ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: โมกข์, -โมกข์- |
โมกข์ | (n) freedom, See also: independence, liberty, Syn. ความหลุดพ้น, นิพพาน | โมกข์ | (n) leader, See also: principal, Syn. หัวหน้า, ประธาน | พิโมกข์ | (v) free, Syn. พิโมกษ์, หลุดพ้น, Thai Definition: เปลื้อง, พ้น, หลุดออกไป | พิโมกข์ | (n) salvation, See also: annihilation, Syn. พิโมกษ์, Thai Definition: ความพ้น, ความเปลื้องออก | วิโมกข์ | (n) release from human affairs, See also: liberation, Nirvana, deliverance, freedom, Syn. ความหลุดพ้น, ความพ้น, พระนิพพาน, Thai Definition: การขาดจากความพัวพันแห่งโลก, การหมดกิเลส, Notes: (บาลี) | ทิศาปาโมกข์ | (n) famous instructor, See also: great teacher, Thai Definition: อาจารย์ผู้มีความรู้และชื่อเสียงโด่งดัง |
| ทิศาปาโมกข์ | น. “ผู้เป็นใหญ่เป็นประธานในทิศ”, อาจารย์ผู้มีความรู้และชื่อเสียงโด่งดัง. | ปาติโมกข์ | น. คัมภีร์ว่าด้วยวินัยของสงฆ์ ๒๒๗ ข้อ, ชื่อบาลีที่ประมวลพุทธบัญญัติอันทรงตั้งขึ้นเป็นพุทธอาณา ได้แก่ อาทิพรหมจริยกาสิกขา มีพระพุทธานุญาตให้สวดในที่ประชุมสงฆ์ทุกวันอุโบสถ. | ปาโมกข์ | น. ผู้เป็นหัวหน้า, ผู้เป็นประธาน. | พิโมกข์ | น. ความพ้น, ความเปลื้องออก, ชื่อพระนิพพาน. | พิโมกข์ | ก. เปลื้อง, พ้น. | โมกข-, โมกข์ ๑ | (โมกขะ-) น. ความหลุดพ้น, นิพพาน. | โมกข์ ๒ | ว. หัวหน้า, ประธาน. | วิโมกข์ | น. ความหลุดพ้น, การขาดจากความพัวพันแห่งโลก | วิโมกข์ | พระนิพพาน. | ศิวโมกข์ | น. พระนิพพาน. | สังฆปาโมกข์ | น. หัวหน้าสงฆ์. | อธิโมกข์ | น. ความตัดสินเด็ดขาด, ความเด็ดเดี่ยว | อธิโมกข์ | ความน้อมใจเชื่อ. | อรหัตวิโมกข์ | น. ความพ้นจากกิเลสเพราะสำเร็จอรหัต. | จตุปาริสุทธิศีล | (-ปาริสุดทิสีน) น. ศีลคือความบริสุทธิ์ หรือ ศีลคือเครื่องให้บริสุทธิ์ ๔ ประการ คือ ๑. สำรวมในพระปาติโมกข์ (ปาติโมกฺขสํวร) ๒. สำรวมตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ (อินฺทฺริยสํวร) ๓. เลี้ยงชีพโดยทางชอบ (อาชีวปาริสุทฺธิ) ๔. บริโภคปัจจัยด้วยการพิจารณา (ปจฺจยสนฺนิสฺสิต). | โบสถ์ | น. สถานที่สำหรับพระสงฆ์ใช้ประชุมทำสังฆกรรม เช่น สวดพระปาติโมกข์ อุปสมบท มีสีมาเป็นเครื่องบอกเขต, อนุโลมเรียกสถานที่ประกอบพิธีกรรมของศาสนาอื่นว่า โบสถ์ เช่น โบสถ์พราหมณ์ โบสถ์คริสต์. (มาจากคำว่า อุโบสถ). | พิโมกษ์ | น. พิโมกข์. | ลงอุโบสถ | ก. เข้าร่วมสังฆกรรมฟังพระปาติโมกข์ในวันขึ้น ๑๕ คํ่า วันแรม ๑๔ หรือ แรม ๑๕ คํ่าของเดือน (ใช้แก่พระสงฆ์), ลงโบสถ์ ก็ว่า. | วันอุโบสถ | น. วันขึ้น ๑๕ คํ่า และวันแรม ๑๕ คํ่า ถ้าเป็นเดือนขาดก็แรม ๑๔ คํ่า เป็นวันที่พระลงอุโบสถฟังพระปาติโมกข์และเป็นวันที่พุทธศาสนิกชนถืออุโบสถศีลคือ ศีล ๘. | สงฆ์ | ภิกษุตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปร่วมกันทำสังฆกรรม แต่จำนวนภิกษุที่เข้าร่วมสังฆกรรมแต่ละอย่างไม่เท่ากัน คือในสังฆกรรมทั่ว ๆ ไป เช่น ในการสวดพิธีธรรม สวดอภิธัมมัตถสังคหะ ประกอบด้วยภิกษุ ๔ รูป เรียกว่า สงฆ์จตุรวรรค ในการรับกฐิน สวดพระปาติโมกข์ ปวารณากรรม และอุปสมบทในถิ่นที่ขาดแคลนภิกษุ ต้องประกอบด้วยภิกษุ ๕ รูป เรียกว่า สงฆ์ปัญจวรรค ในการอุปสมบทในถิ่นที่มีภิกษุมาก ต้องประกอบด้วยภิกษุ ๑๐ รูป เรียกว่า สงฆ์ทสวรรค และในการสวดอัพภานระงับอาบัติสังฆาทิเสส ต้องประกอบด้วยภิกษุ ๒๐ รูป เรียกว่า สงฆ์วีสติวรรค, ภิกษุที่เข้าร่วมสังฆกรรมดังกล่าว ถ้ามากกว่าจำนวนที่กำหนดจึงจะใช้ได้ ถ้าขาดจำนวนใช้ไม่ได้. | สังฆกรรม | น. กิจที่พระสงฆ์ตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปรวมกันทำภายในสีมา เช่น การทำอุโบสถ การสวดพระปาติโมกข์. | สำนัก | แหล่งศึกษาอบรม เช่น สำนักวิปัสสนาวัดปากน้ำ สำนักทิศาปาโมกข์. | อุโบสถ ๑ | (อุโบสด) น. เรียกสถานที่ที่พระสงฆ์ประชุมกันทำสังฆกรรมเช่นสวดพระปาติโมกข์ อุปสมบท ว่า โรงอุโบสถ หรือ อุโบสถ, เรียกย่อว่า โบสถ์ | อุโบสถ ๑ | เรียกการแสดงพระปาติโมกข์ของพระสงฆ์ทุก ๆ กึ่งเดือน คือ ในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ และวันแรม ๑๕ ค่ำ หรือวันแรม ๑๔ ค่ำ ในเดือนขาด ว่า การทำอุโบสถ |
|
| ปาติโมกข์ | [pātimok] (n) EN: code of 227 precepts for a Buddhist priest FR: code des 227 préceptes bouddhiques [ m ] |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |