Search result for

*bibliography*

   
Languages
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: bibliography, -bibliography-
Some results are hidden.
configure
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
bibliography(n) บรรณานุกรม, See also: รายชื่อหนังสือโดยสังเขป, Syn. bibliog.

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
bibliography(บิบบลิออก'กระฟี่) n. บรรณานุกรม, รายชื่อหนังสือเฉพาะเรื่องหรือกลุ่มเรื่อง, See also: bibliographic adj. เกี่ยวกับบรรณานุกรม bibliographical adj. เกี่ยวกับบรรณานุกรม

English-Thai: Nontri Dictionary
bibliography(n) บรรณานุกรม, รายชื่อเอกสารอ้างอิง

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Annotated bibliographyบรรณนิทัศน์ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Bibliographyบรรณานุกรม [เทคโนโลยีการศึกษา]
Author bibliographyบรรณานุกรมของผู้แต่ง [เทคโนโลยีการศึกษา]
Annotated bibliographyบรรณนิทัศน์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliographyบรรณานุกรม, Example: หรือ เอกสารอ้างอิง คือ รายชื่อทรัพยากรสารสนเทศ (หนังสือ บทความจากวารสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ฐานข้อมูลออนไลน์ ข้อมูลจากเว็บไซต์ต่าง ๆ) ที่ผู้เขียนใช้ประกอบการเขียนหนังสือเล่มนั้น หรืออาจเป็นรายชื่อที่ผู้เขียนแนะนำให้อ่านเพิ่มเติม อาจอยู่ท้ายเล่มหรือท้ายบทแต่ละบทก็ได้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliography of bibliographiesบรรณานุกรมของบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Critical bibliographyบรรณานุกรมเชิงพรรณนา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Descriptive bibliographyบรรณานุกรมเชิงพรรณนา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Retrospective bibliographyบรรณานุกรมสิ่งพิมพ์ที่มีพิมพ์เผยแพร่นานแล้ว [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Selective bibliographyบรรณานุกรมเลือกสรร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Trade bibliographyบรรณานุกรมที่สำนักพิมพ์หรือร้านหนังสือจัดทำขึ้นเพื่อการ ค้า, บรรณานุกรมเพื่อการค้า [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Universal bibliographyบรรณานุกรมสากล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Special bibliographyบรรณานุกรมหัวข้อวิชาใดหัวข้อวิชาหนึ่ง, Example: <p>บรรณานุกรม (Bibliography) เป็นหนังสืออ้างอิงประเภทหนึ่ง ให้ความรู้เกี่ยวกับแหล่งข้อมูล รายชื่อหนังสือ หรือสิ่งพิมพ์อื่น ๆ ทั้งในรูปแบบของสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นหนังสืออ้างอิงประเภทที่บอกให้ทราบว่าจะค้นหาสารสนเทศได้จากแหล่งใด <p>ลักษณะของบรรณานุกรม ในหนึ่งรายการ ส่วนใหญ่ประกอบด้วย ชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือหรือสิ่งพิมพ์ ครั้งที่พิมพ์ สถานที่พิมพ์ เมืองที่พิมพ์ ปีที่พิมพ์ จำนวนหน้า ราคา หรืออาจมีคำอธิบายสาระสำคัญของหนังสือโดยย่อประกอบด้วย <p>ความสำคัญของบรรณานุกรม คือ ช่วยให้ผู้ใช้สามารถค้นคว้าหาสารสนเทศประกอบการศึกษา วิจัย ได้อย่างรวดเร็วและครบถ้วน เป็นเครื่องมือติดตามความเคลื่อนไหวของทรัพยากรสารสนเทศ และเป็นคู่มือในการจัดหาและช่วยในการคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ <p>บรรณานุกรม มีหลายประเภท เช่น บรรณานุกรมทั่วไป บรรณานุกรมแห่งชาติ บรรณานุกรมเฉพาะวิชา <p>บรรณานุกรมเฉพาะวิชา (Special bibliography) เป็นบรรณานุกรมที่รวบรวมรายชื่อหนังสือ สิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เฉพาะสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง อาจมีบทคัดย่อประกอบ ตัวอย่างเช่น บรรณานุกรมวิทยานิพนธ์ทางบรรณารักษศาสตร์และบทคัดย่อ <p>ในอีกความหมายหนึ่ง บรรณานุกรม หมายถึงข้อความที่ประกอบ หรือระบุไว้ในส่วนท้าย หรือแนบท้ายหนังสือ รายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย ที่ผู้เขียนได้ใช้ประกอบในการเขียนผลงาน เพื่อแสดงหลักฐาน ความน่าเชื่อถือ เและเป็นการให้ความเคารพผลงานทางปัญญาที่ผู้อื่นได้แสดงไว้ รวมทั้งเป็นแหล่งข้อมูลให้ผู้อ่านที่สนใจติดตามและศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Subject bibliographyบรรณานุกรมเฉพาะวิชา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliographyบรรณานุกรม [TU Subject Heading]
Bibliography of bibliographiesบรรณานุกรมของบรรณานุกรม [TU Subject Heading]
Bibliography, Nationalบรรณานุกรมแห่งชาติ [TU Subject Heading]
Bibliography--Methodologyการควบคุมทางบรรณานุกรม [TU Subject Heading]
Bibliography--Union listsสหบรรณานุกรม [TU Subject Heading]
National bibliographyบรรณานุกรมแห่งชาติ, Example: หมายถึง บรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ที่จัดพิมพ์ขึ้นในประเทศใดประเทศหนึ่ง รวมทั้งบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์เกี่ยวกับประเทศใดประเทศหนึ่ง ไม่ว่าสิ่งพิมพ์นั้นจะตีพิมพ์ในประเทศใด แต่เนื่องจากเทคโนโลยีการผลิตหรือสื่อสำหรับบันทึกความรู้ก้าวหน้าไปมาก ขอบเขตของการรวบรวมสิ่งพิมพ์ในบรรณานุกรมแห่งชาติขยายขอบเขตของสื่อบันทึกความรู้ออกตามไปด้วย <p>การจัดทำบรรณานุกรมแห่งชาติ เป็นหน้าที่หนึ่งของหอสมุดแห่งชาติแต่ละประเทศ การจัดหาสิ่งพิมพ์หรือวัสดุเพื่อนำมาจัดทำบรรณานุกรมแห่งชาติ ทำได้โดย <p>1. การขอความร่วมมือจากสำนักพิมพ์ในการส่งสิ่งพิมพ์หรือสื่ออื่นๆ มาให้ แต่เนื่องจากสิ่งพิมพ์อาจจะมีการผลิตโดยมิได้ผ่านสำนักพิมพ์ อาจจะเป็นกระบวนการที่ทำให้หอสมุดแห่งชาติไม่สามารถรวบรวมสิ่งพิมพ์ในส่วนนี้ได้ หอสมุดแห่งชาติต้องมีการติดตามสิ่งพิมพ์หรือวัสดุอื่นๆ อย่างใกล้ชิด <p>2. จัดหาตัวแทนให้ทำหน้าที่รวบรวมหนังสือและวัสดุที่ออกใหม่โดยสำนักพิมพ์ทั้งหมดในประเทศและที่ออกโดยส่วนราชการและโดยเอกชน <p>3. ออกกฎหมายกำหนดให้สำนักพิมพ์หรือผู้จัดพิมพ์หรือผู้ผลิตส่งสิ่งพิมพ์หรือวัสดุอื่นๆ มาให้หอสมุดแห่งชาติเพื่อจัดทำบรรณานุกรมแห่งชาติ <p>หอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน เป็นตัวอย่างของหอสมุดแห่งชาติในการรวบรวมสิ่งพิมพ์ที่ผลิตในประเทศสหรัฐอเมริกา และจัดทำบรรณานุกรมแห่งชาติด้วยพระราชบัญญัติการพิมพ์ (United States Copyright Office) ที่จะต้องส่งสิ่งพิมพ์อย่างน้อยจำนวน 2 ฉบับให้กับหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน ส่งผลให้กลายเป็นห้องสมุดที่ใหญ่ที่สุดในโลกด้วยการจัดเก็บหนังสือที่ผลิตใน ประเทศสหรัฐอเมริกาได้ถึงจำนวน 126 ล้านรายการ [ 1 ] และด้วยระบบการจัดทำ Cataloging ของหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน ที่มีความสมบูรณ์ในกระบวนการจัดทำรายการบรรณานุกรมของหนังสือ กล่าวคือ สำนักพิมพ์จะต้องส่งแบบฟอร์มการลงรายการบรรณานุกรม (CIP Data Application form) พร้อมเอกสารฉบับเต็มมายังหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน ซี่งเจ้าหน้าที่ของงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศกำหนดการลงรายการบรรณานุกรม พร้อมส่งกลับไปยังสำนักพิมพ์ เพื่อจัดพิมพ์ข้อมูลบรรณานุกรมดังกล่าวลงในหน้าหลังหน้าปกใน (Verso) ซึ่งรูปแบบรายการบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้ ก็จะถูกส่งออกไปยังห้องสมุด และร้านค้าหนังสือทั่วโลก แต่กระบวนการกำหนดข้อมูลบรรณานุกรมยังไม่เสร็จสิ้นสมบูรณ์จนกว่าสำนักพิมพ์ จะส่งหนังสือกลับมายังงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศอีกครั้งเพื่อเติมข้อมูล ให้ครบถ้วนสมบูรณ์ เช่น จำนวนหน้า ขนาดและตรวจสอบความถูกต้องจากการพิมพ์ของสำนักพิมพ์อีกครั้ง หลังจากการตรวจสอบ รูปแบบรายการบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้จะถูกเผยแพร่อีกครั้ง จากกระบวนการดังกล่าวนี้เอง ทำให้หอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน สามารถจัดเก็บหนังสือทุกเล่มที่ผลิตในประเทศ และเป็นการควบคุมบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ที่ผลิตในประเทศสหรัฐอเมริกาได้ อย่างครบถ้วน <p>หอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย เป็นอีกแห่งหนึ่งที่ประสบผลสำเร็จในการจัดทำฐานข้อมูลบรรณานุกรมแห่งชาติ ด้วยกรอบของวิธีการ 2 แนวทาง [ 2 ] กล่าวคือ กฎหมายการพิมพ์ที่ให้ความสำคัญกับหอสมุดแห่งชาติในการจัดเก็บสิ่งพิมพ์ของ ประเทศ และการแบ่งปันรายการบรรณานุกรมระหว่างห้องสมุดทั้งภายในและต่างประเทศ โดยหน้าที่สำคัญประการหนึ่งของหอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย ก็คือ การกำหนดข้อมูลบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ซึ่งมีกระบวนการที่ไม่ต่างจากหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกันเท่าใดนัก นับตั้งแต่สำนักพิมพ์ส่งงานที่จะพิมพ์พร้อมเลข ISBN ที่ได้รับมาจากตัวแทนออกเลข ISBN จนถึงส่งมาให้หอสมุดแห่งชาติออสเตรเลียจัดทำข้อมูลบรรณานุกรมแห่งชาติ จนถึงขั้นตอนสุดท้ายของการจัดทำ CIP คือ การส่งสิ่งพิมพ์ดังกล่าวเข้าหอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย <p>ส่วนหอสมุดแห่งชาติอังกฤษ (The British Library) [ 3, 4 ]ทำหน้าที่ในการรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศที่ผลิตในสหราชอาณาจักรและสาธารณ รัฐไอแลนด์ และจัดทำบรรณานุกรมแห่งชาติ โดยสำนักพิมพ์ในสหราชอาณาจักรและสาธารณรัฐไอแลนด์จะต้องส่งสิ่งพิมพ์แก่ The Legal Deposit Office ของ หอสมุดแห่งชาติอังกฤษ ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (Copyright acts) โดยเริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2493 สำหรับสื่อตีพิมพ์ และ ปี พ.ศ. 2546 สำหรับสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ภายใต้ “The Legal Deposit Libraries Shared Cataloging Programme : LDLSCP” ตามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อร่วมกันในการจัดทำบรรณานุกรมแห่งชาติ และการแบ่งปันข้อมูลระหว่างห้องสมุด เฉพาะเดือน เม.ย. พ.ศ. 2546 ถึง เดือน มี.ค. พ.ศ. 2547 ทำให้มีจำนวนข้อมูลบรรณานุกรม 87, 764 รายการ โดยเฉลี่ยแต่ละปีมีจำนวนรายการข้อมูลเพิ่มขึ้น 50, 000 รายการ <p>ขณะที่ สำนักพิมพ์ และร้านหนังสือที่จัดพิมพ์หนังสือใหม่ [ 5 ]ซึ่งต้องการข้อมูลทางบรรณานุกรมของหนังสือ (Cataloguing-in-Publication - CIP) รวมถึงห้องสมุดที่ต้องการข้อมูลหนังสือใหม่เพื่อแจ้งไปยังผู้ใช้บริการในรูป แบบของ Alert servicees จะต้องติดต่อขอรับบริการข้อมูล CIP ที่ Bibliographic Data Services Limited - BDSL ซึ่งเป็นบริษัทเอกชนที่มีความเชี่ยวชาญในการจัดทำ CIP ซึ่งมีมาตรฐานตามที่หอสมุดแห่งชาติอังกฤษกำหนด ด้วยการติดต่อตรงไปยัง BDSL หรือติดต่อผ่านไปที่หอสมุดแห่งชาติอังกฤษ ทั้งนี้ข้อมูล CIP ที่ได้อาจใช้เป็นเพียงข้อมูลเบื้องต้นในการลงรายการข้อมูลทางบรรณานุกรม จนกว่าหอสมุดแห่งชาติอังกฤษจะได้รับตัวเล่มจากสำนักพิมพ์ จึงจะมีการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศอีกครั้งเพื่อเพิ่มเติมข้อมูลให้ครบ ถ้วน เพื่อเป็นแหล่งอ้างอิงที่ถาวรต่อไป <p>หอสมุดแห่งชาติของไทย เริ่มจัดทำบรรณานุกรมแห่งชาติ ตั้งแต่ พ.ศ. 2502 โดยร่วมกับสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย และสามารถรวบรวมบรรณานุกรมแห่งชาติเป็นรูปเล่มเพียงเล่มเดียวสำหรับ พ.ศ. 2502 งานจัดทำบรรณานุกรมแห่งชาติประสบอุปสรรค เนื่องจากจุดอ่อนของพระราชบัญญัติการพิมพ์ พ.ศ. 2474 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2485 มีการกำหนดให้ผู้พิมพ์ผู้โฆษณาส่งสิ่งพิมพ์ให้แก่หอสมุดแห่งชาติจำนวน 2 ฉบับ ภายใน 7 วันนับแต่มีการพิมพ์ ผู้ฝ่าฝืนถูกปรับไม่เกิน 12 บาท แต่ไม่มีผลบังคับใช้กับหน่วยงานราชการที่ผลิตสิ่งพิมพ์ หอสมุดแห่งชาติได้รับสิ่งพิมพ์ของหน่วยราชการไว้ไม่ถึงครึ่ง และผู้พิมพ์จำหน่ายพอใจที่จะถูกปรับมากกว่าจะส่งให้แก่หอสมุดแห่งชาติ <p>หอสมุดแห่งชาติได้เริ่มกลับมาดำเนินงานจัดทำบรรณานุกรมแห่งชาติอย่างจริงจัง อีกครั้ง ด้วยความช่วยเหลือขององค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติได้ ส่งผู้เชี่ยวชาญมาแนะนำ [ 6 ] ได้แก่ เสนอให้มีการจัดตั้งหน่วยงานสำหรับกำหนดเลขประจำหนังสือตามมาตรฐานสากล (International Standard Book Number - ISBN) ด้วยความร่วมมือกับสมาคมผู้จัดพิมพ์และจำหน่ายหนังสือ ส่งเสริมให้มีการบันทึกข้อมูลแบบ MARC เป็นต้น <p>รายการบรรณานุกรมแห่งชาติของไทย http://www.nlt.go.th/th_tnb.htm <p>รายการอ้างอิง: <p>[ 1 ] United States Copyright Office. [ ออนไลน์ ] http://en.wikipedia.org/wiki/United_States_Copyright_Office. Accessed: 20100628 : 00.07. <p>[ 2 ] Haddad, Peter. 1999. National bibliography in Australia: moving into the next millennium. [ ออนไลน์ ] http://archive.ifla.org/IV/ifla65/papers/016-123e.htm. Accessed: 20100629 : 09.50. <p>[ 3 ] Bibliographic Data Services Limited. [ ออนไลน์ ]. http://www.bibliographicdata.co.uk. Accessed: 20100629 : 17.30. <p>[ 4 ]Nielsen UK ISBN Agency. [ ออนไลน์ ] http://www.isbn.nielsenbook.co.uk/controller.php?page=121. Accessed: 20100629 : 14.25. <p>[ 5 ]The British National Bibliography. [ ออนไลน์ ] http://www.bl.uk/bibliographic/natbib.html. Accessed: 20100629 : 13:00. <p>[ 6 ] สุนทรี หังสสูต. การควบคุมทางบรรณานุกรมเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2523. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliographyบรรณานุกรม [การแพทย์]
Bibliography, Annotatedบรรณานุกรมพร้อมทั้งบรรณนิทัศน์สังเขป [การแพทย์]
Bibliography, Descriptiveบรรณานุกรมเชิงพรรณา;บรรณานุกรม, การลงรายการ [การแพทย์]
Bibliography, Nationalบรรณานุกรมแห่งชาติ [การแพทย์]
Biobibliographyบรรณานุกรมชีวประวัติ [การแพทย์]

ตัวอย่างประโยค จาก Open Subtitles  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
He has an annotated bibliography, table of contents.เขามีบรรณานุกรมบันทึกย่อ สารบัญเนื้อหา Amplification (2009)

Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
เอกสารอ้างอิง(n) bibliography, Example: ผู้สนใจสามารถศึกษาพื้นฐานเรื่องอัลกอริทึมและการคำนวณได้จากเอกสารอ้างอิงที่อยู่ในท้ายเล่ม, Thai Definition: เอกสารของแหล่งข้อมูลที่นำมาใช้ในการเขียนหนังสือหรืองานวิจัย

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
บรรณานุกรม[bannānukrom] (n) EN: bibliography  FR: bibliographie [ f ]
เอกสารอ้างอิง[ēkkasān āng-ing] (n) EN: reference ; bibliography

CMU English Pronouncing Dictionary Dictionary [with local updates]
bibliography

Oxford Advanced Learners Dictionary (pronunciation guide only)
bibliography

WordNet (3.0)
bibliography(n) a list of writings with time and place of publication (such as the writings of a single author or the works referred to in preparing a document etc.)

The Collaborative International Dictionary of English (GCIDE) v.0.53
Bibliography

pos>n.; pl. Bibliographies [ Gr. bibliografi`a: cf. F. bibliographie. ] 1. a history or description of books and manuscripts, with notices of the different editions, the times when they were printed, etc. [ 1913 Webster ]

2. a list of books or other printed works having some common theme, such as topic, period, author, or publisher. [ PJC ]

3. a list of the published (and sometimes unpublished) sources of information referred to in a scholarly discourse or other text, or used as reference materials for its preparation. [ PJC ]

4. the branch of library science dealing with the history and classification of books and other published materials. [ PJC ]

Chinese-English: CC-CEDICT Dictionary
目录学[mù lù xué, ㄇㄨˋ ㄌㄨˋ ㄒㄩㄝˊ,    /   ] bibliography #97,300 [Add to Longdo]
传赞[zhuàn zàn, ㄓㄨㄢˋ ㄗㄢˋ,   /  ] postscript to bibliography #208,416 [Add to Longdo]

German-English: TU-Chemnitz DING Dictionary
Allgemeinbibliographie { f }general bibliography; universal bibliography [Add to Longdo]
Auswahlbibliographie { f }selective bibliography [Add to Longdo]
Bibliografie { f }; Bibliographie { f } | Bibliografien { pl }; Bibliographien { pl } | abgeschlossene Bibliographiebibliography | bibliographies | closed bibliography [Add to Longdo]
Literaturangabe { f }; Literaturliste { f }bibliographical reference; bibliography [Add to Longdo]
Literaturverzeichnis { n }bibliography [Add to Longdo]
Quellenangaben { pl }; Quellverzeichnis { n }bibliography [Add to Longdo]

Japanese-English: EDICT Dictionary
書誌[しょし, shoshi] (n, adj-no) bibliography #3,825 [Add to Longdo]
総覧;綜覧;總覽(oK)[そうらん, souran] (n, vs, adj-no) guide; general survey; conspectus; comprehensive bibliography #7,159 [Add to Longdo]
ビブリオグラフィー[biburiogurafi-] (n) bibliography [Add to Longdo]
国際書誌[こくさいしょし, kokusaishoshi] (n) international bibliography [Add to Longdo]
参考書目[さんこうしょもく, sankoushomoku] (n) bibliography [Add to Longdo]
参考文献一覧[さんこうぶんけんいちらん, sankoubunken'ichiran] (n) bibliography [Add to Longdo]
書誌学[しょしがく, shoshigaku] (n) (1) bibliography (i.e. the study of books); (2) bibliology (i.e. the study of books, booklore and bibliography); (P) [Add to Longdo]
書誌作成技術[しょしさくせいぎじゅつ, shoshisakuseigijutsu] (n) (technique of) bibliography [Add to Longdo]
新刊書誌[しんかんしょし, shinkanshoshi] (n) current bibliography [Add to Longdo]
推奨文献目録[すいしょうぶんけんもくろく, suishoubunkenmokuroku] (n) selected bibliography [Add to Longdo]
全国書誌[ぜんこくしょし, zenkokushoshi] (n) national bibliography [Add to Longdo]
遡及書誌[そきゅうしょし, sokyuushoshi] (n) retrospective bibliography [Add to Longdo]
著作目録[ちょさくもくろく, chosakumokuroku] (n) bibliographical catalogue; author bibliography [Add to Longdo]
文献学[ぶんけんがく, bunkengaku] (n) philology; bibliography [Add to Longdo]

Japanese-English: COMPDICT Dictionary
国際書誌[こくさいしょし, kokusaishoshi] international bibliography [Add to Longdo]
書誌[しょし, shoshi] bibliography [Add to Longdo]
書誌学[しょしがく, shoshigaku] bibliology, bibliography [Add to Longdo]
書誌作成技術[しょしさくせいぎじゅつ, shoshisakuseigijutsu] bibliography [Add to Longdo]
新刊書誌[しんかんしょし, shinkanshoshi] current bibliography [Add to Longdo]
全国書誌[ぜんこくしょし, zenkokushoshi] national bibliography [Add to Longdo]
遡及書誌[そきゅうしょし, sokyuushoshi] retrospective bibliography [Add to Longdo]

add this word


You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit


Are you satisfied with the result?



Discussions

About our ads
We know you don’t love ads. But we need ads to keep Longdo Dictionary FREE for users. Thanks for your understanding! Click here to find out more.
Go to Top