แม่ง | [แม่ง] (slang) เป็นคำอุทานที่มักใช้พูดกันเวลาอารมณ์เสียหรือไม่พอใจในสิ่งที่เกิดขึ้น มีสันนิษฐานว่าเกิดมาจากการกล่อนคำของคำว่า แม่มึง แต่ไม่ได้ใ้ช้ในความหมายนี้ แต่เป็นเพียงแค่คำอุทาน ตัวอย่าง แม่งเอ้ย วันนี้ถูกหวยแดกอีกแล้วกู หรือในสมัยก่อนเวลาตกใจบางคนอาจจะอุทานว่า อุ๊ยแม่มึง!!! |
|
| กระดานชนวน | น. แผ่นหินชนวนหน้าเรียบรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า เข้ากรอบไม้ ใช้เขียนด้วยดินสอหินซึ่งทำด้วยหินชนวนตัดและฝนเป็นแท่ง สำหรับฝึกเขียนหนังสือในสมัยก่อน. | ชนวน ๑ | เรียกแผ่นหินชนวนหน้าเรียบรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า เข้ากรอบไม้ ใช้เขียนด้วยดินสอหินซึ่งทำด้วยหินชนวนตัดและฝนเป็นแท่ง สำหรับฝึกเขียนหนังสือในสมัยก่อน ว่า กระดานชนวน. | นครบาล | ชื่อกระทรวงในสมัยก่อน คือ กระทรวงนครบาล ซึ่งมีหน้าที่ปกครองเขตนครหลวง | นาย | เมื่อใช้เป็นคำนำราชทินนาม เป็นบรรดาศักดิ์ของข้าราชการในราชสำนักในสมัยก่อนเลิกบรรดาศักดิ์ เช่น นายนรินทร์ธิเบศ นายมหานุภาพ นายสุจินดา นายวรการบัญชา | เบี้ย ๑ | น. ชื่อหอยทะเลกาบเดี่ยวหลายชนิดในวงศ์ Cypraeidae เปลือกแข็ง ผิวเป็นมัน หลังโค้งนูน ด้านท้องแบน ช่องเปลือกยาวและแคบ เป็นลำราง ตามขอบทั้ง ๒ ข้างเป็นรอยหยัก เรียกรวม ๆ ว่า หอยเบี้ย, เปลือกหอยเบี้ยที่ใช้เป็นเงินตราในสมัยก่อนมี ๒ ชนิด ได้แก่ ชนิด Cypraea moneta Linn. เรียก เบี้ยจั่นหรือเบี้ยจักจั่น ชนิด C. annulus Linn. เรียก เบี้ยแก้วหรือเบี้ยนาง มีอัตรา ๑๐๐ เบี้ย เป็น ๑ อัฐ คำว่า เบี้ย จึงเป็นคำเรียกแทนเงินติดมาจนทุกวันนี้ เช่น เบี้ยประชุม เบี้ยประกัน เบี้ยเลี้ยงชีพ. | ม่วง ๓ | น. ชื่อเรือขุดรูปคล้ายเรือมาด แต่ยาวกว่า รูปร่างเพรียว หัวงอน ท้ายสั้น เป็นเรือที่คหบดีนิยมใช้กันในสมัยก่อน. | เรือเพรียว | น. เรือขุดรูปคล้ายเรือแข่ง แต่ขนาดเล็กกว่า หัวยาวพองาม ท้ายสั้น เป็นเรือที่ขุนนางหรือผู้มีฐานะการเงินดีนิยมใช้กันในสมัยก่อน. | เรือม่วง | น. เรือขุดรูปคล้ายเรือมาด แต่ยาวกว่า รูปร่างเพรียว หัวงอน ท้ายสั้น เป็นเรือที่คหบดีนิยมใช้กันในสมัยก่อน. | ลงหญ้าช้าง | น. การลงโทษในสมัยก่อน คือ เอาตัวไปเป็นคนเลี้ยงช้าง. | วิลาด, วิลาศ | ว. ที่เป็นของยุโรป (เป็นคำที่ชาวอินเดียในสมัยก่อนเรียกชาวตะวันตกโดยเฉพาะชาวอังกฤษ) เช่น สาคูวิลาด เหล็กวิลาด ผ้าวิลาศ. | แว่นส่องหน้า | น. สิ่งที่ทำด้วยโลหะขัดจนเป็นเงา ใช้ส่องหน้าในสมัยก่อนที่จะมีกระจกเงา. | ศิลปศาสตร์ | ตำราว่าด้วยวิชาความรู้ต่าง ๆ ในสมัยก่อนพุทธกาล มี ๑๘ ประการ ได้แก่ ๑. สูติ วิชาฟังเสียงคนเสียงสัตว์รู้ว่าดีหรือร้าย ๒. สัมมติ วิชาเข้าใจในกฎธรรมเนียม ๓. สังขยา วิชาคำนวณ ๔. โยคยันตร์ วิชาการช่าง ๕. นีติ วิชาแบบแผนราชการ ๖. วิเสสิกา วิชาการค้า ๗. คันธัพพา วิชานาฏศิลป์ ๘. คณิกา วิชากายบริหาร ๙. ธนุพเพธา วิชายิงธนู ๑๐. ปุราณา วิชาโบราณคดี ๑๑. ติกิจฉา วิชาการแพทย์ ๑๒. อิติหาสา วิชาตำนานหรือประวัติศาสตร์ ๑๓. โชติ วิชาดาราศาสตร์ ๑๔. มายา วิชาตำราพิชัยสงคราม ๑๕. ฉันทสา วิชาการประพันธ์ ๑๖. เกตุ วิชาพูด ๑๗. มันตา วิชาร่ายมนตร์ ๑๘. สัททา วิชาไวยากรณ์. |
| Chargé d' Affaires | อุปทูต เดิมเรียกว่า อุปทูตประจำ ซึ่งในสมัยก่อนเรียกว่า Chargé d' Affaires ad hoc บ้าง Chargé d' Affaires en pied หรือ Chargé d' Affaires avec lettres บ้าง ปัจจุบันเรียกเพียง อุปทูต (Chargé d' Affaires) เท่านั้น รัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับอาจจะตกลงกันให้มีหัวหน้าคณะผู้แทนเพียงระดับอุปทูตก็ ได้ (ต่างกันกับตำแหน่งอุปทูตชั่วคราว) [การทูต] | Neutralization, Neutrality หรือ Neutralism | คำว่า Neutraliza-tion หมายถึง กระบวนการซึ่งรัฐได้รับการค้ำประกันความเป็นเอกราชและบูรณภาพอย่างถาวรภาย ใต้อนุสัญญาระหว่างประเทศ รัฐที่ได้รับการประกันรับรองให้เป็นกลาง (Neutralized State) เช่นนี้จะผูกมัดตนว่า จะละเว้นจาการใช้อาวุธโจมตีไม่ว่าประเทศใดทั้งสิ้น นอกเสียจากว่าจะถูกโจมตีก่อน ตัวอย่างอันเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในเรื่องรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความ เป็นกลางอย่างถาวร คือ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ตามปฏิญญา (Declaration) ซึ่งมีการลงนามกัน ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เมื่อวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1815 ประเทศใหญ่ ๆ ในสมัยนั้น คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส อังกฤษ ปรัสเซีย และรัสเซีย ได้รับรองว่า โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม จึงเป็นการจำเป็นที่จะให้รัฐเฮลเวติก(Helvetic Swiss States) ได้รับการประกันความเป็นกลางตลอดไป ทั้งยังประกาศด้วยว่า รัฐสภาของสวิตเซอร์แลนด์ตกลงรับปฏิบัติตามข้อกำหนดที่ได้ระบุไว้เมื่อไร ความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์ก็จะได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางในทันที และแล้วสมาพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ก็ได้ประกาศยอมรับปฏิบัติตาม หรือให้ภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1815 บรรดาประเทศที่รับรองค้ำประกันความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์จึงประกาศ รับรองดังกล่าว เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1815 อนึ่ง การค้ำประกันความเป็นกลางในลักษณะที่ครอบคลุมทั้งประเทศของรัฐใดรัฐหนึ่ง นั้น มีความแตกต่างกับการค้ำประกันเพียงดินแดนส่วนใดส่วนหนึ่งของรัฐหนึ่ง ซึ่งหมายความว่าดินแดนส่วนหนึ่งของรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางจะ ไม่ยอมให้ฝ่ายใดใช้ดินแดนส่วนที่ค้ำประกันนั้นเป็นเวทีสงครามเป็นอันขาด การค้ำประกันความเป็นกลางยังมีอีกแบบหนึ่งคือ รัฐหนึ่งจะประกาศตนแต่ฝ่ายเดียวว่าจะรักษาความเป็นกลางของตนตลอดไปโดยถาวร แต่ในกรณีเช่นนี้ ความเป็นเอกราชและบูรณภาพของรัฐที่ประกาศตนเป็นกลางเพียงฝ่ายเดียว จะไม่ได้รับการค้ำประกันร่วมกันจากรัฐอื่น ๆ แต่อย่างใดส่วนคติหรือลัทธิความเป็นกลาง (Neutralism) เป็นศัพท์ที่หมายถึงสถานภาพของรัฐต่าง ๆ ที่ไม่ต้องการน้ำประเทศของตนเข้ากับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดในสงครามเย็น ( Cold War) ที่กำลังขับเคี่ยวกันอยู่ระหว่างกลุ่มประเทศภาคตะวันออกกับกลุ่มประเทศภาค ตะวันตก นอกจากนี้ ผู้นำบางคนในกลุ่มของรัฐที่เป็นกลาง ไม่เห็นด้วยกีบการที่ใช้คำว่า ?Neutralism? เขาเหล่านี้เห็นว่าควรจะใช้คำว่า ?ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด? ( Uncommitted ) มากกว่าจะเห็นได้ว่า คำว่า ?ความเป็นกลาง? ( Neutrality ) นั้น หมายถึงความเป็นกลางโดยถาวร ซึ่งได้รับการค้ำประกันจากกลุ่มประเทศกลุ่มหนึ่ง เช่นในกรณีประเทศสวิตเซอร์แลนด์ก็ได้หรือหมายถึงความเป็นกลางเฉพาะในดินแดน ส่วนหนึ่งของรัฐที่ไม่ยอมให้ใครเข้าไปทำสงครามกันในดินแดนที่เป็นกลางส่วน นั้นเป็นอันขาดก็ได้ ดังนั้น พอจะเห็นได้ว่า แก่นแท้ในความหมายของความเป็นกลาง ( Neutrality) จึงอยู่ที่ท่าที หรือ ทัศนคติของประเทศที่ดำรงตนเป็นกลาง ไม่ต้องการเข้าข้างประเทศคู่สงครามใด ๆ ในสงคราม ในสมัยก่อนผู้คนยังไม่รู้จักความคิดเรื่องความเป็นกลางดังที่รู้จักเข้าใจ กันในปัจจุบัน ความเป็นกลางเป็นผลมาจากการทยอยวางหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ของความเป็นกลาง นับตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน [การทูต] | Order of Precedence | หมายถึง ลำดับอาวุโสทางการทูต โดยถือยศหรือตำแหน่งเป็นบรรทัดฐาน โดยเฉพาะในโอกาสที่ไปร่วมพิธีต่าง ๆ ตลอดจนการเลี้ยงอาหารอย่างเป็นทางการ นักการทูตทั่วโลกต่างถือลำดับอาวุโสเป็นเรื่องสำคัญที่ต้องพิถีพิถันกันไม่ น้อย เพราะในฐานะที่เป็นตัวแทนของประเทศ หากมีการจัดลำดับอาวุโสไม่ถูกต้อง เขาผู้นั้นซึ่งคำนึงถึงศักดิ์ศรีในฐานะตัวแทนของประเทศย่อมต้องรู้สึกว่า นอกจากจะไม่ได้รับความถูกต้องแล้ว ยังเป็นการดูแคลนประเทศของตนด้วยในสมัยก่อน ผู้ที่ทำหน้าที่ชี้ขาดในเรื่องลำดับอาวุโสของบรรดาประมุขของรัฐทั้งหลาย คือสมเด็จพระสันตะปาปา ต่อมาในการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาเมื่อปี ค.ศ. 1815 ที่ประชุมได้ตกลงกันให้ถือวันที่เดินทางมาถึงประเทศผู้รับ และได้แจ้งให้ทราบเป็นทางการว่าเป็นเรื่องลำดับอาวุโส ผู้ที่มาถึงก่อนย่อมมีอาวุโสกว่าผู้ทีมาทีหลัง อย่างไรก็ดี มาในทุกวันนี้มีหลายประเทศถือหลักว่า ผู้แทนทางการทูตที่ยื่นสารตราตั้งก่อนจะมีอาวุโสกว่าผู้ยื่นสารตราตั้งที หลัง และในกรณีที่เกิดความเห็นไม่ลงรอยกันระหว่างบุคคลในคณะทูตเรื่องลำดับอาวุโส ประเทศเจ้าภาพหรือประเทศผู้รับจะเป็นผู้ตัดสินชี้ขาดอนุสัญญากรุงเวียนนาว่า ด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติเกี่ยวกับลำดับอาวุโสของผู้แทนทางการ ทูตไว้ดังนี้ ?ข้อ 16 1. ให้หัวหน้าคณะผู้แทนมีลำดับอาวุโสในแต่ละชั้นของตนตามลำดับวันและเวลาที่ เข้ารับการหน้าที่ของตนในรัฐผู้รับ เมื่อตนได้ยื่นสารตราตั้ง หรือเมื่อได้บอกกล่าวการมาถึงของตนและได้เสนอสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้ง ต่อกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงตามแนวปฏิบัติที่มีอยู่ในรัฐผู้รับ ซึ่งจะต้องใช้ในทำนองอันเป็นเอกรูป 2. การเปลี่ยนแปลงในสารตราตั้งของหัวหน้าคณะผู้แทน ซึ่งไม่เกี่ยวพันกับการเปลี่ยนแปลงชั้นใด ๆ จะไม่กระทบกระเทือนลำดับอาวุโสของหัวหน้าคณะผู้แทน 3. ข้อนี้ไม่เป็นที่เสื่อมเสียแก่ทางปฏิบัติใด ซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับ ในเรื่องลำดับอาวุโสของผู้แทนของโฮลี่ซี ข้อ 17 ลำดับอาวุโสของสมาชิกคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายทูตของคณะผู้แทนนั้น ให้หัวหน้าคณะผู้แทนเป็นผู้บอกกล่าวแก่กระทรวงการต่างประเทศ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกัน? [การทูต] | Parliamentary Diplomacy | การทูตแบบรัฐสภา หรือบางครั้งเรียกว่า Organization Diplomacy เช่น การทูตในองค์การสหประชาชาติ การทูตแบบนี้ต่างกับการทูตตามปกติที่ดำเนินกันในนครหลวงของประเทศ กล่าวคือ1. นักการทูตมีโอกาสติดต่อโดยใกล้ชิดกับสื่อมวลชนและกับนัการทูตด้วยกันจาก ประเทศอื่น ๆ รวมทั้งจากประเทศที่ไม่เป็นมิตรภายในองค์การสหประชาติ มากกว่าในนครหลวงของประเทศ แต่มีโอกาสน้อยกว่าที่จะติดต่อกับคนชาติของตนอย่างใกล้ชิด2. การพบปะติดต่อกับบรรดานักการทูตด้วยกันในองค์การสหประชาชาติ จะเป็นไปอย่างเป็นกันเองมากกว่าในนครหลวงของประเทศ3. ในองค์การสหประชาติ ประเทศเล็ก ๆ สามารถมีอิทธิพลในการเจรจากับประเทศใหญ่ ๆ ได้มากกว่าในนครของตน เพราะตามปกติ นักการทูตในนครหลวงมักจะติดต่ออย่างเป็นทางการกับนักการทูตในระดับเดียวกัน เท่านั้น แต่ข้อนี้มิได้ปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัดนักในสหประชาชาติ ในแง่การปรึกษาหารือกันระหว่างกลุ่ม ในสมัยก่อนที่สงครามเย็นจะสิ้นสุดในสหประชาชาติได้แบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม (Blocs) ด้วยกัน คือกลุ่มเอเชียอัฟริกา กลุ่มเครือจักรภพ (Commonwealth) กลุ่มคอมมิวนิสต์ กลุ่มละตินอเมริกัน กลุ่มยุโรปตะวันตก กลุ่มสแกนดิเนเวีย และกลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ ประเทศที่มิได้ผูกพันเป็นทางการกับกลุ่มใด ๆ ที่กล่าวมา อนึ่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับสงครามเย็น สมาชิกประเทศในสหประชาชาติจะรวมกลุ่มกันตามแนวนี้ คือ ประเทศนิยมฝักใฝ่กับประเทศฝ่ายตะวันตก (Pro-West members) ประเทศที่นิยมค่ายประเทศคอมมิวนิสต์ (Pro-Communist members) และประเทศที่ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายใด (Non-aligned members)เกี่ยวกับเรื่องการทูตในการประชุมสหประชาชาติ ในสมัยสงครามเย็น นักการทูตชั้นนำของอินเดียผู้หนึ่งให้ข้อวิจารณ์ว่า ไม่ว่าจะเป็นการประชุมพิจารณากัน การทะเลาะเบาะแว้งด้วยคำผรุสวาทหรือการแถลงโผงผางต่อกันนั้น ล้วนเป็นลักษณะที่ตรงกันข้ามกับลักษณะวิสัยของการทูตทั้งสิ้น ดังนั้น สิ่งที่เป็นไปในการประชุมสหประชาชาติ จึงแทบจะเรียกไม่ได้เลยว่าเป็นการทูต เพราะการทูตที่แท้จริงจะกระทำกันด้วยอารมณ์สงบ ใช้ความสุขุมคัมภีรภาพ ปราศจากกามุ่งโฆษณาตนแต่อย่างใด การแสดงต่าง ๆ เช่น สุนทรพจน์และภาพยนตร์นั้นจะต้องมีผู้ฟังหรือผู้ชม แต่สำหรับการทูตจะไม่มีผู้ฟังหรือผู้ชม (Audience) หากกล่าวเพียงสั้น ๆ ก็คือ ผู้พูดในสหประชาชาติมุ่งโฆษณาหาเสียง หรือคะแนนนิยมจากโลกภายนอก แต่ในการทูตนั้น ผู้พูดมุ่งจะให้มีการตกลงกันให้ได้ในเรื่องที่เจรจากันเป็นจุดประสงค์สำคัญ [การทูต] | The Foreign Office | ในสมัยก่อน เมื่อสังคมนานาชาติมีสมาชิกประเทศอยู่เพียงไม่กี่แห่ง และการเจริญความสัมพันธ์ระหว่างประเทศก็ไม่มีอะไรที่ยุ่งยากซับซ้อน ดังนั้น ประมุขของรัฐหรือหัวหน้าของรัฐบาลจะเป็นผู้บริหารกิจการต่างประเทศด้วยตนเอง แต่มาในปัจจุบันเป็นไปไม่ได้ที่จะกระทำเช่นนี้ ดังนั้นทุกวันนี้ รัฐบาลของประเทศเกือบจะทุกแห่งจะมีสำนักงานในระดับกระทรวงแยกออกต่างหาก เพื่อดำเนินกิจการต่างประเทศโดยเฉพาะสำนักงานนี้จะมีชื่อเรียกแตกต่างกันใน แต่ละประเทศ เช่นเรียกว่า The Ministry of (หรือ for) Foreign Affairs, The Ministry of External Affairs, The Department of State หรือ The Department of Foreign Affairs หรือ Gaimusho เป็นต้น ส่วนหัวหน้าสำนักงานหรือเจ้ากระทรวงนั้น จะเป็นบุคคลในคณะรัฐมนตรี และเรียกชื่อตำแหน่งต่างๆ กัน เช่น The Secretary of Foreign Affairs, The Minister of External Affairs, The Secretary of State หรือ Foreign Minister หรือ Foreign Secretary ตัวรัฐมนตรีนี้จะมีผู้ช่วย ซึ่งบางตำแหน่งเรียกว่า ปลัดกระทรวง (Under-Secretaries), ผู้ช่วยปลัดกระทรวง (Assistant Under-Secretaries) พร้อมด้วยคณะเจ้าหน้าที่หรือข้าราชการที่ได้ผ่านการฝึกอบรมมาแล้วงาน ของกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปมักจะแบ่งออกเป็นสองฝ่าย ฝ่ายแรกเรียกว่าฝ่ายธุรการ (Home Service) ทำหน้าที่บริหารกิจการต่าง ๆ ภายในประเทศ ซึ่งเกี่ยวกันกับกิจการต่างประเทศ รวมทั้งการติดต่อเกี่ยวข้องกับคณะทูตานุทูต และฝ่ายที่สองเรียกว่า Foreign Service เป็นฝ่ายดำเนินงานเกี่ยวกับกิจการต่างประเทศ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในต่างแดน อันมีสถานทูต สถานกงสุล และสำนักงานอื่น ๆ เป็นตัวแทน ประกอบด้วยข้าราชการฝ่ายการทูตและฝ่ายวิชาการ ซึ่งประจำทำงานในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลและสำนักงานระหว่างประเทศอื่น ๆ แต่ประเทศไทยเรายังมิได้แบ่งออกเป็นสองฝ่ายดังกล่าวตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศเป็นตัวกลาง ทำหน้าที่ติดต่อระหว่างประเทศ ส่วนหัวหน้าคณะทูตภายในนครหลวงของแต่ละประเทศจะทำการติดต่อใด ๆ ทั้งหมดกับกระทวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับงานภายในกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็นกรม กอง โดยถือตามเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ เช่น กรมหรือกองการเอเชีย กรมการแอฟริกา กรมการอเมริกัน กรมการยุโรป และอื่น ๆ เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีกรมกองอื่น ๆ ที่ทำหน้าที่ด้านธุรการ และด้านการสื่อสารติดต่อ การประชุม การประสานงานความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การคลัง การบริการในต่างประเทศ การสารนิเทศ การกฎหมาย การห้องสมุด การหนังสือเดินทาง การบุคลากร การพิธีการทูต การวิจัย การสนธิสัญญา การตรวจลงตรา (Visa) และการสหประชาชาติในปัจจุบันในหลาย ๆ ประเทศ ผู้ที่สมัครขอรับราชการในกระทรวงการต่างประเทศจะต้องมีคุณวุฒิตามที่กระทรวง กำหนด เช่น จะต้องผ่านการสอบไล่ ทั้งในภาคปากเปล่า และข้อเขียน ตลอดจนจะต้องปรากฏตัวต่อหน้าคณะกรรมการสอบไล่ (Board) ซึ่งจะเป็นฝ่ายให้คะแนนบุคลิกและคุณภาพส่วนตัว แล้วนำคะแนนไปบวกกับคะแนนสอบข้อเขียน ในบางแห่งต้องการให้ผู้สมัครสอบเข้ารับการฝึกอบรม และให้อยู่ในระหว่างการทดลองดูความประพฤติ (Probationary period) อีกด้วย [การทูต] |
| In ancient times the Aryan tribe of the Langobardians made human sacrifice to the god Thor. | ในสมัยก่อนชนเผ่า อารยัน จะใช้มนุษย์ ในการบูชายันต์ The Great Dictator (1940) | He used to come to the terrace sometimes in the olden days too. | เขาใช้ที่จะมาถึงระเบียงบางครั้ง ในสมัยก่อนมากด้วย The Old Man and the Sea (1958) | In the old days, he had sung at night when he was alone... ... steering on his watch on the turtle boats. | ในสมัยก่อนเขาได้ร้องในเวลา กลางคืน บางครั้งเมื่อเขาเป็นคนเดียว พวงมาลัยบนนาฬิกาข้อมือของ เขาบนเรือเต่า The Old Man and the Sea (1958) | He got us some good showcases in the old days. | เขาแสดงได้ดีในสมัยก่อน The Blues Brothers (1980) | Ancient enemy make prayer about these people. Do you wish to hear? | พวกศัตรูในสมัยก่อนเคยสวดอ้อนวอนเกี่ยวกับพวกเราNอยากฟังมั้ย Rambo III (1988) | According to the teaching methods you taught me in the past | ตามวิธีการสอน ที่คุณเคยสอนฉันในสมัยก่อน GTO (1999) | Drawing the metaphor of the early attempts to fly. | ลองเปรียบเทียบกับความพยายามที่จะบินในสมัยก่อน The Corporation (2003) | Comparing the marketing of yesteryear to the marketing of today is like comparing a BB Gun to a smart bomb. | การเปรียบเทียบตลาดในสมัยก่อน (ซูซาน ลินน์ ศาสตราจารย์ด้านจิตบำบัด, ศูนย์จิตวิทยาเด็กเบเกอร์, ฮาร์วาร์ด) กับการทำตลาดในสมัยนี้ ก็เหมือนเปรียบเทียบปืนกลกับสมาร์ทบอมบ์ The Corporation (2003) | It may be an old compound. | บางทีมันอาจเป็นสารที่ใช้ในสมัยก่อน Nin x Nin: Ninja Hattori-kun, the Movie (2004) | The insignia for an ancient blood cult. Right. | มันเป็นสัญลักษณ์ของการบูชาเลือดในสมัยก่อน ใช่ No Such Thing as Vampires (2007) | I've sold plenty of paintings in the past. | ผมขายรูปได้มากในสมัยก่อน Adverse Events (2008) | - Wonder of the ancients. | เป็นที่ประหลาดในสมัยก่อน To Kill the King (2008) | It's Gogonasus It was said there is 10, 000 of them in the river of 'De Pang Ke'. | นั่นมัน "Gogonasus" นี่ เค้าว่าในสมัยก่อนมีเป็นหมื่นๆตัวเลยนะ Ponyo (2008) | Look, I know that we've had our differences in the past. | ผมรู้นะว่าเราแตกต่างกันมากในสมัยก่อน Subversion (2010) | We've become actors. | ในสมัยก่อน สิ่งที่กษัตริย์ควรจะมี มีเพียงแค่ลักษณะ ที่ดี น่ายกย่องในชุดยูนิฟอร์ม และขี่ม้าเป็น The King's Speech (2010) | And she was a pretty hands-on goddess back in the day. | และเธอก็ค่อนข้างเกี่ยวโดยตรง กับเทพีในสมัยก่อน You Can't Handle the Truth (2010) | Like that Bonnie and I'm Clyde. | เธอเป็น Bonnie ฉันเป็น Clyde (คู่รักหัวขโมยที่โด่งดังในสมัยก่อน) Hick (2011) | It was a way of showing a stranger you weren't carrying a weapon in the old days. | มันเป็นวิธีแสดงให้คนแปลกหน้าเห็นว่าคุณไม่ได้พกอาวุธในสมัยก่อน Contagion (2011) | Old partisans used to hole up here back in the day. | พรรคพวกเราเคยใช้หลุมนี้ในการซ่อนตัว ในสมัยก่อน Resident Evil: Damnation (2012) | From fierce warriors, like the Celtic Fairy Queens, to wise scholars like the Druids, we historically have been treated as equals. | ตั้งแต่นักรบกล้า อย่างราชินีนางฟ้าเซลติค จนถึงนักปราชญ์อย่างเดอะ ดรูดส์ ในสมัยก่อน เราถูกปฏิบัติ อย่างเท่าเทียม Truth and Consequences (2012) | It's always nice to see someone who knew me from the old days. | มันเป็นเรื่องที่ดีที่ได้เจอใครบางคนที่รู้จักผมในสมัยก่อน Chained Heat (2012) | You needed a totally different skill set to make it on the savanna. | ที่จะทำให้มันบนหญ้าสะวันนา ในสมัยก่อน คุณสามารถนั่งอยู่บนกิ่งไม้ของคุณ The Lost Worlds of Planet Earth (2014) | Whatever happened to good, old-fashioned clear? | ในสมัยก่อนหน่ะ ชัดเจนแล้วไม่ใช่หรอ? Streets of Fire (2014) | This place was built on the site of an original slave market. | ที่นี่ถูกสร้างขึ้น ทับตลาดค้าทาสในสมัยก่อน Size Matters (2014) | Nothing I didn't learn from you back in the day. | ไม่มีอะไรที่ฉันไม่ได้เรียนรู้ จากนายในสมัยก่อน House of the Rising Son (2013) |
| on the breadline | ในสถานการณ์ที่ยากจนมาก (สำนวนนี้มีที่มาจากการเข้าแถวรอรับขนมปังจากรัฐบาลในสมัยก่อน) เช่น She has been forced to live on the breadline for failing to sign Child Support Agency forms. | rain check | [เรน เชค] (n,, idiom, (สำนวน)) เลื่อนไปก่อน ไว้ค่อยทำในอนาคต เช่น Can I have a rain check? ขอเลื่อนไปวันหลังได้ไหม คำนี้มีที่มาจากการแข่งขันกีฬาในสมัยก่อน ซึ่งหากฝนตกหรืออากาศไม่ดี ทำให้ไม่สามารถแข่งขันได้ ผู้เข้าชมสามารถขอรับหางตั๋ว หรือ คูปองกระดาษ (เรียกว่า rain check) เพื่อในครั้งต่อไปที่มา จะได้สามารถแสดงหางตั๋วนี้ และเข้าชมได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย |
| caparison | (n) เครื่องแต่งกายสำหรับม้าสงครามในสมัยก่อน | dirk | (n) ดาบยาวที่ชาวสก็อตใช้เป็นอาวุธในสมัยก่อน, Syn. dagger | erstwhile | (adj) ในสมัยก่อน, See also: ในอดีต, แต่ก่อน, Syn. former, past | mediaeval | (adj) เกี่ยวกับยุคกลาง, See also: ในสมัยก่อน, Syn. medieval | pennon | (n) ธงปีกนกของอัศวินในสมัยก่อน, Syn. gonfalon, labarum, banner | press gang | (n) กลุ่มผู้ถูกจ้างในสมัยก่อนเพื่อบังคับคนให้เข้าเป็นทหาร | sabot | (n) รองเท้าไม้, See also: ใช้สวมในสมัยก่อนของประเทศเบลเยียม ฝรั่งเศส เนอร์เธอแลนด์ และเยอรมัน, Syn. patten | vellum | (n) หนังแกะ แพะหรือลูกวัวที่ใช้เขียนหนังสือในสมัยก่อน, Syn. parchment, leather | velocipede | (n) รถจักรยานสองล้อหรือสามล้อในสมัยก่อน, Syn. bicycle, tricycle |
| upper case | ตัวใหญ่เมื่อใช้กับตัวอักษรภาษาอังกฤษ จะมีความหมายเหมือน capital letter เช่น A B C D ศัพท์นี้มาจากการใช้ตัวตัวเรียงพิมพ์ในสมัยก่อน ตัวใหญ่ จะอยู่ในถาดข้างบนจึงเรียกว่า upper case และตัวเล็ก (เช่น a b c d) จะอยู่ในถาดข้างล่าง จึงเรียกว่า lower case | vax | แวกซ์เป็นชื่อของคอมพิวเตอร์ยี่ห้อหนึ่ง ผลิตโดยบริษัท Digital Equipment Corp (DEC) แต่เดิมมาบริษัทนี้จะผลิตเฉพาะคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ (mainframe) และมินิคอมพิวเตอร์ (minicom- puter) นับตั้งแต่ ค.ศ.1988 เป็นต้นมา แวกซ์ได้ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ออกสู่ตลาดด้วย และเป็นไมโครคอมพิวเตอร์ ที่มีประสิทธิภาพในการทำงานสูง เทียบเคียงได้กับรุ่นใหญ่ที่เคยผลิตในสมัยก่อนเลยด้วยซ้ำ นับเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีชื่อเสียงในตลาดยี่ห้อหนึ่ง | yore | (ยอร์) n. อดีตกาล. adv. นานมาแล้ว, ในอดีต, เก่าแก่, ในสมัยก่อน, Syn. past times |
| fools cap | หมวกชนิดหนึ่งมีลูกพรวน ซึ่งตลกหลวงในสมัยก่อนสวมใส่, กระดาษเขียนหนังสือมีบรรทัด พับสองทบได้ | เกรียน | (n) เกรียน ในสมัยก่อนหมายถึงเด็กนักเรียนที่เรียนอยู่ในชั้น ประถม ถึง มัธยม แต่ในปัจจุบัน การกล่าวคำว่าเกรียนหมายถึง ผู้ใช้ อารมณ์ในการตัดสินปัญหา มากกว่าที่จะใช้ เหตุและผล ขาดความยั้งคิด และทำตัวเดือดร้อนให้แก่คนรอบข้าง มักพบได้ใน เด็ก ประถม ขึ้นไป |
| Bonn | เมืองบอนน์ เมืองหลวงของเยอรมันตะวันตกในสมัยก่อน | Philharmonie | (n) |die, pl. Philharmonien| วงดนตรีคลาสสิคขนาดใหญ่ที่ประกอบด้วยนักดนตรีอาชีพมากกว่า 80 คน จนถึงขนาด 100 กว่าคน ซึ่งสามารถบรรเลงเพลงคลาสสิคขนาดใหญ่ที่ต้องใช้เครื่องดนตรีครบทุกชนิดได้ (ในสมัยก่อนหมายถึงวงดนตรีที่นักดนตรีอาสาเข้ามาเล่นดนตรีโดยไม่จำเป็นต้องได้รับค่าตอบแทน แต่ในปัจจุบันความหมายได้กลายเป็นความหมายเดียวกับ symphony orchestra โดยนักดนตรีในวง philharmonic orchestra ได้กลายเป็นนักดนตรีอาชีพที่ได้รับค่าตอบแทนประจำจากวง) |
| philharmonic orchestra | (n) วงดนตรีคลาสสิคขนาดใหญ่ที่ประกอบด้วยนักดนตรีอาชีพมากกว่า 80 คน จนถึงขนาด 100 กว่าคน ซึ่งสามารถบรรเลงเพลงคลาสสิคขนาดใหญ่ที่ต้องใช้เครื่องดนตรีครบทุกชนิดได้ (ในสมัยก่อนหมายถึงวงดนตรีที่นักดนตรีอาสาเข้ามาเล่นดนตรีโดยไม่จำเป็นต้องได้รับค่าตอบแทน แต่ในปัจจุบันความหมายได้กลายเป็นความหมายเดียวกับ symphony orchestra โดยนักดนตรีในวง philharmonic orchestra ได้กลายเป็นนักดนตรีอาชีพที่ได้รับค่าตอบแทนประจำจากวง), See also: chamber orchestra, Syn. symphony orchestra |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |