ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: โมทนา, -โมทนา- |
โมทนา | (v) be pleased, See also: rejoice, be delighted, Syn. บันเทิง, ยินดี, Example: คุณทำความดีผมก็โมทนาด้วย | อนุโมทนา | (n) congratulations, See also: felicitations, Syn. ความเห็นดี, ความชอบใจ, Thai Definition: ความยินดีด้วย, การพลอยยินดี, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | อนุโมทนา | (v) say amen, See also: express gratitude, rejoice with, offer congratulations, Example: ผมขออนุโมทนาที่ท่านคิดอย่างนั้น, Thai Definition: ยินดีตาม, ยินดีด้วย, พลอยยินดี, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
| ปัตตานุโมทนา | (-โมทะนา) น. การอนุโมทนาส่วนบุญที่ผู้อื่นให้. | ปัตตานุโมทนามัย | ว. สำเร็จด้วยการยินดีในความดีของผู้อื่น, เป็นธรรมข้อ ๑ ในบุญกิริยาวัตถุ ๑๐. | โมทนา ๑ | (โมทะนา) ก. บันเทิง, ยินดี, พลอยยินดี. | โมทนา ๒ | (โมทะนา) ก. พลอยบันเทิง, พลอยยินดี. (ตัดมาจาก อนุโมทนา). | อนุโมทนา | (-โมทะนา) ก. ยินดีตาม, ยินดีด้วย, พลอยยินดี | อนุโมทนา | เรียกคำให้ศีลให้พรของพระว่า คำอนุโมทนา. | อนุโมทนาบัตร | น. บัตรที่แสดงความพลอยยินดีหรืออนุโมทนาต่อบุญกุศลที่บุคคลนั้น ๆ ได้ทำแล้ว. | กฐิน, กฐิน- | คำ <b><i>กฐิน </i></b> นี้ ใช้ประกอบกับคำอื่นอันเนื่องด้วยพิธีกฐิน ผ้าที่ถวายแก่ภิกษุสงฆ์ในพิธีนี้ เรียกว่า <b><i>ผ้ากฐิน </i></b> ในฤดูกาลเรียกว่า <b><i>กฐินกาล </i></b> [ กะถินนะกาน ] คือระยะเวลาตั้งแต่แรมคํ่าหนึ่ง เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ระยะเวลานี้เรียกเป็นสามัญว่า<b><i>เทศกาลกฐิน </i></b>[ เทดสะกานกะถิน ] <b><i>ฤดูกฐิน </i></b> หรือ <b><i>หน้ากฐิน </i></b> ก็มี ก่อนจะถึงกฐินกาลผู้ประสงค์จะถวายผ้ากฐินแก่ภิกษุสงฆ์วัดใดจะต้องไปแจ้งความจำนงว่าจะนำผ้ากฐินไปทอดที่วัดนั้นเป็นการล่วงหน้า การแสดงความจำนงล่วงหน้านี้ เรียกว่า <b><i>จองกฐิน </i></b> การทำพิธีถวายผ้ากฐิน เรียกว่า <b><i>ทอดกฐิน </i></b>พระภิกษุผู้ได้รับมอบผ้ากฐินจากสงฆ์โดยวิธีที่กำหนดไว้ในพระวินัย เรียกว่า <b><i>ผู้กรานกฐิน ผู้ครองกฐิน </i></b> หรือ <b><i>องค์ครองกฐิน </i></b>เฉพาะผ้ากฐิน บางทีก็เรียกว่า <b><i>องค์กฐิน </i></b>ถ้าพร้อมกับของอื่นอันเป็นบริวารสำหรับถวายภิกษุสงฆ์ เรียกว่า <b><i>เครื่องกฐิน </i></b>หรือ <b><i>บริวารกฐิน </i></b>[ บอริวานกะถิน ] เมื่อนำผ้ากฐินไปทอดโดยมีขบวนแห่ เรียกว่า <b><i>แห่กฐิน </i></b>ถ้ามีพิธีฉลอง เรียกว่า <b><i>ฉลองกฐิน </i></b> การที่ภิกษุสงฆ์ผู้ร่วมอยู่ในพิธีอนุโมทนาต่อองค์ครองกฐินตามพระวินัย หรือการที่บุคคลแสดงความยินดีในการที่เขาทอดกฐิน เรียกว่า <b><i>อนุโมทนากฐิน </i></b>[ อะนุโมทะนากะถิน ] ภิกษุสงฆ์ผู้ได้อนุโมทนากฐินแล้วนั้น ย่อมได้ชื่อว่าเป็น <b><i>ผู้กรานกฐิน </i></b> ด้วย ผลของการทอดกฐิน เรียกว่า <b><i>อานิสงส์กฐิน </i></b>, ในทางวินัยสิทธิพิเศษ ๕ ประการซึ่งมีแก่ภิกษุผู้ได้กรานกฐินแล้ว ก็เรียกว่า <b><i>อานิสงส์กฐิน </i></b>เช่นกัน. <i> (ดู กรานกฐิน และ จุลกฐิน)</i>. | กรานกฐิน | (-กะถิน) ก. ขึงไม้สะดึง คือ เอาผ้าที่จะเย็บเป็นจีวรเข้าขึงที่ไม้สะดึง เย็บเสร็จแล้วบอกแก่ภิกษุทั้งหลายผู้ร่วมใจกันยกผ้าให้ในนามของสงฆ์เพื่ออนุโมทนา, ภิกษุผู้เย็บจีวรเช่นนั้น เรียกว่า ผู้กราน, สงฆ์ยกผ้าอันไม่พอแจกกันให้ภิกษุรูปหนึ่ง ภิกษุรูปนั้นทำตั้งแต่ซัก กะ ตัด เย็บ ย้อม เสร็จในวันนั้น ทำพินทุกัปปะอธิษฐานเป็นจีวรครอง เป็นจีวรกฐิน เรียกว่า . (อุปสมบทวิธี). <i> (ดู กฐิน)</i>. | ทิฏฐุชุกรรม | น. การทำความเห็นให้ตรง คือ เห็นถูกทาง เช่น เห็นว่า ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว (เป็นข้อหนึ่งในบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ คือ ทานมัย สีลมัย ภาวนามัย อปจายนมัย เวยยาวัจจมัย ปัตติทานมัย ปัตตานุโมทนามัย ธัมมัสสวนมัย ธัมมเทสนามัย ทิฏฐุชุกรรม). | บุญกิริยาวัตถุ | (บุนยะ-) น. ที่ตั้งแห่งการทำบุญ, เรื่องที่จัดเป็นการทำความดี, หลักการทำความดี, ทางทำความดี, มี ๑๐ ข้อ คือ ทานมัย สีลมัย ภาวนามัย อปจายนมัย เวยยาวัจจมัย ปัตติทานมัย ปัตตานุโมทนามัย ธัมมัสสวนมัย ธัมมเทสนามัย ทิฏฐุชุ-กรรม, โดยย่อมี ๓ ข้อ ได้แก่ ทานมัย สีลมัย ภาวนามัย. | สาธุ | ก. เปล่งวาจาแสดงความเห็นว่าชอบแล้วหรืออนุโมทนาด้วย, มักใช้เข้าคู่กับคำ โมทนา เป็น โมทนาสาธุ |
|
| อนุโมทนา | [anumōthanā] (n) EN: congratulations | อนุโมทนา | [anumōthanā] (v) EN: be glad for s.o. ; rejoice in another's good fortune ; congratulate ; say amen | อนุโมทนาบัตร | [anumōthanābat] (n) EN: donation receipt ; testimonial ; prerogative ; privilege | โมทนา | [mōthanā] (v) EN: be pleased ; rejoice ; be delighted ; be gratified FR: apprécier ; rendre grâce | โมทนาคุณ | [mōthanākhun] (x) FR: exprimer de la gratitude |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |