ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: โภช, -โภช- |
โภช | (n) eatables, See also: comestibles, Syn. ของบริโภค, ของกิน, Thai Definition: ของควรบริโภค, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | โภชนา | (n) nutrition, Syn. อาหาร, ข้าวปลาอาหาร | โภชนากร | (n) nutritionist, Syn. นักโภชนาการ, Example: แม่ของฉันเป็นโภชนากรประจำอยู่ที่โรงพยาบาลศิริราช, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่มีความรู้เรื่องโภชนาการแล้วสามารถให้ความรู้ และคำแนะนำในเรื่องอาหารแก่บุคคลอื่นต่อไปได้ | งานสมโภช | (n) celebration, See also: festival, festivity, ceremony, Syn. งานฉลอง, งานเฉลิมฉลอง, Example: ในทุกปีจะมีประชาชนไปร่วมงานสมโภชพระปฐมเจดีย์ที่จังหวัดนครปฐมกันอย่างเนื่องแน่น, Count Unit: งาน | โภชนะห้า | (n) five eatables, Thai Definition: ข้าว 5 อย่างคือ ข้าว, ขนมสดที่จะบูดเมื่อล่วงเวลา, ขนมแห้งที่ยังไม่บูด, ปลารวมทั้งหอยกุ้งและสัตว์น้ำที่กินได้, เนื้อสัตว์บกและนกที่ใช้เป็นอาหาร | โภชนาการ | (n) nutrition, See also: dietetics, Example: เด็กที่มีน้ำหนักลดอย่างรวดเร็ว แสดงว่าสุขภาพและโภชนาการไม่ดี, Thai Definition: ความสัมพันธ์ระหว่างอาหารกับกระบวนการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต | โภชนาหาร | (n) nutrient, Example: คนเราควรจะได้รับธาตุเหล็กและโภชนาหาร หรือธาตุอาหารสำคัญๆ ตั้งแต่เด็กๆ, Thai Definition: สารองค์ประกอบสำคัญของอาหารที่ทำให้อาหารมีคุณค่าในการบำรุงเลี้ยงร่างกาย ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน แร่ธาตุ วิตามิน และน้ำ | ทุโภชนาการ | (n) malnutrition, See also: scurvy, consumption, rickets | นักโภชนาการ | (n) nutritionist, Syn. โภชนากร, Example: เมื่อพูดถึงสังกะสีนักโภชนาการจะนึกถึงแร่ธาตุที่เป็นสารอาหารอย่างหนึ่งที่จำเป็นต่อร่างกาย, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญเรื่องอาหารตามหลักวิทยาศาสตร์ |
|
| คามโภชก | น. นายบ้าน, นายตำบล, ผู้ใหญ่บ้าน, กำนัน. | โภช, โภชย์ | (โพด) น. ของควรบริโภค. | โภชก | (-ชก) น. นายบ้าน, ผู้ใหญ่บ้าน, เช่น คามโภชก ว่า กำนัน, นายอำเภอ. | โภชน-, โภชนะ | (โพชะนะ-, โพดชะนะ) น. อาหาร | โภชน-, โภชนะ | การกิน, การกินข้าว. | โภชนะห้า | (โพชะนะห้า) น. ข้าว ๕ อย่าง คือ ข้าวสุก (ข้าวมัน หรือ ข้าวผัด ก็นับเข้า) ขนมสด (ขนมที่จะบูดเมื่อล่วงเวลาแล้ว เช่น แป้งจี่ ขนมด้วง ขนมครก) ขนมแห้ง (ที่ไม่บูด เช่น จันอับ ขนมปัง) ปลา (รวมทั้งหอย กุ้ง และสัตว์นํ้าเหล่าอื่นที่ใช้เป็นอาหาร) เนื้อ (เนื้อของสัตว์บกและนกที่ใช้เป็นอาหาร). | โภชนากร | (โพชะนา-, โพดชะนา-) น. ผู้ที่มีความรู้เรื่องโภชนาการแล้วสามารถให้ความรู้และคำแนะนำในเรื่องอาหารแก่บุคคลอื่นต่อไปได้. | โภชนาการ | (โพชะนา-, โพดชะนา-) น. วิทยาศาสตร์ประยุกต์แขนงหนึ่ง ว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างอาหารกับกระบวนการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต. | โภชนาหาร | (โพชะนา-, โพดชะนา-) น. สารองค์ประกอบสำคัญของอาหารที่ทำให้อาหารมีคุณค่าในการบำรุงเลี้ยงร่างกาย ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน แร่ธาตุ วิตามิน และนํ้า. | โภชนียะ | น. อาหารควรบริโภค. | โภชนากร | ดู โภชน-, โภชนะ. | โภชนาการ | ดู โภชน-, โภชนะ. | โภชนาหาร | ดู โภชน-, โภชนะ. | โภชนียะ | ดู โภชน-, โภชนะ. | ลฆุโภชน์ | น. เครื่องว่าง, อาหารว่าง. | วิกาลโภชน์ | น. การกินอาหารในเวลาวิกาล คือ ผิดเวลา ซึ่งว่าตามพระวินัยกำหนดไว้ตั้งแต่เที่ยงแล้วไปจนถึงอรุณขึ้น. | สมโภช | (-โพด) น. การกินร่วม, การเลี้ยงอาหาร | สมโภช | งานเลี้ยง, งานฉลองในพิธีมงคลเพื่อความยินดีร่าเริง เช่น งานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี งานสมโภชพระสุพรรณบัฏ (ใช้เฉพาะแต่ในงานพระราชพิธี). | สุธาโภชน์ | น. ของกินอันเป็นทิพย์. | กรรภิรมย์ | (กัน-) น. ฉัตร ๕ ชั้นและ ๗ ชั้น สำรับหนึ่งมี ๓ องค์ คือ พระเสมาธิปัต พระฉัตรชัย พระเกาวพ่ายหรือพระเกาวพ่าห์ ทำด้วยผ้าขาวลงยันต์เส้นเขียนทอง เป็นเครื่องสูงอันเป็นสิริมงคลยิ่งสำหรับพระมหากษัตริย์ ใช้กางเชิญนำพระราชยานเวลาเสด็จพระราชดำเนินโดยกระบวนพยุหยาตราใหญ่ และใช้เข้าพิธีคชกรรมนำช้างสำคัญขึ้นจากแพเข้าสู่โรงสมโภช หรือใช้ผูกเสาพระแท่นมณฑลในพระราชพิธีใหญ่, เขียนเป็น กรรม์ภิรมย์ กันภิรมย์ หรือ กันพิรุณ ก็มี. | กระยา | น. เครื่อง, สิ่งของ, เครื่องกิน, เช่น เทียนธูปแลประทีปชวาลา เครื่องโภชนกระยา สังเวยประดับทุกพรรณ (ดุษฎีสังเวยกล่อมช้างของเก่า ครั้งกรุงเก่า), เขียนเป็น กรยา ก็มี เช่น พระไพรดมานโฉม นุบพิตรแลงผอง มนตรอัญสดุดิยฮอง กรยานุถกลทาบ (ดุษฎีสังเวยกล่อมช้างของเก่า ขุนเทพกะวีแต่ง). | กระอั้วแทงควาย | น. ชื่อการเล่นชนิดหนึ่งในการสมโภชของหลวง, บางทีเรียก กระอั้ว ว่า นางอั้ว เช่น นางอั้วเพ่งผัวเอน ควายเสี่ยว (สาส์นสมเด็จ). | กษีรธารา | น. สายนํ้านม เช่น ให้เสวยโภชนและกษีรธารา (ม. คำหลวง นครกัณฑ์). | ขนมกรุบกรอบ | น. ขนมประเภทที่ทำด้วยแป้ง น้ำตาล เกลือ เป็นต้น อบหรือทอดกรอบ มีคุณค่าทางโภชนาการน้อย. | ขัช, ขัชกะ | (ขัด, ขัดชะกะ) น. อาหารควรเคี้ยว เช่น ตั้งขัชกโภชนาหาร (ม. ร่ายยาว ชูชก). | ขาทนียะ | (ขาทะ-) น. อาหารควรเคี้ยว, มักใช้เข้าคู่กับคำ โภชนียะ เป็น ขาทนียโภชนียะ หมายความว่า อาหารที่ควรเคี้ยวและอาหารที่ควรบริโภค. | โจนร่ม | น. การเล่นชนิดหนึ่ง เช่น มีการมหรสพสมโภชต่าง ๆ และมีโจนร่มด้วย (พงศ. เลขา). | ช้าลูกหลวง | น. การขับกล่อมพระราชโอรสพระราชธิดาในพระราชพิธีสมโภชขึ้นพระอู่. | ถวายข้าวพระ | ก. ทำพิธีอย่างหนึ่ง เมื่อนำสำรับคาวหวานไปถวายพระพุทธรูปโดยยกมือประนม กล่าวคำว่า อุกาส สูปพฺยฺชนสมฺปนฺนํ สาลีนํ โภชนํ สอุทกํ วรํ พุทฺธสฺส ปูเชมิ. | ทวีธาภิเษก | น. พระราชพิธีสมโภชเมื่อรัชกาลที่ ๕ ทรงครองราชสมบัติยืนนานมาเป็น ๒ เท่าของรัชกาลที่ ๔, เรียกเหรียญที่จัดทำขึ้นเป็นที่ระลึกในพระราชพิธีนี้ ว่า เหรียญทวีธาภิเษก. | นานัคครส | (นานักคะรด) น. รสเลิศต่าง ๆ เช่น นานัคครสโภชนาหาร (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์). | เบิกพระโอษฐ์ | น. พิธีป้อนนํ้าโดยใช้ช้อนทองคำตักน้ำบริสุทธิ์ป้อนพระราชโอรสหรือพระราชธิดาเป็นครั้งแรกในพระราชพิธีสมโภช ๓ วัน. | เป็นการใหญ่ | ว. เป็นการเอิกเกริก, เป็นงานใหญ่, เช่น จัดงานสมโภชเป็นการใหญ่, เกินปรกติ เช่น เลี้ยงดูเป็นการใหญ่ จัดบ้านเป็นการใหญ่. | พระราชพิธี | น. พิธีที่พระมหากษัตริย์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ กำหนดไว้ตามราชประเพณี เช่น พระราชพิธีฉัตรมงคล พระราชพิธีสงกรานต์ พระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่ พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี. | โมงครุ่ม | น. การมหรสพอย่างหนึ่งของหลวง ที่แสดงในงานพระราชพิธีสมโภช เช่นพระราชพิธีโสกันต์, โบราณเรียก หม่งครุ่ม. | ระเบ็ง ๑ | น. การมหรสพชนิดหนึ่งของหลวง ที่แสดงในงานพระราชพิธีสมโภช เช่น พระราชพิธีโสกันต์. | รัชมังคลาภิเษก | น. พระราชพิธีสมโภชเมื่อพระมหากษัตริย์ทรงครองราชสมบัติได้นานกว่าพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ที่เคยมีมา. | รัชดาภิเษก | น. พระราชพิธีสมโภชเมื่อพระมหากษัตริย์ทรงครองราชสมบัติครบ ๒๕ ปี. | วันฉัตรมงคล | น. วันประกอบพระราชพิธีสมโภชพระมหาเศวตฉัตรและเครื่องเบญจราชกกุธภัณฑ์ ซึ่งตรงกับวันบรมราชาภิเษก ในรัชกาลปัจจุบันตรงกับวันที่ ๕ พฤษภาคม. | สิบสองพระกำนัล | น. นางพระกำนัลที่มีหน้าที่รับใช้พระมหากษัตริย์ มี ๑๒ ตำแหน่ง ได้แก่ กำนัลรับพระหัตถ์ กำนัลพระขันหมาก กำนัลน้ำเสวย กำนัลพัชนี กำนัลพระสำอาง กำนัลพระมาลา กำนัลพระบังคน กำนัลพระไสยาสน์ กำนัลทิพยรส กำนัลพระโภชน์ กำนัลพระโอษฐ์ และกำนัลทาพระองค์. |
| | Food pharmacy | โภชนเภสัช [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Nutraceuticals | เภสัชโภชนศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Malnutrition | ทุพโภชนาการ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Animal nutrition | โภชนาการสัตว์ [TU Subject Heading] | Boron in plant nutrition | โบรอนในโภชนาการพืช [TU Subject Heading] | Child nutrition disorders | โภชนาการผิดปกติในเด็ก [TU Subject Heading] | Communication in nutrition | การสื่อสารทางโภชนาการ [TU Subject Heading] | Fish oils in human nutrition | น้ำมันปลาในโภชนาการมนุษย์ [TU Subject Heading] | Infant nutrition disorders | โภชนาการผิดปกติในทารก [TU Subject Heading] | Malnutrition | ภาวะทุพโภชนา [TU Subject Heading] | Minerals in animal nutrition | แร่ธาตุในโภชนาการสัตว์ [TU Subject Heading] | Nutrition | โภชนาการ [TU Subject Heading] | Nutrition assessment | การประเมินภาวะโภชนาการ [TU Subject Heading] | Nutrition disorders | โภชนาการผิดปกติ [TU Subject Heading] | Nutrition extension work | งานส่งเสริมโภชนาการ [TU Subject Heading] | Nutrition policy | นโยบายโภชนาการ [TU Subject Heading] | Nutrition surveys | การสำรวจภาวะโภชนาการ [TU Subject Heading] | Nutritional aspects | แง่โภชนาการ [TU Subject Heading] | Nutritional status | สภาพโภชนาการ [TU Subject Heading] | Nutritionists | นักโภชนาการ [TU Subject Heading] | Nutritive value | คุณค่าทางโภชนาการ [TU Subject Heading] | Oils and fats in animal nutrition | น้ำมันและไขมันในโภชนาการสัตว์ [TU Subject Heading] | Proteins in animal nutrition | โปรตีนในโภชนาการสัตว์ [TU Subject Heading] | Vegetables in human nutrition | ผักในโภชนาการมนุษย์ [TU Subject Heading] | ASEAN Sub-Committee on Health and Nutrition | คณะอนุกรรมการอาเซียนด้านสาธารณสุขและโภชนาการ [การทูต] | Food and Agriculture Organization | องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ " เป็นทบวงการชำนัญพิเศษขององค์การสหประชาชาติ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2488 มีหน้าที่บรรเทาความอดอยากและหิวโหยของ ประชากรโลกด้วยการส่งเสริม และพัฒนาเกษตรกรรม การปรับปรุงโภชนาการ และแสวงหาความมั่นคงทางด้านอาหาร ปัจจุบันมีสมาชิก 171 ประเทศ มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี " [การทูต] | food security | ความมั่นคงทางด้านอาหาร หมายถึง การที่ประชากรโลกมีอาหารเพียงพอกับความต้องการ (availibility) มีเสถียรภาพ (stability) และสามารถเข้าถึงได้ (accessibility) แนวความคิดเรื่องความมั่นคงทางด้านอาหารนี้ เป็นผลสืบเนื่องมาจากการรับรองปฏิญญากรุงโรม ของที่ประชุมสุดยอด อาหารโลก เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2539 ซึ่งมีวัตถุประสงค์ที่จะขจัดความหิวโหย และลดปัญหาทุโภชนาการของประชากรโลก โดยตั้งเป้าหมายที่จะลดจำนวนประชากรที่ขาดอาหารให้เหลือครึ่งหนึ่งจากที่มี อยู่ในปัจจุบัน ภายในปี พ.ศ. 2558 [การทูต] | Open and Caring Societies | สังคมเปิดและเอื้ออาทร เป็นส่วนหนึ่งของวิสัยทัศน์อาเซียนปี พ.ศ. 2563 ที่ได้เล็งเห็นว่า ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยรวมในปีดังกล่าวจะมีสังคมเปิดที่ประชาชน ยึดมั่นในเอกสักษณ์แห่งชาติของตนและเข้าถึงโอกาสของการพัฒนาความเป็นมนุษย์ อย่างสมบูรณ์ได้อย่างเท่าเทียมกัน และจะเป็นสังคมเอื้ออาทรที่ความหิวโหยทุกข์โภชนาการ การสูญเสียและความยากจนจะไม่ใช่ปัญหาพื้นฐาน และเป็นสังคมที่มีสถาบันครอบครัวที่เข้มแข็ง [การทูต] | Animal Nutrition | โภชนาการสัตว์ [การแพทย์] | Child Nutrition | โภชนาการเด็ก [การแพทย์] | Diabetes Mellitus, Malnutrition-Related | เบาหวานที่สัมพันธ์กับทุพโภชนาการ [การแพทย์] | Diet, Therapeutic | อาหารที่ใช้ในการรักษา, โภชนบำบัด [การแพทย์] | Dietary Intervention Clinic | คลีนิคแนะนำและป้องกันด้านโภชนาการ [การแพทย์] | Food and Nutrition Board National Research Cou | คณะกรรมการอาหารและโภชนาการสภาวิจัยแห่งชาติสหรัฐ [การแพทย์] | Food and Nutrition Board of United States of Am | กรรมาธิการอาหารและโภชนาการของอเมริกา [การแพทย์] | Infant Nutrition | โภชนาการทารก [การแพทย์] | Infant Nutrition Disorders | โภชนาการทารก, โรค; โภชนาการทารกผิดปกติ [การแพทย์] | Macronutrients | มหโภชนะ, มหโภชนะ, เกลือแร่ที่มีมากในร่างกาย, สารอาหารปริมาณมาก [การแพทย์] | Malnutrition | โรคขาดอาหาร, ทุโภชนาการ, ทุพโภชนาการ, การขาดอาหาร, การขาดสารอาหาร, การขาดแคลนอาหารแร่ธาตุและวิตามินต่าง ๆ, ภาวะทุพโภชนาการ, ขาดอาหาร [การแพทย์] | Maternal Nutrition | โภชนาการของแม่ [การแพทย์] |
| | โภชนา | [phōtchanā = phōchanā] (n) EN: food ; nourishment ; meal ; dishes | โภชนาการ | [phōtchanākān] (n) EN: nutrition ; dietetics FR: nutrition [ f ] | ผู้เชี่ยวชาญด้านโภชนาการ | [phūchīochān dān phōtchanākān] (n, exp) EN: nutrition expert FR: nutritionniste [ m ] ; diététicien [ m ] | สมโภช | [somphōt] (v) EN: celebrate ; solemnize FR: célébrer ; solenniser | วันสมโภชนักบุญทั้งหลาย | [Wan Somphōt Nakbun Thanglāi] (n, prop) EN: All Saint's Day ; All Saints FR: Toussaint [ f ] |
| | alimentation | (n) การโภชนาการ, Syn. nourishment, nutrition | celebration | (n) งานเฉลิมฉลอง, See also: งานฉลอง, งานเลี้ยง, งานสังสรรค์, งานกินเลี้ยง, งานรื่นเริง, งานพบปะสังสรรค์, งานสมโภช, งานฉล, Syn. ceremony, party | dietetics | (n) การศึกษาเกี่ยวกับการกำหนดปริมาณและชนิดของอาหารเพื่อสุขภาพ, See also: วิชากำหนดอาหารเพื่อสุขภาพ, โภชนวิทยา, โภชนบำบัด, Syn. sitology | dietician | (n) ผู้ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับอาหารเพื่อสุขภาพ, See also: นักโภชนาการ, Syn. dietitian | dietitian | (n) ผู้ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับอาหารเพื่อสุขภาพ, See also: นักโภชนาการ, Syn. dietician | food | (n) อาหาร, See also: โภชนาการ, สิ่งบริโภค, อาหารการกิน, ของกิน, Syn. nourishment, nutrition, cusine | nutrition | (n) โภชนาการ, Syn. diet, nourishment | nutritionist | (n) นักโภชนาการ | trophic | (adj) เกี่ยวกับโภชนาการ |
| ach index | ดัชนีทางโภชนาการ | agrobiology | (แอก' โกรไบออล' โลจี) ชีวเกษตรกรรม, วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับชีวิต และโภชนาการของพืช. -agrobiologic, agribiological adj. -agrobiologist n. วิทยาที่เกี่ยวกับเ (agro+biology) | albumen | (แอลบู' เมน) n. ไข่ขาว, โภชนาหารรอบ embryo ในเมล็ดพืช = albumin | alimentary | (แอลละเมน' ทะรี) adj. เกี่ยวกับการบำรุงเลี้ยง, เกี่ยวกับโภชนาการ, ซึ่งบำรุง, ซึ่งค้ำชู, Syn. nutritional | dietetics | (ไดอิเทท'ทิคซฺ) n. โภชนาการ, วิชาว่าด้วยการควบคุมอาหารการกินและการเตรียมอาหารพิเศษ, See also: dietetic adj. ดูdietetics dietical adj. ดูdietetics | dietitian | (ไดอิทิช'เชิน) n. นักโภชนาการ, ผู้เชี่ยวชาญด้านโภชนาการ., See also: dietician n. | dystrophy | (ดิส'ทระฟี) n. ความบกพร่องที่เนื่องจากโภชนาการที่ไม่สมบูรณ์หรือบกพร่อง | fare | (แฟรฺ) { fared, faring, fares } n. ค่าโดยสาร, โภชนาอาหาร. vi. กินอาหาร, มีประสบการณ์, ปรากฎ, ไป, ท่องเที่ยว., See also: farer n., Syn. food, get on | food | (ฟูด) n. อาหาร, โภชนาการ, สิ่งบริโภค, อาหารใจ., See also: foodless adj. foodlessness n., Syn. fare, nutriment, support | foodstuff | (ฟูด'สทัฟ) n. โภชนาการ, สิ่งบริโภค, อาหาร, Syn. food | malnutrition | (แมลนิวทริช'เชิน) n. การขาดแคลนโภชนาการ, ภาวะการขาดแคลนอาหาร | nutrition | (นิวทริช'เช ิน) n. การบำรุงเลี้ยง, การให้อาหาร, อาหาร, โภชนาการ, โภชนาวิทยา., See also: nutritionary adj. | nutritionist | (-ทริช'เชินนิสทฺ) n. นักโภชนาการ | pabulum | (แพบ'บิวลัม) n. โภชนาหาร, อาหาร |
| alimentary | (adj) เกี่ยวกับอาหาร, เกี่ยวกับโภชนาการ | celebrate | (vt) ประกอบพิธี, เฉลิมฉลอง, สมโภช, สรรเสริญ, ยกย่อง | celebration | (n) พิธีฉลอง, งานเฉลิมฉลอง, งานสมโภช | diet | (n) อาหาร, อาหารพิเศษ, โภชนาการ, สภานิติบัญญัติ | dietary | (adj) เกี่ยวกับอาหาร, เกี่ยวกับโภชนาการ | dietetics | (n) โภชนาศาสตร์, โภชนาการ | dietician | (n) นักโภชนาการ | dietitian | (n) นักโภชนาการ | food | (n) อาหาร, โภชนาหาร, ของบริโภค, ของกิน | foodstuff | (n) เครื่องบริโภค, ของบริโภค, อาหาร, โภชนาหาร, ของกิน | nutrient | (adj) ซึ่งบำรุงร่างกาย, เป็นอาหาร, เกี่ยวกับโภชนาหาร | nutrition | (n) อาหาร, เครื่องบำรุงร่างกาย, โภชนาการ |
| 栄養 | [えいよう, eiyou] (n) โภชนาการ |
| |
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |