ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -ศ-, *ศ* |
กุนแขมร์ | [กุน-ขะ-แม] (name) ศิลปะป้องกันตัวของเขมร |
| Kim Taeyeon | (n, name) ศิลปินเกาหลี หัวหน้าวงเกิลกรุ๊ปชื่อดัง Girls' Generation หรือมีอีกชื่อหนึ่งว่า So nyeo Shi Dae ทั้ง 2 ชื่อแปลว่า ยุคของหญิงสาว มีสมาชิกทั้งหมด 9 คน มีผลงานเพลงออกมาหลายอัลบั้ม คิม แทยอน เป็นนักร้องที่เสียงทรงพลังมากที่สุดในวง มีพรสวรรค์ในการร้องเพลงเป็นอย่างมาก ด้วยน้ำเสียงที่หาคนเทียบได้ยาก ได้ร้องเพลงประกอบละคร ไว้หลายเรื่อง เช่น Hong Gill Dong / Beethoven Virus / Hana sang / Atena เป็นต้น และมีรางวัลการันตีในความสามารถด้านการร้องเพลงมากมาย มีผลงานดูเอ๊ทกับศิลปินหลายๆคน รวมถึง อาจารย์ที่สอน คิม แทยอนร้องเพลง หรือที่รู้จักในนามของ The one คิม แทยอน เป็นหัวหน้าวงที่นำวงจนสามารถรับรางวัลมากมาย รวมถึงรางวัล แผ่นเสียงทองคำ (Golden Disk Daesang) ทำให้ คิม แทยอน เป็นที่ยอมรับในวงการเพลงเกาหลี เป็นคนที่มากด้วยความสามารถ |
|
| | | | กุศล | (n, adj, adv) การกระทำที่เกี่ยวข้องกับการยกระดับจิตใจให้ดีขึ้น ปรับปรุงจิตใจให้ดีขึ้น มากกว่าทำความดีเฉย ๆ การกระทำใด ๆ หากทำแล้วมีผลต่อสภาวะจิตใจของตนเปลี่ยนไปในทางที่สูงขึ้น จึงเรียกว่ากุศล หากการกระทำดีนั้น ๆ ไม่ได้มีผลเปลี่ยนแปลงจิตใจตนเองเลย ไม่เรียกว่ากุศล แต่เรียกว่า กรรมดี โดยทั่วไป มักจะใช้คู่กันกับคำว่า บุญกุศล แต่คำว่า บุญ กับ กุศล ความหมายต่างกัน (เขียนก็ไม่เหมือนกันแล้วจะให้ความหมายเหมือนกันได้อย่างไร) ตัวอย่าง 1. นาย กอ เป็นคนรวย ชอบที่จะให้ทาน เพราะเขาหวังว่า การให้ทานของเขาจะส่งผลทำให้เขารวย ยิ่ง ๆ ขึ้นไป และอาจจะได้ไปสวรรค์ หลังจากที่เขาตายไป - อันนี้นาย กอ ทำกรรมดี หรือทำบุญ แต่ไม่ได้เกิดกุศลในจิต หรือเกิดขึ้นน้อยมาก เพราะเขาทำทานก็จริง แต่ไม่มีผลทำให้จิตใจของเขาวางลงจากความโลภ หรืออยากเลย 2. นาย ขอ เป็นคนชั้นกลาง เขาเห็นเด็กกำพร้ามากมายเกิดขึ้น เขาจึงรู้สึกอยากที่จะช่วยเหลือเด็กเหล่านั้น จึงประหยัดค่าใช้จ่ายของตัวเองมากขึ้น เพื่อที่จะให้ตัวเองมีเงินเหลือมากขึ้น เพื่อที่จะแบ่งไปบริจาคเด็กเหล่านั้น เพื่อที่เด็กเหล่านั้นจะได้โตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ที่ดีต่อไป - อันนี้ นาย ขอ ทำทั้งกุศล และบุญ เพราะมีผลที่ทำให้เขาต้องประหยัด อดออมมากขึ้น และการประหยัดอดออมนี้เอง จะทำได้ก็คือต้องปล่อยวางความอยากของตนเอง และทำเพราะในใจเกิดจิตเมตตากรุณา |
| | ศ. | (n) professor, See also: prof., Syn. ศาสตราจารย์ | ศธ | (n) Ministry of Education, Syn. กระทรวงศึกษาธิการ | ศพ | (n) corpse, See also: carcass, dead body, remains, stiff, cadaver, Example: เจ้าหน้าที่ได้ส่งศพของผู้ต้องหาไปยังแผนกนิติเวชแล้ว, Count Unit: ศพ, Thai Definition: ร่างคนที่ตายแล้ว | ศร | (n) bow, Syn. คันศร, คันธนู, Example: พระรามโก่งศรยิงยักษ์ตาย, Count Unit: คัน, Notes: (สันสกฤต) | ศร | (n) arrow, Syn. ลูกศร, ลูกธนู, ลูกหน้าไม้, Count Unit: เล่ม, ดอก, Thai Definition: อาวุธชนิดหนึ่งใช้ยิงด้วยกำลังสายให้ลัดลูกแล่นออกไป, Notes: (สันสกฤต) | ศอ | (n) neck, Syn. คอ, พระศอ, Example: พระอิศวรมีเศียรเป็นมนุษย์ แต่มีพระศอดำ, Count Unit: คอ, Notes: (ราชา) | ศก. | (n) customs house; customs post, Syn. ด่านศุลกากร | ศก. | (n) The Customs Department, Syn. กรมศุลกากร | ศอ. | (n) NECTEC, See also: National Electronics and Computer Technology Center, Syn. ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ | ศ.บ. | (n) bachelor of fine arts, See also: B.F.A., Syn. ศิลปบัณฑิต |
| ศ | (สอ) พยัญชนะตัวที่ ๓๘ เรียกว่า ศอ ศาลา เป็นอักษรสูง ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากดหรือแม่กด เช่น ปราศจาก อัศวิน อากาศ. | ศก ๑ | น. ผม เช่น พระศกพระพุทธรูป. | ศก ๒ | น. ระบบการคำนวณนับเวลาเรียงลำดับกันเป็นปี ๆ โดยถือเอาเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งเป็นจุดเริ่มต้น ดังในคำว่า รัตนโกสินทรศก ซึ่งถือเอาปีเริ่มสร้างกรุงรัตนโกสินทร์เป็นจุดเริ่มต้น, บางทีก็ใช้เป็นคำย่อของศักราช เช่น พุทธศก คริสต์ศก | ศก ๒ | คำเรียกปีหนึ่ง ๆ ของจุลศักราช เพื่อให้ทราบว่าเป็นปีที่ลงท้ายด้วย ๑ ๒ ... หรือ ๐ เช่น ถ้าลงท้ายด้วย ๑ เรียกว่า เอกศก ลงท้ายด้วย ๒ เรียกว่า โทศก ... ลงท้ายด้วย ๐ เรียกว่า สัมฤทธิศก | ศก ๒ | ปี เช่น ศกนี้ ศกหน้า วันเถลิงศก. | ศกฏะ | (สะกะตะ) น. เกวียน. | ศกละ | (สะกะละ) น. ส่วน, ซีก. | ศกุน | น. นก. | ศกุนต์ | น. นก. | ศกุนิ | น. นก. |
| | Thesaurus | ศัพท์สัมพันธ์ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Controlled vocabulary | ศัพท์ควบคุม, ศัพท์บังคับ, Example: ศัพท์บังคับหรือศัพท์ควบคุม (Controlled vocabulary) หมายถึง การกำหนดให้คำศัพท์คำหนึ่งทำหน้าที่ควบคุมคำศัพท์หลายคำที่มีความหมายอย่างเดียวกัน เพื่อให้มีความเป็นมาตรฐาน ลดความกำกวม เป็นช่องทางหนึ่งในการจัดการความรู้ เป็นเครื่องมือในการเข้าถึงเนื้อหาหรือช่วยในการสืบค้นให้มีประสิทธิภาพ กล่าวคือ คำศัพท์บังคับคำเดียวสามารถเข้าถึงเอกสารได้จำนวนมาก แม้ว่าจะเอกสารนั้นจะเขียนด้วยศัพท์ภาษาที่แตกต่างกัน การใช้ศัพท์บังคับหรือศัพท์ควบคุมนี้ เป็นการใช้ภาษาดรรชนี (Indexing language) ซึ่งแตกต่างจากภาษาหรือคำที่ผู้เขียนกำหนดขึ้นเอง ซึ่งเรียกว่า ภาษาธรรมชาติ (Natural language) ซึ่งมักจะปรากฏให้เห็นว่า มีคำเกิดขึ้นที่หลากหลาย ไม่เป็นแบบแผนเดียวกัน คำศัพท์บังคับ/ศัพท์ควบคุม ถูกใช้ในการกำหนดเป็นหัวเรื่อง ศัพท์สัมพันธ์ (อรรถาภิธาน) แทกโซโนมี ฯลฯ <p>ข้อดีของศัพท์บังคับ/ศัพท์ควบคุม <p>การกำหนดให้ใช้ศัพท์บังคับ/ศัพท์ควบคุม ในการเป็นตัวแทนเนื้อหาของสารสนเทศ เพื่อให้เกิดความเป็นมาตรฐานในการกำหนดคำที่เป็นตัวแทนของเนื้อหา เพื่อมิให้เนื้อหาเดียวกัน หรือมีความสัมพันธ์กระจัดกระจายไปตามคำศัพท์ที่มิได้เกิดจากการควบคุม ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ในการสืบค้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น หัวเรื่องภาษาอังกฤษของ Library of Congress Subject Headings จะมีการกำหนดคำที่ใช้แตกต่างกันระหว่างอเมริกาและอังกฤษ เช่น คำว่า color จะมีการกำหนดว่าให้ใช้คำว่า color ไม่ใช้ colour ซึ่งเมื่อสืบค้น ด้วยคำว่า color จะได้เนื้อหาที่มีการเขียนทั้งคำว่า color และ colour ได้อย่างครบถ้วน หรือคำว่า apartments จะถูกกำหนดให้ใช้ในการเป็นตัวแทนของเนื้อหาที่เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว แต่จะไม่ใช้คำว่า flats <p>ศัพท์บังคับหรือศัพท์ควบคุมช่วยแก้ปัญหาคำพ้องรูป ซึ่งเป็นศัพท์ที่เขียนเหมือนกันแต่มีการใช้ต่างกัน (Homographs) เช่น คำว่า pool ความหมายหนึ่ง หมายถึง บ่อน้ำ สระน้ำ อีกความหมายหนึ่ง หมายถึง เกมชนิดหนึ่ง ดังนั้น ในการกำหนดศัพท์บังคับหรือศัพท์ควบคุม จะมีคำขยายเพื่อให้ชัดเจนว่าหมายถึงเรื่องนั้น เช่น Pool (Game) หรือคำว่า เงาะ ซึ่งหมายถึง ผลไม้ชนิดหนึ่ง หรือชนกลุ่มน้อยก็ได้ คำว่า เงาะ ในการเป็นคำศัพท์บังคับหรือศัพท์ควบคุม จึงหมายถึง ชื่อผลไม้ แต่ถ้าจะหมายถึง ชนกลุ่มน้อย จะมีการกำหนดให้ใช้เป็น เงาะ (กลุ่มชาติพันธุ์) <p>ศัพท์บังคับหรือศัพท์ควบคุม ถูกนำมาใช้ในลักษณะที่เป็นหัวเรื่อง (Subject headings) หรือศัพท์สัมพันธ์ (Thesaurus) หัวเรื่องที่เป็นที่รู้จักกันดี คือ Library of Congress Subject Headings, Sear Subject Headings, Medical Subject Headings, Art & Architecture Thesaurus และ ERIC Thesaurus เป็นต้น <p>ตัวอย่าง Library of Congress Subject Headings ซึ่งปัจจุบันได้มีการนำลักษณะของศัพท์สัมพันธ์เข้ามาประยุกต์ใช้ในการกำหนดหัวเรื่องด้วย ทำให้เข้าใจความสัมพันธ์ของคำศัพท์ได้ดีขึ้น แม้ว่าจะไม่มีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชานั้นๆ <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120527-Controlled-Vocab.jpg" alt="Controlled Vocabulary"> <p>ในประเทศไทยมีการกำหนดศัพท์บังคับหรือศัพท์ควบคุมใช้เป็นคู่มือหัวเรื่องสำหรับการลงรายการทรัพยากรสารสนเทศภาษาไทย เช่นเดียวกัน เช่น หัวเรื่องและวิธีการกำหนดหัวเรื่องสำหรับวัสดุสารนิเทศภาษาไทยของสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หัวเรื่องสำหรับหนังสือภาษาไทย โดย สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย และหัวเรื่องสำหรับหนังสือภาษาไทย ซึ่งจัดทำโดย คณะทำงานกลุ่มวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา ในภายหลังได้มีการปรับปรุงการกำหนดคำศัพท์บังคับนี้เป็นแบบศัพท์สัมพันธ์เช่นเดียวกับของ Library of Congress Subject Headings <p>การกำหนดศัพท์บังคับหรือศัพท์ควบคุม จะดำเนินการโดยนักวิชาชีพ เช่น บรรณารักษ์ และนักเอกสารสนเทศ รวมทั้งผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขา <p>บรรณานุกรม: <p>Library of Congress Classification Web. [ Online ] Available: http://classificationweb.net. Accessed: 2012-05-27. <p>ประดิษฐา ศิริพันธ์. “การใช้ศัพท์บังคับในการสืบค้นข้อสนเทศ”. หน้า 65-73 ใน เอกสารประกอบการฝึกอบรม เรื่อง Thesaurus Construction. กรุงเทพฯ : สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Information center | ศูนย์สารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Thesaurus | ศัพท์สัมพันธ์, Example: รายการคำศัพท์ หรือ บัญชีคำศัพท์ มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก ราชบัณฑิตยสถานได้บัญญัติศัพท์ให้ใช้ว่า อรรถาภิธาน หมายถึง หนังสืออ้างอิงที่รวบรวมคำศัพท์ที่มีความหมายคล้ายคลึงกันมาไว้ในกลุ่มเดียวกัน แต่ก็มักจะเห็นมีการใช้คำว่า ศัพท์สัมพันธ์ อยู่ด้วยเช่นกัน <p>องค์ประกอบของอรรถาภิธาน <p>อรรถาภิธาน จะให้รายการคำศัพท์ตามลำดับอักษร ควบคุมคำที่มีความหมายเหมือนกัน คำพ้องหรือคำที่เขียนเหมือนกัน แต่ความหมายแตกต่างกัน มีรายการแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างศัพท์ในกลุ่มลำดับชั้น โดยทั่วไปมีองค์ประกอบ ดังนี้ <p>1. คำหลักของชุด (descriptor) ที่ใช้ในสาขาวิชานั้น <p>2. คำที่กำหนดให้ใช้และไม่กำหนดให้ใช้ รวมทั้งแนะนำว่า คำใดให้ใช้ได้ และใช้แทนคำอะไรบ้าง ซึ่งมักจะเป็นคำที่มีความหมายพ้องกับคำหลักหรือคำที่มีความหมายใกล้เคียงกับคำหลัก แต่ไม่ใช้และได้กำหนดให้ใช้คำหลักแทน (จะใช้สัญลักษณ์ว่า UF หมายถึง Used For) เช่น <p> Distance education <p> UF Open learning <p>3. ข้อความอธิบายคำหลัก หรือคำนิยาม หรือขอบเขตของคำศัพท์ที่ใช้ (ใช้สัญลักษณ์คือ SN หมายถึง Scope Note) เพื่อให้มีความชัดเจนเกี่ยวกับคำศัพท์นั้นๆ เช่น <p>Distance learning <p> SN Systematic use of techbiques line correspondence, radio, television and the Internet to reach off-campus students <p>4. คำที่มีความสัมพันธ์หรือเกี่ยวข้อง (relationship) กับคำหลัก <p>4.1 คำที่เป็นคำต้นสกุลของคำหลัก (Top Term) ใช้สัญลักษณ์คือ TT) <p>4.2 คำที่มีความหมายกว้างกว่าคำหลัก (Broader Term ใช้สัญลักษณ์ คือ BT) <p>4.3 คำที่มีความหมายแคบกว่าคำหลัก (Narroe Term ใช้สัญลักษณ์คือ NT) <p>4.4 คำที่มีความหมายเกี่ยวข้องกับคำหลัก (Related Term) ที่ไม่ใช่คำที่มีความหมายกว้างกว่าหรือแคบกว่า (ใช้สัญลักษณ์คือ RT) <p>ตัวอย่าง <p>Distance education <p>SN Systematic use of techbiques line correspondence, radio, television and the Internet to reach off-campus students <p>UF Open learning <p>NT Virtual universities <p>RT Correspondence courses <p> Educational media <p> Electronic learning <p> Open universities <p>อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://stks.or.th/th/knowledge-bank/28-library-science/1231-20110828-thesaurus.html [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | พระบรมศพ | ศพ [ศัพท์พระราชพิธี] | Cryosurgery | ศัลยกรรมใช้ความเย็น [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Laser surgery | ศัลยกรรมด้วยแสงเลเซอร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Coronary artery bypass | ศัลยกรรมทางเบี่ยงหลอดเลือดโคโรนารีย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Orthopedic surgery | ศัลยกรรมออร์โทพีดิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | ศราทธพรต | [ สาดทะพฺรด ] น. พิธีทําบุญให้แก่ญาติผู้ล่วงลับไปแล้ว.(ส. ศฺราทฺธ+ วฺรต) [ศัพท์พระราชพิธี] |
| | ศก | [sok] (n) EN: year ; era FR: année [ f ] ; ère [ f ] | ศกก่อน | [sok køn] (x) EN: the year before last ; a former year FR: il y a plusieurs années | ศกนี่ | [sok nī] (n, exp) EN: this year FR: cette année | ศกหน้า | [sok nā] (n, exp) EN: next year FR: l'année prochaine | ศต | [sata] (x) EN: one hundred FR: cent | ศตพรรษ | [sataphat] (n) EN: century | ศตมวาร | [satamawān] (n) EN: the hundredth-day rite performed one hundred days after death but before cremation | ศตวรรษ | [satawat] (n) EN: century FR: siècle [ m ] | ศพ | [sop] (n) EN: corpse FR: dépouille [ f ] ; cadavre [ m ] ; corps [ m ] | ศร | [søn] (n) EN: arrow ; bow FR: flèche [ f ] ; arc [ m ] |
| doraemon | (n) ชื่อตัวละครของการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่องหนึ่ง เป็นหุ่นยนต์มาจากโลกอนาคต มีกระเป๋าสารพัดประโยชน์ คอยใช้ของวิเศษเพื่อช่วยเหลือโนบิตะ การ์ตูนเรื่องนี้เป็นที่นิยมอย่างมากประมาณในช่วงทศวรรษที่ 80 | SARS | (n) โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง หรือ ซาร์ส มาจากภาษาอังกฤษ เต็มๆ คือ Severe Acute Respiratory Syndrome เริ่มระบาดในช่วงต้นปี 2546 ในหลายประเทศ | gender identity disorder | (n) ความผิดปกติของเอกลักษณ์ทางเพศ, See also: homosexual slang gay, queer, dyke | Emerald Buddha Temple | (n) วัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรือวัดพระแก้ว | bayer pattern | (n) รูปแบบตารางแผ่นกรองหลากสี สำหรับปะหน้าตัวรับภาพที่แยกแยะได้เฉพาะค่าความสว่าง (เช่น CCD หรือ CMOS Sensor) เพื่อให้สามารถแยกแยะสีของภาพได้ โดยแผ่นกรองนี้จะยอมให้แสงสีที่กำหนดผ่านไปตกบนตัวรับภาพ ณ บริเวณที่กำหนดเท่านั้น bayer pattern ที่นิยมใช้กันมากในกล้องถ่ายภาพมี สองชนิด คือ RGB bayer pattern และ CMY bayer pattern ซึ่งยอมให้แสงสี Red-Green-Blue และ Cyan-Magenta-Yellow ไปตกบนตัวรับภาพได้ ตามลำดับ ชื่อของแบบตาราง มาจากชื่อของ Dr. Bayer นักวิทยาศาสตร์ของบริษัท Kodak ผู้คิดค้น, See also: CCD | PDA | (n, abbrev) ย่อมาจากคำว่า Personal Digital Assistant หมายถึงอุปกรณ์ผู้ช่วยดิจิตอลส่วนตัว มักมีขนาดเล็กพกพาสะดวก สามารถใช้บันทึกข้อมูลนัดหมาย หมายเลขโทรศัพท์ รับส่งข้อมูล หรือใช้เล่นเกมส์เพื่อความบันเทิงต่างๆได้, See also: Palm, Visor, Handheld, PocketPC | Silent Wave Motor | (n) มอเตอร์ที่หมุนโดยอาศัยหลักคลื่นเสียงความถี่สูง Ultra-Sound ซึ่งสามารถออกแบบให้มีขนาดเล็ก พัฒนาโดยบริษัท Nikon เพื่อให้หมุนปรับโฟกัสในเลนส์รุ่นที่มีอักษร AF-S, See also: SWF, USM | Ultra Sonic Motor | (n) มอเตอร์ที่หมุนโดยอาศัยหลักคลื่นเสียงความถี่สูง Ultra-Sound ซึ่งสามารถออกแบบให้มีขนาดเล็ก พัฒนาโดยบริษัท Canon เพื่อให้หมุนปรับโฟกัสในเลนส์รุ่นที่มีอักษร USM, See also: USM, SWF | Dhaka | (n, uniq) ชื่อเมืองหลวงของประเทศบังคลาเทศ, See also: Dacca | quotation mark | (n) อัญประกาศ หรือเครื่องหมายคำพูด (เครื่องหมายรูป |
| A.B. | (abbr) อักษรศาสตรบัณฑิต (คำย่อของ Artium Baccfalaureus เท่ากับ Bachelor of Arts), See also: ศิลปศาสตรบัณฑิต | acrobatics | (n) ศิลปการแสดงกายกรรม | alumna | (n) ศิษย์เก่าหญิง | alumnus | (n) ศิษย์เก่าชาย, See also: ศิษย์เก่าที่เป็นชาย | America Online | (n) ศูนย์บริการออนไลน์ผ่านทางโมเด็มที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งในอเมริกา มีขอบเขตการให้บริการที่กกว้างขวางมีการให้บริการจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ปริการเชื่อมต่ออินเตอร์เนตขั้นพื้นฐาน มีข่าวสารการพยากรณ์อากาศจากสำนักข่าวรอยเตอร์และยูพีไอ | analyse | (vt) วิเคราะห์, See also: ศึกษา, ตรวจสอบ, พิจารณา, นำมาแยกเป็นส่วนๆ เพื่อพิจารณาในประเด็นต่างๆ, Syn. analyze, resolve into elements | analyze | (vt) วิเคราะห์, See also: ศึกษา, ตรวจสอบ, พิจารณา, Syn. analyse, examine, resolve into elements | antagonist | (n) ผู้เป็นปรปักษ์, See also: ศัตรู, Syn. opponent, adversary | antique | (n) ศิลปสมัยโบราณ | appendectomy | (n) ศัลยกรรมตัดไส้ติ่งออก |
| ! | เครื่องหมายอัศเจรีย์ | + | เครื่องหมาย cross hairs เป็นรูปลักษณ์ของตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) แบบหนึ่ง ที่แตกต่างกันออกไปในบางโปรแกรม เช่น ในโปรแกรมการวาดภาพในระบบวินโดว์ส มักมีลักษณะเป็นเส้นตัดกัน (+) แทนที่จะเห็นเป็นลูกศรตามปกติ | a one | (เอ'วัน) ชั้นหนึ่ง, ยอดเยี่ยม, ดีเลิศ | a- | ใช้นำหน้าคำนามให้เป็นกริยาวิเศษณ์, จาก, ออก, จาก, ไม่ | a. a. a. s. | abbr. American Association for the Advancement of Science สมาคมเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์แห่งอเมริกา | a. a. s. | abbr. American Academy of Sciences (สภาวิทยาศาสตร์แห่งอเมริกา) | a. a. u. p. | (คำย่ฮ) American Association of University Professors (สมาคมศาสตราจารย์แห่งอเมริกา) | a.b. | abbr. Artium Baccalaureus (Bachelor of Arts, อักษรศาสตรบัณฑิต) able-bodied seaman (ทหารหรือชั้นสอง) | a.c. | abbr. ante Christum, Syn. before Christ, ก่อนคริสต์ศักราช abbr. befor meal | a.d. | abbr. Anno Domini, ในปีคริสต์ศักราช |
| abandoned | (adj) ที่ถูกละทิ้ง, ที่ผิดศีลธรรม, ที่ถูกปล่อยปละละเลย | abase | (vt) ลดต่ำ, ถ่อมตัว, น้อม, เสื่อมศักดิ์ | abasement | (n) การลดตัว, การถ่อมตัว, การน้อม, การเสื่อมศักดิ์ | abide | (vi) อาศัยอยู่ | ability | (n) ศักยภาพ, ความสามารถ, สมรรถภาพ | abode | (n) ที่อาศัย, ที่อยู่, ที่พัก | abroad | (adv) ในต่างประเทศ, นอกประเทศ, นอกบ้าน, กว้างออกไป | academic | (adj) เชิงวิชาการ, เกี่ยวกับโรงเรียน, เกี่ยวกับสถาบันการศึกษา | academy | (n) สถานศึกษา | accost | (vt) ทักทาย, ปราศรัย, เกี้ยวพาราสี |
| | イスラム教 | [いすらむきょう, isuramukyou] (n) ศาสนาอิสลาม | ヒンズー教 | [ひんずーきょう, hinzu-kyou] (n) ศาสนาฮินดู | モラル | [もらる, moraru] (n) ศีลธรรม | 一神教 | [いっしんきょう, isshinkyou] (n) ศาสนาประเภทเอกเทวนิยม (นับถือพระเจ้าองค์เดียว) | 中心 | [ちゅうしん, chuushin] (n) ศูนย์กลาง | 多神教 | [たしんきょう, tashinkyou] (n) ศาสนาประเภทพหุเทวนิยม (นับถือพระเจ้าหลายองค์) | 宗教 | [しゅうきょう, shuukyou] (n) ศาสนา | 専門用語 | [せんもんようご, senmonyougo] (n) ศัพท์เฉพาะ, Syn. 学術用語 | 教授 | [きょうじゅ, kyouju] (n) ศาสตราจารย์ | 遺体 | [いたい, itai] (n) ศพ |
| 世紀 | [せいき, seiki] (n) ศตวรรษ, ยุคสมัย | 最高裁判所 | [さいこうさいばんじょ, saikousaibanjo] ศาลฎีกา | 公民館 | [こうみんかん, kouminkan] (n) ศาลาประชาคม | 公民館 | [こうみんかん, kouminkan] (n) ศาลาประชาคม | 用語 | [ようご, yougo] (n) ศัพท์เฉพาะ | 留学 | [りゅうがく, ryuugaku] ศึกษาต่อต่างประเทศ | 物流センター | [ぶつりゅうせんたー, butsuryuusenta] (n) ศูนย์กระจายสินค้า | 外科医 | [ぶつりゅうせんたー, gekai] ศัลยแพทย์ | 税関 | [ぜいかん, zeikan] ศุลกากร | 産地 | [さんち, sanchi] (n) ศูนย์การผลิต |
| 技術 | [ぎじゅつ, gijutsu] TH: ศิลปะ | 中央 | [ちゅうおう, chuuou] TH: ศูนย์กลาง EN: centre | 深める | [ふかめる, fukameru] TH: ศึกษาให้ลึกซึ้ง | 強敵 | [きょうてき, kyouteki] TH: ศัตรูตัวฉกาจ EN: formidable enemy | センター | [せんたー, senta-] TH: ศูนย์(ที่เป็นสถาบันหรืออาคารที่ทำหน้าที่เป็นหน่วยงานกลาง) | 研究 | [けんきゅう, kenkyuu] TH: ศึกษาวิจัย EN: study (vs) |
| | avoir | (vt) |j'ai, tu as, il a, nous avons, vous avez, ils ont| 1. มี เช่น J'ai soif. ผมมีอาการกระหายน้ำ หรือ ผมหิวน้ำ 2. avoir ยังเป็นกิริยาช่วยในประโยคที่อยู่ในรูปอดีต (Passé composé) เช่น Hier j'ai eu trés soif dans la classe de français. เมื่อวานนี้ดิฉันหิวน้ำมากเลยค่ะในชั่วโมงภาษาฝรั่งเศส | Etats-Unis | (n) |pl.| ประเทศสหรัฐอเมริกา เช่น Je vais aux Etats-Unis. ฉันไปอเมริกา, See also: adj. americain | Noël | |m, ปกติใช้โดยไม่มีการระบุเพศ| วันคริสต์มาส เช่น 1. Noël est le 25 décembre. คริสมาสต์คือวันที่ 25 ธันวาคม 2. Bon Noël! หรือ Joyeux Noël! สุขสันต์วันคริสต์มาส Image: | ä | เป็นสระในภาษาเยอรมัน เรียกว่า a tréma ในภาษาฝรั่งเศส | ö | เป็นสระในภาษาเยอรมัน เรียกว่า o tréma ในภาษาฝรั่งเศส | ü | เป็นสระในภาษาเยอรมัน เรียกว่า ü tréma ในภาษาฝรั่งเศส | ß | เป็นสระในภาษาเยอรมัน เรียกว่า deux s ในภาษาฝรั่งเศส | Angleterre | (n) |f| ประเทศอังกฤษ, See also: anglais | Allemagne | (n) |f| ประเทศเยอรมนี, See also: allemand | Danemark | |m| ประเทศเดนมาร์ก, See also: danois |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |