอยู่ในภาวะภวังค์ ด้วยการสั่งระงับจิตหยาบที่ทำให้เขาเกิดโรคทั้งทางกายและทางใจ เพื่อเขาจะได้มีจิตที่มั่นคงถึงอธิจิตแล้วสั่งยาหรือภูมิต้านทานในตัวของเขาออกมารักษาโรค ซึ่งได้ผลดีกว่าแพทย์แผนปัจจุบัน และแพทย์ทางเลือกวิธีอื่น นี่คือประโยชน์จากการเรียกหรือฝึกเรียกอธิจิตของตนเอง ซึ่งพระพุทธเจ้าสามารถเรียก Stem cell ในพระวรกายของพระองค์ออกมารักษาโรคได้นานมาแล้วหรือมากกว่า 2554 ปี ส่วนนักวิทยาศาสตร์พึ่งจะมาค้นพบวิธีใช้ Stem cell รักษาบางโรคเมื่อ 50 ปีมานี้เอง การรักษายังมีข้อบ่กพร่องและเงื่อนไขในการรักษาเพื่อจะได้ผลลัพท์จนเป็นที่น่าพอใจของแพทย์อยู่อีกมาก แต่วิธีของพระพุทธองค์ไม่มีเงื่อนไข ถ้าคนป่วยสามารถเรียกอธิจิตของตนเองได้ ข้าพเจ้าได้ใช้อธิจิตรักษา โรคปวดตามอวัยวะและโรคหวัดป่วยของข้าพเจ้าเอง และรักษาโรคปวดและอัมพาลให้กับคนป่วยแล้วหลายราย ซึ่งได้รับผลเป็นที่น่าพอใจของข้าพเจ้าและของคนป่วย |
| |
| เข็นครกขึ้นเขา, เข็นครกขึ้นภูเขา | ก. ทำงานที่ยากลำบากอย่างยิ่งโดยต้องใช้ความเพียรพยายามและอดทนอย่างมาก หรือบางทีก็เกินกำลังความสามารถหรือสติปัญญาของตน. | ชาคระ | (ชาคะระ) น. ความเพียร, ความตื่นอยู่. | ชาคริยานุโยค | (ชาคะริยานุโยก) น. การประกอบความเพียรกำหนดใจว่าจะตื่นไม่เห็นแก่นอนมากนัก. | ดบัสวิน, ดบัสวี | (ดะบัดสะ-) น. ผู้ประพฤติความเพียร, ฤษี, เพศหญิงว่า ดบัสวินี, เขียนเป็น ดบัศวี ก็มี เช่น รอยมึงบยำชีหน้าหนวด นักบวชด้วยดบัศวี แต่ก่อนฤๅ (ม. คำหลวง ชูชก). | ทุกรกิริยา | น. การกระทำกิจที่ทำได้โดยยาก ได้แก่ การทำความเพียรเพื่อบรรลุธรรมวิเศษ | บรากรม | (บะรากฺรม) น. ความเพียร, ความบากบั่น, ความพยายาม, ความแข็งขัน, ความก้าวไปเพื่อคุณในเบื้องหน้า. | ประเคราะห์ | น. ความเพียรที่แก่กล้า | ประธาน ๓ | น. ความเพียร มี ๔ อย่าง คือ ๑. สังวรประธาน เพียรระวังไม่ให้บาปเกิดขึ้นในสันดาน ๒. ปหานประธาน เพียรละบาปที่เกิดขึ้นแล้ว ๓. ภาวนาประธาน เพียรให้กุศลเกิดขึ้นในสันดาน ๔. อนุรักขนาประธาน เพียรรักษากุศลที่เกิดขึ้นแล้วไม่ให้เสื่อม. | ประโยค | ความเพียรเครื่องประกอบ, ความเพียร เช่น ประโยคสัมปทา หมายถึง การถึงพร้อมด้วยความเพียร. | ปรักมะ | (ปะรักกะ-) น. ความเพียร, ความบากบั่น. | ปรากรม | (ปะรากฺรม) น. ความเพียร, ความบากบั่น. | มรรษ, มรรษะ | (มัด, มัดสะ) น. ความเพียร, ความอดทน. | โยค-, โยคะ | ความเพียร | โยคาพจร, โยคาวจร | (โยคาพะจอน, -วะจอน) น. ผู้หยั่งลงสู่ความเพียร, ผู้มีความเพียร, (มักใช้เรียกพระภิกษุผู้เรียนสมถะและวิปัสสนา). | วิริยภาพ | น. วิริยะ, ความเพียร, ความบากบั่น | วิริยะ | น. ความเพียร, ความบากบั่น, มักใช้เข้าคู่กับคำ อุตสาหะ เป็น วิริยอุตสาหะ | สัมปทา | (สำปะทา) น. ความถึงพร้อมด้วยคุณความดี เช่น อุฏฐานสัมปทา = ความถึงพร้อมด้วยความเพียร. | สัมมัปธาน | (สำมับปะทาน) น. ความเพียรที่ตั้งไว้ชอบ. | อารัมภ-, อารัมภะ, อารัมภ์ | การเริ่มต้น, การตั้งต้น, ในคำว่า วิริยารัมภะ = การเริ่มต้นความเพียร | อารัมภ-, อารัมภะ, อารัมภ์ | ความเพียร. |
| Industry | อุตสาหกรรม, ความเพียรพยายาม [การแพทย์] |
| | assiduity | (n) ความเพียร, See also: ความขยัน, ความพยายาม, ความบากบั่น, ความตั้งใจ, Syn. diligence | pains | (n) ความยากลำบาก (ในการทำงาน), See also: ความเพียรพยายาม, ความอุตสาหะ, Syn. trouble, effort | painstaking | (n) ความอุตสาหะ, See also: ความเพียร, ความพยายาม | pertinacity | (n) ความพากเพียร, See also: ความเพียรพยายาม, ความอุตสาหะ, Syn. obstinacy, willfulness |
| assiduity | (แอสซิดู'อิที) n. ความพยายาม, ความเพียร, ความขยัน. -assiduous adj., Syn. industry, diligence, Ant. laziness | conatus | (โคเน'ทัส) n. ความพยายาม, ความเพียร -pl. conatus | pertinacity | (เพอทะแนส'ซิที) n. ความดื้อรั้นยิ่ง, การถือทิฐิ, ความหัวแข็ง, ความเพียรพยายาม, Syn. obstinacy |
| assiduity | (n) ความเพียร, ความขยัน, ความพยายาม | assiduousness | (n) ความขยัน, ความเพียร, ความพยายาม | perseverance | (n) ความเพียร, ความขยันหมั่นเพียร, ความบากบั่น, ความอุตสาหะ | pertinacity | (n) ความมั่นคง, การถือทิฐิ, ความเพียร, ความดื้อ, ความเด็ดเดี่ยว |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |