Search result for

teradata

   
Languages
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -teradata-, *teradata*
Possible hiragana form: てらだた
(Few results found for teradata automatically try metadata)
Some results are hidden.
configure
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


CMU English Pronouncing Dictionary Dictionary [with local updates]
teradata

Longdo Dictionary ภาษา ศัพท์แพทย์ศาสตร์สำหรับคนไทย (MED) - ไทย (TH) (UNAPPROVED version -- use with care )
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
metadata[สาน ระ ลัก] (n) สารลักษณ์, ลักษณะที่อธิบายถึง ข้อมูล(สาร) ที่มี

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Metadataเมทาดาทา [เทคโนโลยีการศึกษา]
Metadataเมทาดาทา, Example: เมทาดาทา คือ การอธิบายให้ทราบรายละเอียดของข้อมูล ซึ่งจะต้องคุณสมบัติ 2 ประการ คือ เป็นข้อมูลที่มีโครงสร้าง และ ต้องอธิบายถึงทรัพยากรสารสนเทศนั้นๆ <p>ความจำเป็นที่ต้องมีเมทาดาทา เกิดขึ้น เนื่องจากสารสนเทศที่สร้างขึ้นประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ลักษณะ คือ <p>1. เนื้อหา (Content) ของงาน เกี่ยวกับชื่อเรื่อง หัวเรื่อง ต้นฉบับ (แำหล่งที่มา) ภาษา เรื่องที่เกี่ยวข้อง และขอบเขต <p>2. บริบท (Context) ของสารสนเทศ เกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญาของงาน เช่น ผู้เขียน ผู้สร้างสรรค์ผลงาน สำนักพิมพ์ ผู้มีส่วนร่วมในผลงาน และสิทธิในงานนั้นๆ <p>3. โครงสร้าง (Structure) ของข้อมูลเกี่ยวกับ วัน เดือน ปีที่สร้างผลงาน ประเภทของเนื้อหา รูปแบบการนำเสนอผลงาน และตัวบุ่งชี้หรือตัวระบุถึงทรัพยากร <p>ประเภทและหน้าที่ของเมทาดาทา <p>การทำเมทาดาทา จะต้องเข้าใจถึงประเภทของเมทาดาทาซึ่งจำแนกตามหน้าที่ได้ 3 ประการ คือ <p>1. เมทาดาทาเชิงการบริหาร (Administrative metadata) เป็นการกำหนดเมทาดาทาเพื่อใช้ในการจัดการทรัพยากรสารสนเทศ ทั้งในระยะสั้น และระยะยาว เช่น เป็นเมทาดาทาของข้อมูลเกี่ยวกับ การจัดหาสารสนเทศนั้นๆ การสร้าง การปรับปรุงสารสนเทศ เป็นเมทาดาทาเกี่ยวกับการสงวนรักษาข้อมูล เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับการย้้ายสภาพ เป็นต้น <p>2. เมทาดาทาเชิงการพรรณนา (Descriptive metadata) เป็นเมทาดาทาที่อธิบายเกี่ยวกับทรัพยากรสารสนเทศนั้นๆ เช่น การลงรายการ ชื่อเรื่อง ชื่่อผู้แต่ง หัวเรื่อง การจัดหมวดหมู่ <p>3. เมทาดาทาเชิงโครงสร้าง (Structure metadata) เป็นเมทาดาทาที่แสดงหรือนำสารสนเทศไปถึงผู้ใช้ เช่น เมทาดาทาของข้อมูลเกี่ยวกับอุปกรณ์หรือเครื่องที่ใช้ในการอ่านภาพ ข้อมูลการแปลงเป็นดิจิทัล เป็นต้น <p>ลักษณะของเมทาดาทา <p>การใส่เมทาดาทา เพื่ออธิบายสารสนเทศนั้น สามารถใส่เมทาดาทาไปกับตัววัตถุ (Embedded object) เช่น ใส่เมทาดาทาไปกับแฟ้มข้อมูลที่สร้างขึ้น หรือ ใส่เมทาดาทาแยกจากสารสนเทศ โดยผ่านตัวแบบฟอร์มการกรอกเมทาดาทาของระบบอีกต่อหนึ่ง <p>ความสำคัญของเมทาดาทา <p>1. เพื่อการค้นหาสารสนเทศ เมทาดาทาที่ถูกกำหนดไว้จะเป็นตัวช่วยในการเข้าสารสนเทศได้ <p>2. การจัดการทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ เว็บพอร์ทัลที่เชื่อมโยงไปยังสารสนเทศต่างๆ จะได้ประโยชน์โดยเฉพาะถ้าเว็บเหล่านั้น ถูกสร้างเป็นแบบไดนามิกเว็บจากเมทาดาทาที่เก็บในฐานข้อมูล โดยการใช้โปรแกรมหรือเครื่องมือในการดึงและการปรับรูปแบบใหม่ (Reformat) ได้ <p>3. การใช้งานได้หลากหลายระบบ (Interoperability) ด้วยความแตกต่างทางฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โครงสร้างข้อมูลและส่วนต่อประสาน การกำหนดใช้เมทาดาทา โปรโตคอลที่ใช้ในการแบ่งปันข้อมูล และ Crosswalk ระหว่างเมทาดาทา สามารถช่วยให้การสืบค้นข้ามระบบหรือทำให้ความแตกต่างดังกล่าวไม่เป็นอุปสรรค โดย 2 แนวทาง ได้แก่ <p>3.1 การสืบค้นข้ามระบบ (Cross-system search) โดยมีโปรโตคอล Z39.50 เป็นโปรโตคอลที่ใช้ในการสืบค้นข้ามระบบ <p>3.2 การเก็บเกี่ยวเมทาดาทา (Metadata harvesting) Open Archives Initiative (OAI) OAI เสนอกลไกสำหรับเจ้าของสารสนเทศให้เปิดเผยเมทาดาทาที่ใช้ เพื่อให้ระบบสามารถใช้เทคโนโลยีในการค้นและเข้าถึงข้อมูลได้ OAI เป็นการหาข้อมูลทั้งหมด จากนั้นแปลเมทาดาทาของเดิม (Native metadata) ไปเป็นหน่วยข้อมูลที่ใช้กันโดยทั่วไป และนำออกเพื่อการเก็บเกี่ยว (harvesting) ตัวให้บริการคำค้นจะรวบรวมเมทาดาทาเข้าไปเก็บไว้ในดรรชนีส่วนกลาง (คลังเก็บคำค้นส่วนกลาง) เพื่อให้มีการสืบค้นข้ามแหล่งเก็บนี้ได้ <p>4. การบ่งชี้ดิจิทัล เค้าร่างเมทาดาทาส่วนใหญ่ มีองค์ประกอบที่เป็นเลขมาตรฐาน เพื่อเป็นการบ่งชี้เฉพาะถึงผลงานหรือสารสนเทศที่เมทาดาทานั้นอ้างถึง ที่อยู่หรือตำแหน่งของสารสนเทศดิจิทัลอาจถูกกำหนดด้วยชื่อแฟ้มข้อมูล ยูอาร์แอลหรือตัวบ่งชี้ถาวร การมีองค์ประกอบที่มีข้อมูลตัวนี้จะเป็นตัวชี้ไปยังสารสนเทศ เมทาดาทาสามารถถูกรวมไปกับการอธิบายตัวข้อมูลด้วย <p>5. การเก็บถาวรและการสงวนรักษา เมทาดาทาเป็นกุญแจสำคัญที่ทำให้แน่ใจว่า สารสนเทศจะถูกสามารถเข้าใช้หรือเข้าถึงได้อย่างต่อเนื่อง องค์ประกอบของการจัดเก็บถาวรและสงวนรักษา จึงเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อติดตามเส้นทางของสารสนเทศ (แหล่งที่มา และประวัติการเปลี่นแปลง) เพื่อดูรายละเอียดของลักษณะทางกายภาพ และเพื่อที่จะแข่งขันหรือพยายามเลียนแบบเทคโนโลยีในอนาคต [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Metadataเมตะดาตา [TU Subject Heading]
Metadataข้อมูลรายละเอียดที่อธิบายถึงความเป็นมาของข้อมูล หรืออธิบายข้อมูลหลัก [การจัดการความรู้]

English-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
metadata(n) ข้อมูลของข้อมูล ซึ่งจะใช้ข้อมูลอธิบายถึงข้อมูลอีกชุดหนึ่งตามต้องการ, See also: metatable
metadata(n) นิยามข้อมูล

WordNet (3.0)
metadata(n) data about data

Japanese-English: EDICT Dictionary
メタデータ[metade-ta] (n) { comp } metadata [Add to Longdo]

add this word


You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit


Are you satisfied with the result?



Discussions

About our ads
We know you don’t love ads. But we need ads to keep Longdo Dictionary FREE for users. Thanks for your understanding! Click here to find out more.
Go to Top