ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -การจัด-, *การจัด* |
|
| การจัดสวน | (n) garden arrangement, See also: gardening, Example: งานอดิเรกของฉันคือการจัดสวน | การจัดส่ง | (n) distribution, See also: delivery, Example: การจัดส่งสินค้าสมัยปัจจุบันมีความสะดวกรวดเร็วมาก | การจัดระบบ | (n) systematization, Example: กรุงเทพมหานครปรับปรุงการจัดระบบบริการข้อมูลข่าวสารให้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น, Thai Definition: การจัดให้เป็นหมวดหมู่หรือแบ่งประเภทให้เป็นระเบียบ | การจัดแต่ง | (n) decoration, See also: adornment, ornament, embellishment, Example: การจัดแต่งสวนเป็นงานที่ฉันรัก | การจัดประเภท | (n) categorization, See also: classification, Example: การจัดประเภทของคำสามารถดูได้จากหน้าที่ของคำ | การจัดเตรียม | (n) preparation, See also: arrangement, readiness, Example: ก่อนออกเดินป่าต้องมีการจัดเตรียมข้าวของสัมภาระอย่างละเอียดรอบคอบ | การจัดจำหน่าย | (n) sale, Syn. การขาย, การจำหน่าย, Example: การจัดจำหน่ายสินค้าราคาถูกมีขึ้นที่ลานหน้าหมู่บ้าน | การจัดระเบียบทางสังคม | (n) social organization, Example: การจัดระเบียบทางสังคมก่อให้เกิดความสงบสุขในสังคม |
| การจัดรูปที่ดิน | น. การดำเนินงานพัฒนาที่ดินที่ใช้เพื่อเกษตรกรรมให้สมบูรณ์ทั่วถึงที่ดินทุกแปลงเพื่อเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนการผลิต โดยทำการรวบรวมที่ดินหลายแปลงในบริเวณเดียวกัน เพื่อวางผังจัดรูปที่ดินเสียใหม่และสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกและพัฒนาที่ดินนั้น. | การจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ | น. การดำเนินการพัฒนาที่ดินหลายแปลงโดยการวางผังจัดรูปที่ดินใหม่ ปรับปรุงหรือจัดสร้างโครงสร้างพื้นฐาน และการร่วมรับภาระและกระจายผลตอบแทนอย่างเป็นธรรม ทั้งนี้ โดยความร่วมมือระหว่างเอกชนกับเอกชนหรือเอกชนกับรัฐ เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์ในที่ดินที่เหมาะสมยิ่งขึ้นในด้านต่าง ๆ. | การจัดสรรที่ดิน | น. การจำหน่ายที่ดินที่ได้แบ่งเป็นแปลงย่อยรวมกันตั้งแต่สิบแปลงขึ้นไป ไม่ว่าจะเป็นการแบ่งจากที่ดินแปลงเดียวหรือแบ่งจากที่ดินหลายแปลงที่มีพื้นที่ติดต่อกัน โดยได้รับทรัพย์สินหรือประโยชน์เป็นค่าตอบแทน และให้หมายความรวมถึงการดำเนินการดังกล่าวที่ได้มีการแบ่งที่ดินเป็นแปลงย่อยไว้ไม่ถึงสิบแปลงและต่อมาได้แบ่งที่ดินแปลงเดิมเพิ่มเติมภายในสามปี เมื่อรวมกันแล้วมีจำนวนตั้งแต่สิบแปลงขึ้นไปด้วย. |
| | Shelving for periodical | การจัดชั้นวารสาร [เทคโนโลยีการศึกษา] | Knowledge management | การจัดการองค์ความรู้, <p>การจัดการองค์ความรู้</p> [เทคโนโลยีการศึกษา] | Database management | การจัดการฐานข้อมูล [เทคโนโลยีการศึกษา] | Information resources manegement | การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Dewey Decimal Classification | การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Acquisition | การจัดหา, Example: <p>การจัดหา (Acquisition) ในที่นี้หมายถึงการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศภายในห้องสมุด ศูนย์บริการสารสนเทศ ศูนย์บริการความรู้ ซึ่งหมายถึง กิจกรรมที่ให้ได้มาซึ่งทรัพยากรสารสนเทศ เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่า สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ โดยวิธีการต่าง ๆ ได้แก่ การจัดซื้อ การบอกรับเป็นสมาชิก การขอหรือได้รับบริจาค การแลกเปลี่ยน และการจัดทำขึ้นเอง <p>1. การจัดซื้อ เป็นวิธีที่ห้องสมุดใช้ในการจัดหามากที่สุด วิธีการจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศทั่วไปที่ห้องสมุดนิยมใช้ ได้แก่ การสั่งซื้อแบบรายย่อย การสั่งซื้อแบบรวม การสั่งซื้อแบบประจำ การสั่งซื้อแบบเสนอให้เลือก และการสั่งซื้อแบบให้ตัวแทนเลือกให้ <p>2. การขอและรับบริจาค เป็นอีกวิธีหนึ่งของการจัดหาที่ประหยัดงบประมาณของห้องสมุด วิธีการขอหรือรับบริจาคทรัพยากรสารสนเทศนั้น ห้องสมุดอาจทำเป็นครั้งคราวหรือขอสมัครเป็นสมาชิกเพื่อรับทรัพยากรสารสนเทศนั้นเป็นประจำ แหล่งที่บริจาค ได้แก่ หน่วยงานของรัฐบาล ห้องสมุด องค์กรระหว่างประเทศ องค์กรการกุศล องค์กรที่ไม่แสวงหากำไร มูลนิธิ หน่วยงานที่จัดกิจกรรมวิชาการ เช่น การประชุม สัมมนา เป็นต้น <p>3. การแลกเปลี่ยน วัตถุประสงค์ของการแลกเปลี่ยนทรัพยากรกันระหว่างห้องสมุด คือ การจัดหาทรัพยากรที่ไม่มีจำหน่ายโดยทั่วไป เช่น วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ สิ่งพิมพ์ของห้องสมุดหรือหน่วยงานที่สังกัด รายงานการประชุมหรือสัมมนา รายงานประจำปี เป็นต้น ซึ่งทรัพยากรสารสนเทศที่จะแลกเปลี่ยนดังกล่าวห้องสมุดมีซ้ำ จำนวนมากเกินความจำเป็น หรือไม่ตรงกับความต้องการของห้องสมุด <p>4. การบอกรับ เป็นวิธีจัดหาวิธีหนึ่ง นิยมใช้กับทรัพยากรสารสนเทศที่มีการปรับปรุงสารสนเทศอย่างต่อเนื่อง ซึ่งได้แก่ วารสาร และฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ / ออนไลน์ เช่น บทความวารสาร หนังสือ วิทยานิพนธ์ รายงานการประชุม เอกสารอื่น ๆ เป็นต้น การบอกรับกระทำโดยการเป็นสมาชิกของสำนักพิมพ์ / ผู้ผลิต หรือ ตัวแทนจำหน่าย / บริษัทผู้ให้บริการ <p>5. การผลิตหรือจัดทำขึ้นเอง ห้องสมุดจำเป็นต้องมีการผลิตทรัพยากรสารสนเทศเพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้ ทรัพยากรสารสนเทศที่ห้องสมุดผลิตหรือจัดทำขึ้น เช่น กฤตภาค รูปภาพ ดัชนี บรรณานุกรม จุลสาร วารสารและสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ของห้องสมุด รวมทั้งการแปลงสื่อสิ่งพิมพ์เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ / ออนไลน์ เพื่อประหยัดเนื้อที่จัดเก็บ หรือเพื่ออำนวยความสะดวกในการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด โดยเฉพาะสิ่งพิมพ์ลักษณะพิเศษ เช่น หนังสือหายาก ต้นฉบับตัวเขียน เป็นต้น ห้องสมุดจะให้บริการสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ในรูปแบบของแผ่นซีดีรอม แผ่นดีวิดี หรือฐานข้อมูลออนไลน์ <p>ด้วยวิธีการจัดหาทั้งหมดดังกล่าว ก่อให้เกิดความสำคัญในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ คือ <p>1. ทำให้ห้องสมุดได้ทรัพยากรสารสนเทศที่มีคุณค่า <p>2. ทำให้ได้ทรัพยากรสารสนเทศที่สามารถสนองความต้องการของผู้ใช้ <p>3. ทำให้ห้องสมุดประหยัดงบประมาณในการจัดหา และประหยัดเวลาในการทำงาน <p>4. ทำให้ห้องสมุดสามารถดำเนินงานได้ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Cataloging in Publication | การจัดทำข้อมูลรายการในสิ่งพิมพ์ , การจัดทำข้อมูลรายการในสิ่งพิมพ์, Example: Cataloging in Publication หรือ CIP คือ การจัดทำรายการข้อมูลในสิ่งพิมพ์ เป็นโครงการหนึ่งของหอสมุดรัฐสภาอเมริกับหน่วยงานอื่นๆ ในการจัดการรายการบรรณานุกรม โครงการนี้ เริ่มเมื่อปี ค.ศ. 1971 เพื่อกระจายข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดรัฐสภาอเมริกันและหน่วยงานที่ร่วมโครงการ ข้อมูลที่นำมาสร้างข้อมูลรายการสิ่งพิมพ์นี้ ได้มาจากสำนักพิมพ์ผู้ร่วมโครงการ มีข้อมูลมากพอที่ให้บรรณารักษ์ใช้ในการทำบัตรรายการหรือรายการหลักได้ หรือใช้เป็นตัวช่วยในการลงรายการ โดยมีการดัดแปลงหรือแก้ไขให้ตรงกับนโยบายในการลงรายการ หรือให้มีความเหมาะสมกับการให้บริการของห้องสมุดมากขึ้น ทำให้ลดเวลาในการวิเคราะห์หนังสือได้มาก สามารถส่งหนังสือออกให้บริการได้เร็วขึ้น <p> <p> การจัดทำ Cataloging ของหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน มีความสมบูรณ์ในกระบวนการจัดทำรายการบรรณานุกรมของหนังสือ กล่าวคือ สำนักพิมพ์จะต้องส่งแบบฟอร์มการลงรายการบรรณานุกรม (CIP Data Application form) พร้อมเอกสารฉบับเต็มมายังหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน ซี่งเจ้าหน้าที่ของงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศกำหนดการลงรายการบรรณานุกรม พร้อมส่งกลับไปยังสำนักพิมพ์ เพื่อจัดพิมพ์ข้อมูลบรรณานุกรมดังกล่าวลงในหน้าหลังหน้าปกใน (Verso) ซึ่งรูปแบบรายการบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้ ก็จะถูกส่งออกไปยังห้องสมุด และร้านค้าหนังสือทั่วโลก แต่กระบวนการกำหนดข้อมูลบรรณานุกรมยังไม่เสร็จสิ้นสมบูรณ์จนกว่าสำนักพิมพ์จะส่งหนังสือกลับมายังงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศอีกครั้งเพื่อเติมข้อมูลให้ครบถ้วนสมบูรณ์ เช่น จำนวนหน้า ขนาดและตรวจสอบความถูกต้องจากการพิมพ์ของสำนักพิมพ์อีกครั้ง หลังจากการตรวจสอบ รูปแบบรายการบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้จะถูกเผยแพร่อีกครั้ง จากกระบวนการดังกล่าวนี้เอง ทำให้หอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน สามารถจัดเก็บหนังสือทุกเล่มที่ผลิตในประเทศ และเป็นการควบคุมบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ที่ผลิตในประเทศสหรัฐอเมริกาได้อย่างครบถ้วน <p> <p> หอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย เป็นอีกแห่งหนึ่งที่ประสบผลสำเร็จในการจัดทำฐานข้อมูลบรรณานุกรมแห่งชาติด้วยกรอบของวิธีการ ๒ แนวทาง กล่าวคือ กฎหมายการพิมพ์ที่ให้ความสำคัญกับหอสมุดแห่งชาติในการจัดเก็บสิ่งพิมพ์ของประเทศ และการแบ่งปันรายการบรรณานุกรมระหว่างห้องสมุดทั้งภายในและต่างประเทศ โดยหน้าที่สำคัญประการหนึ่งของหอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย ก็คือ การกำหนดข้อมูลบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ซึ่งมีกระบวนการที่ไม่ต่างจากหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกันเท่าใดนัก นับตั้งแต่สำนักพิมพ์ส่งงานที่จะพิมพ์พร้อมเลข ISBN ที่ได้รับมาจากตัวแทนออกเลข ISBN จนถึงส่งมาให้หอสมุดแห่งชาติออสเตรเลียจัดทำข้อมูลบรรณานุกรมแห่งชาติ จนถึงขั้นตอนสุดท้ายของการจัดทำ CIP คือ การส่งสิ่งพิมพ์ดังกล่าวเข้าหอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย <p> <p> ส่วนหอสมุดแห่งชาติอังกฤษ สำนักพิมพ์ และร้านหนังสือที่จัดพิมพ์หนังสือใหม่ ซึ่งต้องการข้อมูลทางบรรณานุกรมของหนังสือ (Cataloguing-in-Publication - CIP) รวมถึงห้องสมุดที่ต้องการข้อมูลหนังสือใหม่เพื่อแจ้งไปยังผู้ใช้บริการในรูปแบบของ Alert services จะต้องติดต่อขอรับบริการข้อมูล CIP ที่ Bibliographic Data Services Limited - BDSL ซึ่งเป็นบริษัทเอกชนที่มีความเชี่ยวชาญในการจัดทำ CIP ซึ่งมีมาตรฐานตามที่หอสมุดแห่งชาติอังกฤษกำหนด ด้วยการติดต่อตรงไปยัง BDSL หรือติดต่อผ่านไปที่หอสมุดแห่งชาติอังกฤษ ทั้งนี้ข้อมูล CIP ที่ได้อาจใช้เป็นเพียงข้อมูลเบื้องต้นในการลงรายการข้อมูลทางบรรณานุกรม จนกว่าหอสมุดแห่งชาติอังกฤษจะได้รับตัวเล่มจากสำนักพิมพ์ จึงจะมีการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศอีกครั้งเพื่อเพิ่มเติมข้อมูลให้ครบถ้วน เพื่อเป็นแหล่งอ้างอิงที่ถาวรต่อไป <p> <p> ในประเทศไทย หอสมุดแห่งชาติ รับบริการจัดทำข้อมูลทางบรรณานุกรมให้กับสำนักพิมพ์หรือหน่วยงานที่ขอใช้บริการเช่นเดียวกับการให้บริการหมายเลข ISBN <p> <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110314-CIP.jpg" width="640" height="200" alt="CIP"> ภาพตัวอย่าง CIP หนังสือภาษาต่างประเทศ <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110315-cip.jpg" width="640" height="200" alt="CIP2"> ภาพตัวอย่าง CIP หนังสือภาษาไทย <p>รายการบรรณานุกรม <p>United States Copyright Office. [ ออนไลน์ ] http://en.wikipedia.org/wiki/United_States_Copyright_Office. Accessed: 20100628 : 00.07. <p> <p>Haddad, Peter. 1999. National bibliography in Australia: moving into the next millennium. [ ออนไลน์ ] http://archive.ifla.org/IV/ifla65/papers/016-123e.htm. Accessed: 20100629 : 09.50. <p> <p>National Library of Australia. Cataloguing-in-publication user guide. [ ออนไลน์ ] http://www.nla.gov.au/services/user-guide.html. Accessed: 20100629 : 09.55. <p> <p>Bibliographic Data Services Limited. [ ออนไลน์ ]. http://www.bibliographicdata.co.uk. Accessed: 20100629 : 17.30. <p> <p>Nielsen UK ISBN Agency. [ ออนไลน์ ] http://www.isbn.nielsenbook.co.uk/controller.php?page=121. Accessed: 20100629 : 14.25. <p> <p>The British National Bibliography. [ ออนไลน์ ] http://www.bl.uk/bibliographic/natbib.html. Accessed: 20100629 : 13:00. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Database management | การจัดการฐานข้อมูล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Filing system | การจัดเก็บเอกสาร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Knowledge management KM | การจัดการองค์ความรู้, การบริหารองค์ความรู้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
| | การจัด | [kān jat] (n) EN: arrangement ; configuration ; adjustment FR: disposition [ f ] ; organisation [ f ] ; configuration [ f ] ; ajustement [ m ] | การจัดการ | [kān jatkān] (n) EN: management ; administration ; arrangement ; handling FR: management [ m ] ; administration [ f ] | การจัดการทางการเงิน | [kān jatkān thāng kān ngoen] (n, exp) EN: financial management | การจัดการบุคลากร | [kān jatkān bukkhalākøn] (n, exp) EN: personal management | การจัดการหน่วยความจำ | [kān jatkān nūay khwāmjam] (n, exp) EN: memory management | การจัดจำหน่าย | [kān jat jamnāi] (n, exp) EN: distribution | การจัดจำหน่ายสินค้า | [kān jat jamnāi sinkhā] (n, exp) EN: distribution of goods | การจัดซื้อ | [kān jat seū] (n, exp) EN: purchasing | การจัดทำ | [kān jattham] (n) EN: compilation | การจัดที่นั่ง | [kān jat thīnang] (n, exp) EN: seat configuration FR: disposition des sièges [ f ] ; configuration des sièges [ f ] |
| franchise | (n) ธุรกิจที่ผู้ค้ารายย่อยดำเนินธุรกิจในนามของอีกบริษัทหนึ่ง โดยได้รับอนุญาตจากบริษัทนั้นๆ โดยมากก็จะขายสินค้าหรือบริการรวมทั้งมีลักษณะการดำเนินธุรกิจ, และรูปลักษณะการจัดร้านที่แนะนำหรือควบคุมโดยบริษัทผู้ให้สิทธิอนุญาต ตัวอย่างเช่น 7-11, ชายสี่หมี่เกี๊ยว | nonranking | (adj,, n) ไม่ได้รับการจัดอันดับ | DEM | (n) แบบจำลองภูมิประเทศเชิงเลข ซึ่งเป็นคำย่อมาจาก Digital Elevation Model (DEM) โดยทำการจัดสร้างขึ้นจากข้อมูลพื้นฐานประกอบด้วยค่าพิกัด X, Y และ Z ของจุดตัวอย่าง ซึ่งในทางทางระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์นิยมนำเข้าข้อมูลเส้นชั้นความสูง ยอดเขา และหลุมยุบ มาใช้ในการจัดสร้างแบบจำลองภูมิประเทศเฃิงเลขในรูปของข้อมูลเฃิงภาพหรือข้อมูลเชิงเส้น | preproduction | ขั้นตอนก่อนลงมือผลิตชิ้นงานจริง เช่น การหาข้อมูล การประชุม การไปดูสถานที่ (ถ้าต้องใช้สถานที่ในการจัดงานหรือผลิตงาน) การทำตัวอย่างชิ้นงาน (เช่น การสร้างโมเดลของสถาปนิกก่อนที่จะลงมือก่อสร้างจริง) | floristry | (n) ศิลปะการจัดดอกไม้ เช่น If you go straight into a job in floristry, you will be trained on the job by an experienced florist. | appointment | (n) 1. โองการ 2. การแต่งตั้ง, การกำหนด(วัน) 3. การนัดหมาย, การนัดพบ 4. การจัดเครื่องประดับ, เครื่องแต่ง(ห้อง), เครื่องแต่งตัว | gaslighting | (n) การจัดฉากให้คนหนึ่งๆ รู้สึกว่าสิ่งที่เขาเข้าใจนั้นผิด, การปั่นหัวให้มีความเชื่อที่ผิดๆ จนทำให้เขาตั้งคำถามกับเกี่ยวกับสุขภาพจิตของตนเอง | sportswashing | (n) วิธีการใช้การจัดงานมหกรรมกีฬา เช่น โอลิมปิก ฟุตบอลโลก หรือสร้างกิจกรรมเกี่ยวกับกีฬา เช่น ซื้อทีมฟุตบอล เป็นเครื่องมือในการสร้างภาพลักษณ์ที่ดี เพื่อกลบเกลื่อนเรื่องที่ไม่ดี หรือ ข่าวฉาวในเรื่องอื่นๆ |
| administration | (n) การจัดแบ่งทรัพย์สินที่ดิน (ของผู้ตายหรือของบริษัท) | administration | (n) การบริหาร, See also: การจัดการ, Syn. management | adornment | (n) การประดับประดา, See also: การจัดแต่ง, การตกแต่ง, Syn. ornamentation, embellishment | alignment | (n) การจัดให้ถูกตำแหน่ง | alignment | (n) การวางแนว, See also: การจัดเรียง, การจัดให้เป็นแถวตรง, Syn. arrangement, adjustment | allocation | (n) การแบ่งส่วน, See also: การจัดสรรปันส่วน, Syn. allotment, distribution | allotment | (n) การจัดแบ่ง, Syn. distribution, allocation | apportionment | (n) การจัดสรร, See also: การแบ่งสันปันส่วน, Syn. allotment, partition | appropriation | (n) การจัดสรรไว้, Syn. allocation, allotment | arrangement | (n) การจัดการ |
| adjustment | (อะจัสทฺ' เมินทฺ) n. การปรับตัว, การจัด, การปรองดอง, การแก้ไข, ตัวปรับ | administrative | (แอดมิน' นิสเทรทิฟว) adj. ซึ่งเกี่ยวกับการจัดการหรือบริหาร (managerial) | adobe pagemaker | โปรแกรมอโดบี เพจเมกเกอร์ <คำแปล>PageMakerเป็นชื่อโปรแกรมสำเร็จที่ใช้ในการจัดหน้าสิ่งพิมพ์ เป็นโปรแกรมที่ได้รับความนิยมมากโปรแกรมหนึ่ง เดิมใช้ชื่อ Aldus PageMaker | adobe photoshop | โปรแกรมอโดบี โฟโทช็อป <คำแปล>Photoshopเป็นชื่อโปรแกรมสำเร็จโปรแกรมหนึ่งที่ช่วยในการแก้ไขปรับแต่งภาพ โดยเฉพาะภาพถ่าย ปัจจุบันนิยมใช้กันมาก มักใช้ในการจัดทำสิ่งพิมพ์คู่กับโปรแกรม อโดบี เพจเมกเกอร์ (Adobe PageMaker) บริษัทอโดบีเป็นบริษัทที่ผลิตซอฟต์แวร์ใหญ่ที่สุดบริษัทหนึ่ง โปรแกรมดัง ๆ ที่นิยมใช้ในปัจจุบันนอกจาก Photoshop, PageMaker แล้ว ยังมี Adobe Acrobat, Adobe Illustrator, Adobe Type Manager เป็นต้น) | allocation | (แอลโลเค' เชิน) n. การจัดสรร, การแบ่งสรร, การบรรจุ, ภาวะที่ถูกจัดสรรหรือแบ่งสรร, ส่วนแบ่ง, การลงบัญชี, Syn. allotment | allotment | (อะลอท' เมินทฺ) n. การจัดแบ่ง, การจัดสรร, ส่วนที่จัดแบ่ง, ส่วนแบ่งที่ได้รับ, ที่ดินที่ให้คนสวนเช่า (share, portion, deal) | appropriation | (อะโพรพริเอ'เชิน) n. การจัดสรรไว้, การตั้งเงินไว้เป็นพิเศษ, Syn. funds, allocation, allotment | arrangement | (อะเรนจฺ'เมินทฺ) n. การจัด, การจัดการ, ภาวะที่ถูกจัด, ลักษณะการจัด, การตระเตรียม, เพลงที่ได้มีการปรับปรุงใหม่, Syn. plan, preparation, Ant. disarrangement | arrayal | (อะเร'เอิล) n. การจัดเรียง, การสวมใส่เสื้อผ้า, สิ่งที่จัดเรียง, Syn. arrangement | ascii file | แฟ้มข้อมูลแอสกี <คำแปล>หมายถึงแฟ้มข้อมูลที่ไม่ใช่โปรแกรม มีตัวอักขระที่ใช้เป็นรหัสแอสกีทั้งหมด บางที เรียกว่า " text file " แฟ้มแอสกี (ASCII file) มีลักษณะเฉพาะคือเป็นแฟ้มที่ไม่มีรูปแบบในการจัดหน้า ข้อความจะยาวไปเรื่อย ๆ โดยไม่มีการขึ้นบรรทัดใหม่ นอกจาก จะเริ่มระเบียนใหม่ โปรแกรมเวิร์ด สตาร์ (WordStar) เป็นผู้นำคำนี้มาใช้ก่อน (ตรงข้ามกับ document file ซึ่งหมายถึง แฟ้มข้อมูลที่มีการจัดรูปหน้าไว้แล้ว) ส่วนมากจะใช้ศัพท์นี้เมื่อต้องการเปลี่ยน (convert) แฟ้มข้อมูลของโปรแกรมหนึ่งเป็นอีกโปรแกรมหนึ่ง เช่นจาก Word Perfect เป็น Microsoft Word ในกรณีเช่นนี้ อาจจะมีเมนูให้เลือกได้ว่าจะเปลี่ยนเป็น text file หรือ ASCII file หรือไม่ ซึ่งก็หมายความว่าเปลี่ยนเป็นแฟ้มข้อมูลที่ใช้รหัสแอสกีทั้งหมด ทำให้สามารถใช้ร่วมกันได้ ภายใต้ระบบปฏิบัติการเดียวกัน นิยมใช้กันมากในระบบสื่อสารและถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล |
| administration | (n) การจัดการ, การปกครอง, การบริหาร | administrative | (adj) เกี่ยวกับการจัดการ, เกี่ยวกับการบริหาร | alignment | (n) การจัดแถว, การวางแนว, การจัดขบวน | alinement | (n) การจัดแถว, การวางแนว, การจัดขบวน | allocation | (n) การจัดสรร, การแจกจ่าย, การแบ่งสรร | allotment | (n) การแบ่งสันปันส่วน, การแจกจ่าย, การจัดแบ่ง, การให้ | appropriation | (n) การถือเอา, การจัดสรร, เงินที่ตั้งไว้ | arrangement | (n) การจัดการ, การเตรียม, การเตรียมการ | assortment | (n) การจัดพวก, การแบ่งประเภท, การเลือกสรร | classification | (n) การแบ่งประเภท, การจัดหมวดหมู่, การแยกประเภท |
| catering | [แคท เทอ ริ่ง] (n) การจัดอาหารให้ในงานเลี้ยง, บริการจัดเตรียมอาหาร, จัดเลี้ยง | folksonomy | (n) การจัดกลุ่ม หรือ แบ่งกลุ่ม อย่างไม่เป็นทางการ มีที่มาจากคำว่า folk + taxonomy | hierarchy of genres | [ไฮ-รา-คี-ออฟ-เจ็น-เรส] (n) การจัดลำดับคุณค่าของศิลปะ เป็นทฤษฎีการจัดประเภทของศิลปะ (genre) ตามระดับความสำคัญที่ระบุไว้เช่นในการจัดของสมาคมศิลปะแห่งฟลอเรนซ์ และในคริสต์ศตวรรษที่ 17 โดยอังเดร เฟลิเบียงแห่งสถาบันศิลปะฝรั่งเศสที่ลำดับเป็นห้าลำดับ: ภาพประวัติศาสตร์และศาสนา, ภาพเหมือน, ภาพชีวิตประจำวัน, ภาพภูมิทัศน์ และภาพนิ่ง (Source: visual-arts-cork.com) | triage | (n) การจัดหาทรัพยากรพื้นฐานสำหรับปัญหาต่างๆ เช่น อาหารสำหรับผู้ประสบภัย | typology | (n) การจัดกลุ่ม |
| 発送 | [はっそう, hassou] (n) การจัดส่ง, การส่งต่อ |
| 荷造する | [にづくりする, nizukurisuru] (n, vt) การจัดของเพื่อการขนย้าย | 荷造 | [にづくり, nizukuri] การจัดของเพื่อการขนย้าย | 荷造り | [にづくり(する), nizukuri ( suru )] (n, vt) การจัดของสำหรับขนย้าย | 成立 | [せいりつ, seiritsu] (n) การจัดการ, การคงอยู่, การก่อตั้ง, การทำให้สมบูรณ์, การทำให้สำเร็จ | 分類 | [ぶんるい, bunrui] (n) การจัดแบ่งประเภท | 配達 | [はいたつ, haitatsu] (n) การจัดส่ง | 物流 | [ぶつりゅう, butsuryuu] การจัดส่ง, การกระจาย (สินค้า) | 安全衛生管理 | [かんぜんえいせいかんり, kanzen'eiseikanri] (n) การจัดการด้านความปลอดภัยและสุขอนามัย |
| 調節 | [ちょうせつ, chousetsu] TH: การจัดให้เป็นระเบียบหรือเหมาะสม EN: regulation (vs) | 開催 | [かいさい, kaisai] TH: การจัดงานขนาดใหญ่เป็นทางการ EN: holding a meeting | 処理 | [しょり, shori] TH: การจัดการ EN: management (vs) | 運営 | [うんえい, un'ei] TH: การจัดการ EN: management | 整え | [ととのえ, totonoe] TH: การจัดเตรียม EN: prepare |
| | contre-mesure | (n) |f| นโยบายหรือมาตรการ ในการจัดการแก้ไขปัญหาหรือเพื่อต่อต้านสิ่งที่ไม่ดีงาม |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |