ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -กับ ๑-, *กับ ๑* |
(Few results found for กับ ๑ automatically try *กับ ๑*) |
กับ ๑ | น. เครื่องดักสัตว์ชนิดหนึ่ง มีลิ้นหรือไก เมื่อไปกระทบเข้าก็จะปิดหรืองับทันที, โดยปริยายหมายถึงอุบายที่ใช้ล่อให้หลงเชื่อ. | ประกับ ๑ | ก. ประกอบเข้าทั้ง ๒ ข้างเพื่อให้แน่น. | กระเบียด | น. มาตราวัดตามวิธีประเพณี ๑ กระเบียด เท่ากับ ๑ ใน ๔ ส่วนของนิ้ว. | กระผีก | น. มาตราตวง มีพิกัดเท่ากับ ๑ ภาค (คือ ๑ ใน ๔) ของกระเพาะ. | กรีส ๒ | (กะหฺรีด) น. มาตราวัดความยาว เท่ากับ ๑ เส้น ๑๑ วา ๑ ศอก หรือ ๑๒๕ ศอก, ความจุเท่ากับ ๔ อัมพณะ คือ ประมาณ ๔๔ ทะนาน. | กิโลกรัม | น. ชื่อมาตราชั่งนํ้าหนัก เท่ากับ ๑, ๐๐๐ กรัม, อักษรย่อว่า กก., (ปาก) เรียกสั้น ๆ ว่า กิโล หรือ โล. | กิโลไซเกิล | น. หน่วยวัดความถี่ของกระแสไฟฟ้าสลับหรือคลื่นวิทยุ มีค่าเท่ากับ ๑, ๐๐๐ ไซเกิลต่อวินาที, ปัจจุบันใช้ว่า กิโลเฮิรตซ์. | กิโลเมตร | น. ชื่อมาตราวัด เท่ากับ ๑, ๐๐๐ เมตร, อักษรย่อว่า กม., (ปาก) เรียกสั้น ๆ ว่า กิโล. | กิโลลิตร | น. ชื่อมาตราตวง เท่ากับ ๑, ๐๐๐ ลิตร หรือ ๑ ลูกบาศก์เมตร, อักษรย่อว่า กล. | กิโลเฮิรตซ์ | น. หน่วยวัดความถี่ของกระแสไฟฟ้าสลับหรือคลื่นวิทยุ ใช้สัญลักษณ์ kHz ๑ กิโลเฮิรตซ์ มีค่าเท่ากับ ๑, ๐๐๐ เฮิรตซ์ หรือเท่ากับ ๑, ๐๐๐ ไซเกิลต่อวินาที. | กุมุท | เลขนับจำนวนสูงเท่ากับ ๑๐, ๐๐๐, ๐๐๐ ยกกำลัง ๑๕ หรือ ๑ มี ๐ ตามหลัง ๑๐๕ ตัว. | กุรุส | น. มาตรานับจำนวน เท่ากับ ๑๒ โหล หรือ ๑๔๔. | โกฏิ | (โกด) น. ชื่อมาตรานับ เท่ากับ ๑๐ ล้าน. | ไข่เหา | น. ชื่อมาตราวัดโบราณ, ๘ เส้นผม เท่ากับ ๑ ไข่เหา ๘ ไข่เหา เท่ากับ ๑ ตัวเหา. | คืบ ๑ | มาตราวัดตามวิธีประเพณี ๑ คืบ เท่ากับ ๑๒ นิ้ว, อักษรย่อว่า ค. | งาน ๒ | น. มาตราวัดเนื้อที่ตามวิธีประเพณี เท่ากับ ๑๐๐ ตารางวา หรือ ๔๐๐ ตารางเมตร, ลักษณนามเรียกเนื้อที่ ๑๐๐ ตารางวา หรือ ๔๐๐ ตารางเมตรว่า งานหนึ่ง หรือ ๑ งาน, อักษรย่อว่า ง. | ชั่ง | ชื่อมาตราวัดน้ำหนักตามวิธีประเพณีแบบไทย ๒๐ ตำลึง เป็น ๑ ชั่ง หรือมีน้ำหนักเท่ากับ ๑, ๒๐๐ กรัม, ถ้าเป็นชั่งจีนมีนํ้าหนักเท่ากับ ๖๐๐ กรัม คือเป็นครึ่งหนึ่งของชั่งไทย. | ชั้นฉาย | น. ชื่อหน่วยในมาตราวัดเวลาในสมัยโบราณ วัดโดยอาศัยการวัดเงาของตัวคนที่เกิดจากแสงแดดด้วยระยะความยาวของฝ่าเท้าของบุคคลนั้น ตอนเช้าหรือเย็นเงาจะทอดยาว และตอนเที่ยงเงาจะสั้นที่สุดหรืออาจไม่มีเลย เงาจะเปลี่ยนสั้นยาวได้จากเดือนหนึ่งไปสู่อีกเดือนหนึ่ง, เงายาว ๑ ฝ่าเท้า เรียกว่า ๑ ชั้นฉาย สามารถเทียบเวลาได้ ถ้าเป็นตอนเช้าเท่ากับ ๑๑.๔๕ นาฬิกา ถ้าเป็นตอนบ่ายเท่ากับ ๑๒.๑๕ นาฬิกา เช่น ปีขาลวันอังคารเดือนห้า ตกฟากเวลาสามชั้นฉาย (ขุนช้างขุนแผน). | เซนติกรัม | (-กฺรำ) น. ชื่อมาตราชั่งตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐๐ ของ ๑ กรัม, อักษรย่อว่า ซก. | เซนติเมตร | น. ชื่อมาตราวัดตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐๐ ของ ๑ เมตร, อักษรย่อว่า ซม., (ปาก) เรียกสั้น ๆ ว่า เซ็นต์. | เซนติลิตร | น. ชื่อมาตราตวงตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐๐ ของ ๑ ลิตร, อักษรย่อว่า ซล. | เดคากรัม | (-กฺรำ) น. ชื่อมาตราชั่งตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑๐ กรัม, อักษรย่อว่า ดคก. | เดคาเมตร | น. ชื่อมาตราวัดตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑๐ เมตร, อักษรย่อว่า ดคม. | เดคาลิตร | น. ชื่อมาตราตวงตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑๐ ลิตร, อักษรย่อว่า ดคล. | เดซิกรัม | (-กฺรำ) น. ชื่อมาตราชั่งตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของกรัม, อักษรย่อว่า ดก. | เดซิเมตร | น. ชื่อมาตราวัดตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของเมตร, อักษรย่อว่า ดม. | เดซิลิตร | น. ชื่อมาตราตวงตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของลิตร, อักษรย่อว่า ดล. | ตัน ๒ | น. มาตรานํ้าหนักและมาตราวัด มีหลายอัตราแล้วแต่วัตถุที่ใช้ คือ ๑. เมตริกตัน มาตราชั่งเท่ากับนํ้าหนัก ๑, ๐๐๐ กิโลกรัม หรือ หาบหลวง หรือเป็นมาตราวัดเท่ากับ ๑.๑๓ ลูกบาศก์เมตร หรือ ๔๐ ลูกบาศก์ฟุต. ๒.ตันระวางเรือ ถ้าคำนวณระวางบรรทุกสินค้าและห้องทั่วไป เรียก ตันกรอส, ถ้าคำนวณเฉพาะบรรทุกสินค้า เรียก ตันเน็ต, และถ้าคำนวณนํ้าหนักทั้งลำเรือเช่นเรือรบ เรียก ตันระวางขับน้ำ, ทั้ง ๓ นี้วัด ๑๐๐ ลูกบาศก์ฟุต เป็นตันหนึ่งเช่นเดียวกัน. ๓. ตันระวางบรรทุกอื่น ๆ ถ้าของหนักคิด ๑, ๐๑๖.๐๔๗ กิโลกรัม เป็นตันหนึ่ง ถ้าเป็นของเบาคิดวัด ๑.๑๓ ลูกบาศก์เมตร หรือ ๔๐ ลูกบาศก์ฟุต เป็นตันหนึ่ง. | ตำลึง ๒ | น. มาตราเงินตามวิธีประเพณี ๔ บาท เท่ากับ ๑ ตําลึง, เขียนตามวิธีโบราณดังนี้ หมายความว่า ๔ ตําลึง | ตุลา | ชื่อมาตราวัดนํ้าหนักมคธเท่ากับ ๑๐๐ ปละ. | ทศ ๑, ทศ- | (ทด, ทดสะ-) น. เรียกเหรียญทองสมัยรัชกาลที่ ๔ ชนิดหนึ่ง มีค่าเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของชั่ง = ๘ บาท ว่า ทองทศ. | ทศางค์ | (ทะสาง) น. มาตราวัดนํ้าฝนเท่ากับ ๑๐ สตางค์ เป็น ๑ ทศางค์, และ ๑๐ ทศางค์ เป็น ๑ นิ้ว. | ทองทศ | น. ค่ากำหนดแลกเปลี่ยนของเหรียญทองกระษาปณ์ในสมัยรัชกาลที่ ๔ เท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของชั่ง = ๘ บาท. | ทองพัดดึงส์ | น. ค่ากำหนดแลกเปลี่ยนของเหรียญทองกระษาปณ์ในสมัยรัชกาลที่ ๔ เท่ากับ ๑ ใน ๓๒ ของชั่ง = ๒.๕๐ บาท. | ทองพิศ | น. ค่ากำหนดแลกเปลี่ยนของเหรียญทองกระษาปณ์ในสมัยรัชกาลที่ ๔ เท่ากับ ๑ ใน ๒๐ ของชั่ง = ๔ บาท. | ทะนานหลวง | น. ชื่อหน่วยในมาตราตวง มีอัตราเท่ากับ ๑ ลิตร, อักษรย่อว่า ท. | เที่ยง | เรียกเวลากึ่งกลางของกลางวันที่พระอาทิตย์อยู่ตรงศีรษะ ว่า เที่ยง หรือ เที่ยงวัน ตรงกับ ๑๒ นาฬิกา, เรียกเวลากึ่งกลางของกลางคืน ว่า เที่ยงคืน ตรงกับ ๒๔ นาฬิกา. | นอต ๑ | น. หน่วยแสดงความเร็วของสิ่งใดสิ่งหนึ่งตามระบบการเดินเรือ มีค่าเท่ากับ ๑ ไมล์ทะเลต่อชั่วโมง หรือ ๑.๘๕๒ กิโลเมตรต่อชั่วโมง เช่น เรือแล่นได้เร็ว ๘ ไมล์ทะเลต่อชั่วโมง เรียกว่า เรือมีความเร็ว ๘ นอต ลมมีความเร็ว ๕๐ ไมล์ทะเลต่อชั่วโมง เรียกว่า ลมมีความเร็ว ๕๐ นอต. | นาที | น. ชื่อหน่วยเวลา เท่ากับ ๑ ใน ๖๐ ของชั่วโมง. | นิรัพพุท | (-รับพุด) น. สังขยาจำนวนสูง เท่ากับ ๑ มี ๐ ตามหลัง ๖๓ ตัว บ้างว่า ๑๐๐ ล้าน. | บั้นหลวง | น. ชื่อมาตราตวงตามวิธีประเพณี มีอัตราเท่ากับ ๑, ๐๐๐ ลิตร. | บาท ๒ | น. มาตราเงินตามวิธีประเพณี ๑๐๐ สตางค์ หรือ ๔ สลึง เท่ากับ ๑ บาท, อักษรย่อว่า บ. | บาท ๔ | น. ช่วงเวลาเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของชั่วโมง เท่ากับ ๖ นาที, โบราณเขียนเป็น บาตร ก็มี เช่น ย่ำรุ่งสองนาลิกา เสษสังขยาห้าบาตร (ตะเลงพ่าย). | บาร์ ๑ | น. หน่วยวัดความกดอากาศ ๑ บาร์มีค่าเท่ากับ ๑๐๖ ดายน์ต่อตารางเซนติเมตร หรือ ๑๐๕ นิวตันต่อตารางเมตร | ปอนด์ | น. ชื่อหน่วยเงินตราของอังกฤษเท่ากับ ๑๐๐ เพนซ์, ปอนด์สเตอร์ลิง ก็เรียก | ผล | จำนวนที่ได้จากการคำนวณ เช่น ๕ กับ ๗ บวกกัน ได้ผลเท่ากับ ๑๒, ผลลัพธ์ ก็ว่า. | พัดดึงส์ | น. เรียกเหรียญทองครั้งรัชกาลที่ ๔ ชนิดหนึ่ง มีค่าเท่ากับ ๑ ใน ๓๒ ของชั่ง = ๒.๕๐ บาท. | พิศ ๒ | น. เรียกเหรียญทองครั้งรัชกาลที่ ๔ ชนิดหนึ่ง มีค่าเท่ากับ ๑ ใน ๒๐ ของชั่ง = ๔ บาท ว่า ทองพิศ. | ไพ | น. มาตราเงินตามวิธีประเพณี ๒ อัฐ เท่ากับ ๑ ไพ. | ฟุต | น. มาตราวัดของอังกฤษ ๑ ฟุต เท่ากับ ๑๒ นิ้ว. |
|
| กับ ๑ | น. เครื่องดักสัตว์ชนิดหนึ่ง มีลิ้นหรือไก เมื่อไปกระทบเข้าก็จะปิดหรืองับทันที, โดยปริยายหมายถึงอุบายที่ใช้ล่อให้หลงเชื่อ. | ประกับ ๑ | ก. ประกอบเข้าทั้ง ๒ ข้างเพื่อให้แน่น. | กระเบียด | น. มาตราวัดตามวิธีประเพณี ๑ กระเบียด เท่ากับ ๑ ใน ๔ ส่วนของนิ้ว. | กระผีก | น. มาตราตวง มีพิกัดเท่ากับ ๑ ภาค (คือ ๑ ใน ๔) ของกระเพาะ. | กรีส ๒ | (กะหฺรีด) น. มาตราวัดความยาว เท่ากับ ๑ เส้น ๑๑ วา ๑ ศอก หรือ ๑๒๕ ศอก, ความจุเท่ากับ ๔ อัมพณะ คือ ประมาณ ๔๔ ทะนาน. | กิโลกรัม | น. ชื่อมาตราชั่งนํ้าหนัก เท่ากับ ๑, ๐๐๐ กรัม, อักษรย่อว่า กก., (ปาก) เรียกสั้น ๆ ว่า กิโล หรือ โล. | กิโลไซเกิล | น. หน่วยวัดความถี่ของกระแสไฟฟ้าสลับหรือคลื่นวิทยุ มีค่าเท่ากับ ๑, ๐๐๐ ไซเกิลต่อวินาที, ปัจจุบันใช้ว่า กิโลเฮิรตซ์. | กิโลเมตร | น. ชื่อมาตราวัด เท่ากับ ๑, ๐๐๐ เมตร, อักษรย่อว่า กม., (ปาก) เรียกสั้น ๆ ว่า กิโล. | กิโลลิตร | น. ชื่อมาตราตวง เท่ากับ ๑, ๐๐๐ ลิตร หรือ ๑ ลูกบาศก์เมตร, อักษรย่อว่า กล. | กิโลเฮิรตซ์ | น. หน่วยวัดความถี่ของกระแสไฟฟ้าสลับหรือคลื่นวิทยุ ใช้สัญลักษณ์ kHz ๑ กิโลเฮิรตซ์ มีค่าเท่ากับ ๑, ๐๐๐ เฮิรตซ์ หรือเท่ากับ ๑, ๐๐๐ ไซเกิลต่อวินาที. | กุมุท | เลขนับจำนวนสูงเท่ากับ ๑๐, ๐๐๐, ๐๐๐ ยกกำลัง ๑๕ หรือ ๑ มี ๐ ตามหลัง ๑๐๕ ตัว. | กุรุส | น. มาตรานับจำนวน เท่ากับ ๑๒ โหล หรือ ๑๔๔. | โกฏิ | (โกด) น. ชื่อมาตรานับ เท่ากับ ๑๐ ล้าน. | ไข่เหา | น. ชื่อมาตราวัดโบราณ, ๘ เส้นผม เท่ากับ ๑ ไข่เหา ๘ ไข่เหา เท่ากับ ๑ ตัวเหา. | คืบ ๑ | มาตราวัดตามวิธีประเพณี ๑ คืบ เท่ากับ ๑๒ นิ้ว, อักษรย่อว่า ค. | งาน ๒ | น. มาตราวัดเนื้อที่ตามวิธีประเพณี เท่ากับ ๑๐๐ ตารางวา หรือ ๔๐๐ ตารางเมตร, ลักษณนามเรียกเนื้อที่ ๑๐๐ ตารางวา หรือ ๔๐๐ ตารางเมตรว่า งานหนึ่ง หรือ ๑ งาน, อักษรย่อว่า ง. | ชั่ง | ชื่อมาตราวัดน้ำหนักตามวิธีประเพณีแบบไทย ๒๐ ตำลึง เป็น ๑ ชั่ง หรือมีน้ำหนักเท่ากับ ๑, ๒๐๐ กรัม, ถ้าเป็นชั่งจีนมีนํ้าหนักเท่ากับ ๖๐๐ กรัม คือเป็นครึ่งหนึ่งของชั่งไทย. | ชั้นฉาย | น. ชื่อหน่วยในมาตราวัดเวลาในสมัยโบราณ วัดโดยอาศัยการวัดเงาของตัวคนที่เกิดจากแสงแดดด้วยระยะความยาวของฝ่าเท้าของบุคคลนั้น ตอนเช้าหรือเย็นเงาจะทอดยาว และตอนเที่ยงเงาจะสั้นที่สุดหรืออาจไม่มีเลย เงาจะเปลี่ยนสั้นยาวได้จากเดือนหนึ่งไปสู่อีกเดือนหนึ่ง, เงายาว ๑ ฝ่าเท้า เรียกว่า ๑ ชั้นฉาย สามารถเทียบเวลาได้ ถ้าเป็นตอนเช้าเท่ากับ ๑๑.๔๕ นาฬิกา ถ้าเป็นตอนบ่ายเท่ากับ ๑๒.๑๕ นาฬิกา เช่น ปีขาลวันอังคารเดือนห้า ตกฟากเวลาสามชั้นฉาย (ขุนช้างขุนแผน). | เซนติกรัม | (-กฺรำ) น. ชื่อมาตราชั่งตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐๐ ของ ๑ กรัม, อักษรย่อว่า ซก. | เซนติเมตร | น. ชื่อมาตราวัดตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐๐ ของ ๑ เมตร, อักษรย่อว่า ซม., (ปาก) เรียกสั้น ๆ ว่า เซ็นต์. | เซนติลิตร | น. ชื่อมาตราตวงตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐๐ ของ ๑ ลิตร, อักษรย่อว่า ซล. | เดคากรัม | (-กฺรำ) น. ชื่อมาตราชั่งตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑๐ กรัม, อักษรย่อว่า ดคก. | เดคาเมตร | น. ชื่อมาตราวัดตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑๐ เมตร, อักษรย่อว่า ดคม. | เดคาลิตร | น. ชื่อมาตราตวงตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑๐ ลิตร, อักษรย่อว่า ดคล. | เดซิกรัม | (-กฺรำ) น. ชื่อมาตราชั่งตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของกรัม, อักษรย่อว่า ดก. | เดซิเมตร | น. ชื่อมาตราวัดตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของเมตร, อักษรย่อว่า ดม. | เดซิลิตร | น. ชื่อมาตราตวงตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของลิตร, อักษรย่อว่า ดล. | ตัน ๒ | น. มาตรานํ้าหนักและมาตราวัด มีหลายอัตราแล้วแต่วัตถุที่ใช้ คือ ๑. เมตริกตัน มาตราชั่งเท่ากับนํ้าหนัก ๑, ๐๐๐ กิโลกรัม หรือ หาบหลวง หรือเป็นมาตราวัดเท่ากับ ๑.๑๓ ลูกบาศก์เมตร หรือ ๔๐ ลูกบาศก์ฟุต. ๒.ตันระวางเรือ ถ้าคำนวณระวางบรรทุกสินค้าและห้องทั่วไป เรียก ตันกรอส, ถ้าคำนวณเฉพาะบรรทุกสินค้า เรียก ตันเน็ต, และถ้าคำนวณนํ้าหนักทั้งลำเรือเช่นเรือรบ เรียก ตันระวางขับน้ำ, ทั้ง ๓ นี้วัด ๑๐๐ ลูกบาศก์ฟุต เป็นตันหนึ่งเช่นเดียวกัน. ๓. ตันระวางบรรทุกอื่น ๆ ถ้าของหนักคิด ๑, ๐๑๖.๐๔๗ กิโลกรัม เป็นตันหนึ่ง ถ้าเป็นของเบาคิดวัด ๑.๑๓ ลูกบาศก์เมตร หรือ ๔๐ ลูกบาศก์ฟุต เป็นตันหนึ่ง. | ตำลึง ๒ | น. มาตราเงินตามวิธีประเพณี ๔ บาท เท่ากับ ๑ ตําลึง, เขียนตามวิธีโบราณดังนี้ หมายความว่า ๔ ตําลึง | ตุลา | ชื่อมาตราวัดนํ้าหนักมคธเท่ากับ ๑๐๐ ปละ. | ทศ ๑, ทศ- | (ทด, ทดสะ-) น. เรียกเหรียญทองสมัยรัชกาลที่ ๔ ชนิดหนึ่ง มีค่าเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของชั่ง = ๘ บาท ว่า ทองทศ. | ทศางค์ | (ทะสาง) น. มาตราวัดนํ้าฝนเท่ากับ ๑๐ สตางค์ เป็น ๑ ทศางค์, และ ๑๐ ทศางค์ เป็น ๑ นิ้ว. | ทองทศ | น. ค่ากำหนดแลกเปลี่ยนของเหรียญทองกระษาปณ์ในสมัยรัชกาลที่ ๔ เท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของชั่ง = ๘ บาท. | ทองพัดดึงส์ | น. ค่ากำหนดแลกเปลี่ยนของเหรียญทองกระษาปณ์ในสมัยรัชกาลที่ ๔ เท่ากับ ๑ ใน ๓๒ ของชั่ง = ๒.๕๐ บาท. | ทองพิศ | น. ค่ากำหนดแลกเปลี่ยนของเหรียญทองกระษาปณ์ในสมัยรัชกาลที่ ๔ เท่ากับ ๑ ใน ๒๐ ของชั่ง = ๔ บาท. | ทะนานหลวง | น. ชื่อหน่วยในมาตราตวง มีอัตราเท่ากับ ๑ ลิตร, อักษรย่อว่า ท. | เที่ยง | เรียกเวลากึ่งกลางของกลางวันที่พระอาทิตย์อยู่ตรงศีรษะ ว่า เที่ยง หรือ เที่ยงวัน ตรงกับ ๑๒ นาฬิกา, เรียกเวลากึ่งกลางของกลางคืน ว่า เที่ยงคืน ตรงกับ ๒๔ นาฬิกา. | นอต ๑ | น. หน่วยแสดงความเร็วของสิ่งใดสิ่งหนึ่งตามระบบการเดินเรือ มีค่าเท่ากับ ๑ ไมล์ทะเลต่อชั่วโมง หรือ ๑.๘๕๒ กิโลเมตรต่อชั่วโมง เช่น เรือแล่นได้เร็ว ๘ ไมล์ทะเลต่อชั่วโมง เรียกว่า เรือมีความเร็ว ๘ นอต ลมมีความเร็ว ๕๐ ไมล์ทะเลต่อชั่วโมง เรียกว่า ลมมีความเร็ว ๕๐ นอต. | นาที | น. ชื่อหน่วยเวลา เท่ากับ ๑ ใน ๖๐ ของชั่วโมง. | นิรัพพุท | (-รับพุด) น. สังขยาจำนวนสูง เท่ากับ ๑ มี ๐ ตามหลัง ๖๓ ตัว บ้างว่า ๑๐๐ ล้าน. | บั้นหลวง | น. ชื่อมาตราตวงตามวิธีประเพณี มีอัตราเท่ากับ ๑, ๐๐๐ ลิตร. | บาท ๒ | น. มาตราเงินตามวิธีประเพณี ๑๐๐ สตางค์ หรือ ๔ สลึง เท่ากับ ๑ บาท, อักษรย่อว่า บ. | บาท ๔ | น. ช่วงเวลาเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของชั่วโมง เท่ากับ ๖ นาที, โบราณเขียนเป็น บาตร ก็มี เช่น ย่ำรุ่งสองนาลิกา เสษสังขยาห้าบาตร (ตะเลงพ่าย). | บาร์ ๑ | น. หน่วยวัดความกดอากาศ ๑ บาร์มีค่าเท่ากับ ๑๐๖ ดายน์ต่อตารางเซนติเมตร หรือ ๑๐๕ นิวตันต่อตารางเมตร | ปอนด์ | น. ชื่อหน่วยเงินตราของอังกฤษเท่ากับ ๑๐๐ เพนซ์, ปอนด์สเตอร์ลิง ก็เรียก | ผล | จำนวนที่ได้จากการคำนวณ เช่น ๕ กับ ๗ บวกกัน ได้ผลเท่ากับ ๑๒, ผลลัพธ์ ก็ว่า. | พัดดึงส์ | น. เรียกเหรียญทองครั้งรัชกาลที่ ๔ ชนิดหนึ่ง มีค่าเท่ากับ ๑ ใน ๓๒ ของชั่ง = ๒.๕๐ บาท. | พิศ ๒ | น. เรียกเหรียญทองครั้งรัชกาลที่ ๔ ชนิดหนึ่ง มีค่าเท่ากับ ๑ ใน ๒๐ ของชั่ง = ๔ บาท ว่า ทองพิศ. | ไพ | น. มาตราเงินตามวิธีประเพณี ๒ อัฐ เท่ากับ ๑ ไพ. | ฟุต | น. มาตราวัดของอังกฤษ ๑ ฟุต เท่ากับ ๑๒ นิ้ว. |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |