ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -บรรณ-, *บรรณ* |
| |
| | Annotated bibliography | บรรณนิทัศน์ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Bibliography | บรรณานุกรม [เทคโนโลยีการศึกษา] | Author bibliography | บรรณานุกรมของผู้แต่ง [เทคโนโลยีการศึกษา] | Annotated bibliography | บรรณนิทัศน์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Author bibliographies | บรรณานุกรมของผู้แต่ง, บรรณานุกรมของผู้แต่ง, Example: เป็นรายชื่อผลงานของผู้แต่งที่รวบรวมขึ้น <p> <p>ตัวอย่าง บรรณานุกรมของผู้แต่ง <p> <p> 1. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ ของพระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป) <p> 2. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ ของศาสตราจารย์ พระยาอนุมานราชธน <p> 3. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ ของศาสตราจารย์พระยาอนุมานราชธน และพระสารประเสริฐ <p> 4. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ของ ศาสตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล <p> 5. บรรณานุกรมงานส่วนบุคคลของศาสตราจารย์บุญชนะ อัตถากร <p> 6. บรรณานุกรมประกอบบรรณนิทัศน์ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว <p> 7. บรรณานุกรมพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว และเรื่องที่เกี่ยวข้อง <p> 8. เรียงร้อยบรรณรัตน์ : บรรณานุกรมและดรรชนีพระราชนิพนธ์ใน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี <p> 9. รายชื่อหนังสือพระนิพนธ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Librarian | บรรณารักษ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Reference librarian | บรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า, Example: Reference librarian หมายถึง บรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า มีหน้าที่ให้บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้าหาคำตอบที่ผู้ใช้ห้องสมุดต้องการ และช่วยให้ผู้ใช้ห้องสมุดได้รับประโยชน์อย่างเต็มที่จากหนังสือและวัสดุต่าง ๆ ของห้องสมุด <p> คุณสมบัติของบรรณารักษ์บริการตอบคำถามฯ <p> ศาสตราจารย์คุณหญิงแม้นมาศ ชวลิต ได้ให้ทัศนะเกี่ยวกับคุณสมบัติที่ดีของบรรณารักษ์บริการตอบคำถามฯ ไว้ดังนี้ <p> - มีความรู้เกี่ยวกับหนังสืออ้างอิงเป็นอย่างดี มีความเข้าใจและคุ้นเคยกับแหล่งความรู้ที่มีอยู่ในห้องสมุด <p> - มีมนุษยสัมพันธ์อันดี <p> - มีความสนใจในวิชาการต่างๆ หมั่นศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอ <p> - มีความอดทน พากเพียร <p> - มีไหวพริบดีในการรวบรวม วิเคราะห์ปัญหาว่าอยู่ในแนวใด ควรหาคำตอบจากแหล่งใด <p> - มีความจำดี <p> - มีจินตนาการดี รู้จักการยืดหยุ่น ไม่ฝังความคิดไว้ในด้านเดียว <p> - ช่างสังเกต รอบคอบ <p> - ตัดสินใจดี รู้จักเลือกแหล่งคำตอบที่เหมาะสม <p> - รู้จักวิธีการพูดคุย ซักถามอย่างเป็นกันเองกับผู้ใช้ <p> - กระตือรือร้นที่จะช่วยเหลือผู้ใช้อยู่เสมอ <p> การให้บริการของบรรณารักษ์บริการตอบคำถามฯ นอกจากการให้บริการที่โต๊ะให้บริการตอบคำถามแล้ว ยังสามารถให้บริการโดยทางโทรศัพท์ โดยทางอี-เมล์ หรือโดยผ่านการสนทนาทางออนไลน์ อย่างไรก็ตาม บทบาทของบริการตอบคำถามในปัจจุบันกำลังเปลี่ยนไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ใช้ห้องสมุดสามารถใช้ Google และเข้าถึงแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ทางออนไลน์ได้มากขึ้น ดังนั้น บรรณารักษ์บริการตอบคำถามอาจไม่ต้องตอบคำถามหรือเก็บข้อมูลมากเหมือนในอดีต แต่ควรเน้นที่การให้คำแนะนำผู้ใช้ให้รู้จักวิธีค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเองจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ หรือช่วยแนะนำแหล่งความรู้ที่เป็นประโยชน์เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัยต่อไป [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | School librarian | บรรณารักษ์ห้องสมุดโรงเรียน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Bibliography | บรรณานุกรม, Example: หรือ เอกสารอ้างอิง คือ รายชื่อทรัพยากรสารสนเทศ (หนังสือ บทความจากวารสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ฐานข้อมูลออนไลน์ ข้อมูลจากเว็บไซต์ต่าง ๆ) ที่ผู้เขียนใช้ประกอบการเขียนหนังสือเล่มนั้น หรืออาจเป็นรายชื่อที่ผู้เขียนแนะนำให้อ่านเพิ่มเติม อาจอยู่ท้ายเล่มหรือท้ายบทแต่ละบทก็ได้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Bibliography of bibliographies | บรรณานุกรมของบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
| | บรรณ | [ban] (n) EN: book ; work ; literature FR: livre [ m ] ; ouvrage [ m ] | บรรณ | [ban] (n) EN: leaf FR: feuille [ f ] | บรรณสาร | [bannasān] (n) EN: papers ; archives FR: document officiel [ m ] | บรรณาการ | [bannākān] (n) EN: tribute ; present ; gift FR: cadeau [ m ] ; présent [ m ] | บรรณาธิการ | [bannāthikān] (n) EN: editor FR: éditeur [ m ] ; directeur de publication [ m ] ; rédacteur en chef [ m ] | บรรณาธิการอำนวยการ | [bannāthikān amnūaykān] (n, exp) EN: editor in chief | บรรณาธิการิณี | [bannāthikārinī] (n) EN: editress ; woman editor FR: directrice de publication [ f ] ; rédactrice en chef [ f ] ; éditrice [ f ] | บรรณานุกรม | [bannānukrom] (n) EN: bibliography FR: bibliographie [ f ] | บรรณารักษ์ | [bannārak] (n) EN: librarian FR: bibliothécaire [ m, f ] |
| exegete | (n) อรรถกถาจารย์ - ผู้เขียนหนังสืออธิบายข้อพระคัมภีร์ของศาสนาต่างๆ เช่นหนังสืออธิบายข้อพระคริสต์ธรรมคัมภีร์ หรือหนังสืออธิบายข้อพระธรรมเบญจบรรณ หรือหนังสืออธิบายพระไตรปิฏก หรือหนังสืออธิบายคัมภีร์พระเวท หรือหนังสืออธิบายคัมภีร์อัลกุรอ่านก็ได้ทั้งนั้น, Syn. commentator | midrash | (n) หนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณ(คัมภีร์ห้าเล่มแรกของชาวยิว) ซึ่งประกอบด้วยสองส่วนคือ Halakhah ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณที่เกี่ยวกับธรรมบัญญัติ และ Aggadah ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณในส่วนที่ไม่เกี่ยวกับธรรมบัญญัติ, See also: Talmud, Mikra, Masorah, Syn. Exegesis | halakhah | (n) เป็นส่วนหนึ่งของหนังสือ Midrash ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณ(คัมภีร์ห้าเล่มแรกของชาวยิว) ซึ่งประกอบด้วยสองส่วนคือ Halakhah ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณที่เกี่ยวกับธรรมบัญญัติ และ Aggadah ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณในส่วนที่ไม่เกี่ยวกับธรรมบัญญัติ, See also: Midrash, Aggadah, Syn. exegesis | aggadah | (n) เป็นส่วนหนึ่งของหนังสือ Midrash ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณ(คัมภีร์ห้าเล่มแรกของชาวยิว) ซึ่งประกอบด้วยสองส่วนคือ Halakhah ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณที่เกี่ยวกับธรรมบัญญัติ และ Aggadah ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณในส่วนที่ไม่เกี่ยวกับธรรมบัญญัติ, See also: Midrash, Halakhah, Syn. exegesis | colophon | (n) ข้อมูลทางบรรณานุกรม, ชื่อและที่อยู่ของสำนักพิมพ์บนปกหน้าของหนังสือ |
| | belles-lettres | (เบลเล'ทระ) n., pl. วรรณคดี, วรรณวิจิตร, See also: belletrist n. นักรรณคดี, นักวรรณวิจิตร -belletristic adj. เกี่ยวกับรรณคดี, เกี่ยวกับวรรณวิจิตร | bibliographer | (บิบบลิออก'กระเฟอร์) n. ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับบรรณานุกรม | bibliography | (บิบบลิออก'กระฟี่) n. บรรณานุกรม, รายชื่อหนังสือเฉพาะเรื่องหรือกลุ่มเรื่อง, See also: bibliographic adj. เกี่ยวกับบรรณานุกรม bibliographical adj. เกี่ยวกับบรรณานุกรม | city room | n. ห้องข่าวท้องถิ่น, คณะบรรณาธิการข่าวท้องถิ่น | coeditor | n. บรรณาธิการร่วม | columnist | (คอล'ลัมนิสทฺ) n. นักเขียนหรือบรรณาธิการคอลัมน์หนังสือพิมพ์, | desk | (เดสคฺ) โต๊ะทำงาน, แท่นอ่าน , กอง ฝ่ายหรือแผนก, ที่ตั้งโน๊ตดนตรี, กองบรรณาธิการ adj. เกี่ยวกับโต๊ะ | edit | (เอด, 'ดิท) { edited, editing, edits } vt. เรียบเรียง, แก้ไข, ตัดตอน, ตัดย่อ, เป็นบรรณาธิการ, ลำดับเรื่อง, พิมพ์โฆษณา, Syn. correct, revise | edit mode | ภาวะบรรณาธิกรหมายถึง การที่คอมพิวเตอร์อยู่ในสภาวะที่เตรียมพร้อมจะรับการแก้ไข เราสามารถสั่งแก้ไขข้อความบนจอภาพได้ โดยผ่านทางแป้นพิมพ์ | edit progam | ชุดคำสั่งบรรณาธิกรหมายถึงโปรแกรม หรือชุดคำสั่งที่เตรียมไว้ในซอฟต์แวร์ระบบ มีหน้าที่ช่วยตรวจแก้ไขชุดคำสั่งต่าง ๆ มีความหมายเหมือน editor |
| bibliographer | (n) บรรณารักษ์ | bibliography | (n) บรรณานุกรม, รายชื่อเอกสารอ้างอิง | copyreader | (n) คนตรวจสอบ, บรรณาธิการ, คนพิสูจน์อักษร | desk | (n) โต๊ะ, โต๊ะทำงาน, กองบรรณาธิการ, แท่นอ่านคัมภีร์, ฝ่าย, แผนก | editor | (n) บรรณาธิการ, ผู้เรียบเรียง, ผู้รวบรวม | editorial | (adj) เกี่ยวกับบรรณาธิการ, เกี่ยวกับบทความ, เกี่ยวกับบทบรรณาธิการ | editorial | (n) หน้าบรรณาธิการ, บทนำ, บทความ, บทบรรณาธิการ | etiquette | (n) มารยาท, สมบัติผู้ดี, ธรรมเนียมปฏิบัติ, จรรยาบรรณ | librarian | (n) บรรณารักษ์ | tributary | (adj) ซึ่งต้องส่งเครื่องบรรณาการ, ที่เป็นเมืองขึ้น |
| | Redaktion | (n) |die, pl. Redaktionen| กองบรรณาธิการหนังสือ, คณะทำงานในกองถ่ายภาพยนตร์เกี่ยวกับสารคดี |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |