Search result for

*แอลฟา*

   
Languages
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: แอลฟา, -แอลฟา-
Some results are hidden.
configure
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
แอลฟา(n) alpha, See also: alpha rays, Example: รังสีที่แผ่ออกมาจากไอโซโทปกัมมันตรังสีมี 3 ชนิด คือ รังสีแอลฟา รังสีบีตา และรังสีแกมมา, Thai Definition: ชื่ออนุภาคที่พุ่งออกมาจากนิวเคลียสของอะตอมกัมมันตรังสี เป็นนิวเคลียสของธาตุฮีเลียม ซึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 20, 000 กิโลเมตรต่อวินาที, Notes: (อังกฤษ)

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
รังสีแอลฟาดู แอลฟา.
แอลฟาน. ชื่ออนุภาคที่พุ่งออกมาจากนิวเคลียสของอะตอมกัมมันตรังสี เป็นนิวเคลียสของธาตุฮีเลียม มักเรียกกระแสอนุภาคแอลฟาว่า รังสีแอลฟา ซึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ ๒๐, ๐๐๐ กิโลเมตรต่อวินาที มีอำนาจในการเจาะทะลุได้น้อย เมื่อกระทบกับฉากเรืองแสงจะทำให้เกิดแสงเรืองขึ้นได้.
กัมมันตภาพรังสี(กำมันตะ-) น. การเสื่อมสลายโดยตัวเองของนิวเคลียสของอะตอมที่ไม่เสถียร เป็นผลให้ได้อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา รังสีแกมมา ซึ่งเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีช่วงคลื่นสั้นมากและมีพลังงานสูง ทั้งหมดนี้พุ่งออกมาด้วยความเร็วสูงมาก ในบางกรณีอาจมีพลังงานความร้อนและพลังงานแสงเกิดตามมาด้วย เช่น การเสื่อมสลายของนิวเคลียสของธาตุเรเดียมไปเป็นธาตุเรดอน.
บีตาน. ชื่ออนุภาคที่พุ่งออกมาจากนิวเคลียสของอะตอมกัมมันตรังสี มี ๒ ชนิด คือ อิเล็กตรอน และ โพซิตรอน. (อ. beta particle), มักเรียกกระแสอนุภาคบีตาว่า รังสีบีตา ซึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ ๒๙๐, ๐๐๐ กิโลเมตรต่อวินาที มีอำนาจในการเจาะทะลุมากกว่ารังสีแอลฟา แต่น้อยกว่ารังสีแกมมา.
รังสีคอสมิกน. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีพลังงานสูงยิ่ง มีช่วงคลื่นสั้นยิ่งกว่ารังสีแกมมามาก องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นโปรตอนประมาณร้อยละ ๙๐ และพบอิเล็กตรอน อนุภาคแอลฟาด้วย เกิดมาจากอวกาศนอกโลกพุ่งมาสู่โลก ยังไม่ทราบแหล่งกำเนิดแน่นอน.
อนุภาคน. ชิ้นหรือส่วนขนาดเล็กมาก, ในทางวิทยาศาสตร์มักใช้เรียกส่วนที่มีขนาดเล็กกว่าอะตอม เช่น อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา.

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
alpha particleอนุภาคแอลฟา [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
alpha quartz; α quartzแอลฟาควอตซ์ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
α quartz; alpha quartzแอลฟาควอตซ์ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Absorberสารดูดกลืน, วัสดุใดๆ ที่สามารถดูดกลืนหรือลดความเข้มของ<em>รังสีชนิดก่อไอออน</em> ตัวอย่างของสารดูดกลืน<em>นิวตรอน</em> เช่น แฮฟเนียม หรือ แคดเมียม ใช้เป็นแท่งควบคุมใน<em>เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์</em> สารดูดกลืนรังสีแกมมา เช่น คอนกรีตและเหล็ก ใช้เป็นวัสดุกำบังรังสีในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ แผ่นกระดาษหรือแผ่นโลหะบางสามารถดูดกลืนหรือลดความเข้มของรังสีแอลฟาได้ [นิวเคลียร์]
Alpha particleอนุภาคแอลฟา, อนุภาคที่มีประจุบวก ประกอบด้วย<em>โปรตอน</em> 2 อนุภาค และ<em>นิวตรอน</em> 2 อนุภาค ซึ่งเหมือนกับนิวเคลียสของฮีเลียม-4 มีความสามารถในการทะลุทะลวงต่ำ ผ่านอากาศได้เพียง 2-3 เซนติเมตร และไม่สามารถทะลุผ่านแผ่นกระดาษหรือผิวหนังได้ อนุภาคแอลฟาเกิดจาก<em>การสลาย</em>ของสารกัมมันตรังสีบางชนิด เช่น ยูเรเนียม และทอเรียม [นิวเคลียร์]
Alpha rayรังสีแอลฟา, กระแสของ<em>อนุภาคแอลฟา</em> หรืออาจใช้เรียกแทนอนุภาคแอลฟาได้ <br>(ดู Alpha particle ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์]
Boron Neutron Capture Therapyบีเอ็นซีที, รังสีรักษาโดยการจับยึดนิวตรอน, การรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งบางชนิด โดยการฉีดสารประกอบโบรอนเสถียรให้ไปสะสมในเซลล์มะเร็ง แล้วฉายรังสีนิวตรอนไปที่บริเวณนั้น อะตอมโบรอนจะจับยึดนิวตรอนไว้กลายเป็นโบรอนกัมมันตรังสี ซึ่งจะสลายพร้อมกับปล่อยอนุภาคแอลฟาออกมาทำลายเซลล์มะเร็งนั้น (ดู neutron capture ประกอบ) [นิวเคลียร์]
Cosmic radiationรังสีคอสมิก, รังสีจากอวกาศซึ่งเข้าสู่ชั้นบรรยากาศของโลก มีองค์ประกอบโดยประมาณ ได้แก่ โปรตอนร้อยละ 87 รังสีแอลฟาร้อยละ 11 รังสีอนุภาคหนักที่มีเลขเชิงอะตอมระหว่าง 4 ถึง 26 ร้อยละ 1 และ อิเล็กตรอนร้อยละ 1 [นิวเคลียร์]
Decay, radioactiveการสลาย(กัมมันตรังสี), การแปลงนิวเคลียสที่เกิดขึ้นเองของนิวไคลด์กัมมันตรังสีหนึ่งให้เป็นนิวไคลด์อีกชนิดหนึ่ง หรือชนิดเดิมที่มีสถานะพลังงานต่างกัน กระบวนการนี้ทำให้จำนวนอะตอมกัมมันตรังสีของสารตั้งต้นลดลงตามเวลาที่ผ่านไป โดยมีการปล่อยอนุภาคแอลฟา หรืออนุภาคบีตา และหรือรังสีแกมมาออกมา หรือมีการจับยึดแบบนิวเคลียร์ (nuclear capture) หรือการสลัดอิเล็กตรอนออกจากวงโคจร หรือการแบ่งแยกนิวเคลียส คำนี้มีความหมายเหมือนกับ radioactive disintegration [นิวเคลียร์]
Disintegration, radioactiveการสลายกัมมันตรังสี, การแปลงนิวเคลียสที่เกิดขึ้นเองของนิวไคลด์กัมมันตรังสีหนึ่งให้เป็นนิวไคลด์อีกชนิดหนึ่ง หรือชนิดเดิมที่มีสถานะพลังงานต่างกัน กระบวนการนี้ทำให้จำนวนอะตอมกัมมันตรังสีของสารตั้งต้นลดลงตามเวลาที่ผ่านไป โดยมีการปล่อยอนุภาคแอลฟา หรืออนุภาคบีตา และหรือรังสีแกมมาออกมา หรือมีการจับยึดแบบนิวเคลียร์ (nuclear capture) หรือการสลัดอิเล็กตรอนออกจากวงโคจร หรือการแบ่งแยกนิวเคลียส คำนี้มีความหมายเหมือนกับ radioactive disintegration [นิวเคลียร์]
Elementary particlesอนุภาคมูลฐาน, อนุภาคชั้นสามัญที่สุดของสสารและรังสี ส่วนใหญ่มีอายุสั้นและไม่ปรากฏในภาวะปกติ (ยกเว้น อิเล็กตรอน นิวตรอน โปรตอน และนิวทริโน) เดิมหมายถึงอนุภาคใดๆ ที่ไม่สามารถแบ่งย่อยต่อไปได้ หรืออนุภาคที่เป็นองค์ประกอบของอะตอม ปัจจุบันหมายถึงอนุภาคโปรตอน นิวตรอน อิเล็กตรอน มีซอน มิวออน แบรีออน และปฏิยานุภาคของอนุภาคเหล่านี้ รวมทั้งโฟตอน แต่ไม่รวมอนุภาคแอลฟาหรือดิวเทอรอน [นิวเคลียร์]
Radionuclideนิวไคลด์กัมมันตรังสี, นิวไคลด์ที่ไม่เสถียร มีการสลายเพื่อลดระดับพลังงานโดยการปลดปล่อยรังสี เช่น แอลฟา บีตา แกมมา ออกมา นิวไคลด์กัมมันตรังสีที่ปรากฏอยู่ในธรรมชาติ และที่มาจากการผลิตของมนุษย์มีมากกว่า 1, 300 ชนิด ตัวอย่างนิวไคลด์กัมตรังสีที่มีในธรรมชาติ เช่น $ _{ 92 }^{ 235 } $U $ _{ 92 }^{ 238 } $U $ _{ 19 }^{ 40 } $K และที่มนุษย์ผลิตขึ้นเช่น $ _{ 27 }^{ 60 } $Co $ _{ 43 }^{ 99 } $Tc $ _{ 95 }^{ 241 } $AM [นิวเคลียร์]
Radioactive decayการสลายกัมมันตรังสี, การแปลงนิวเคลียสที่เกิดขึ้นเองของนิวไคลด์กัมมันตรังสีหนึ่งให้เป็นนิ วไคลด์อีกชนิดหนึ่ง หรือชนิดเดิมที่มีสถานะพลังงานต่างกัน กระบวนการนี้ทำให้จำนวนอะตอมกัมมันตรังสีของสารตั้งต้นลดลงตามเวลาที่ผ่านไป โดยมีการปล่อยอนุภาคแอลฟา หรืออนุภาคบีตา และหรือรังสีแกมมาออกมา หรือมีการจับยึดแบบนิวเคลียร์ (nuclear capture) หรือการสลัดอิเล็กตรอนออกจากวงโคจร หรือการแบ่งแยกนิวเคลียส คำนี้มีความหมายเหมือนกับ radioactive disintegration [นิวเคลียร์]
Radiation, nuclearรังสีนิวเคลียร์, การแผ่รังสีของนิวเคลียส, รังสีในรูปของอนุภาคหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ที่แผ่ออกมาจากนิวเคลียสของนิวไคลด์กัมมันตรังสี เช่น อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา และรังสีแกมมา <br>(ดู radiation ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์]
radiationรังสี, การแผ่รังสี, พลังงานที่แผ่จากต้นกำเนิดรังสีผ่านอากาศหรือสสาร ในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เช่น ความร้อน แสงสว่าง คลื่นวิทยุ รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา หรือเป็นกระแสของอนุภาคที่เคลื่อนที่เร็ว เช่น รังสีคอสมิก รังสีแอลฟา รังสีบีตา อนุภาคนิวตรอน อนุภาคโปรตอน [นิวเคลียร์]
Nuclear radiationรังสีนิวเคลียร์, การแผ่รังสีของนิวเคลียส, รังสีในรูปของอนุภาคหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ที่แผ่ออกมาจากนิวเคลียสของนิวไคลด์กัมมันตรังสี เช่น อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา และรังสีแกมมา <br>(ดู radiation ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์]
Ionizing radiationรังสีชนิดก่อไอออน, รังสีหรืออนุภาคใดๆ ที่สามารถก่อให้เกิดการแตกตัวเป็นไอออนได้ทั้งโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อมในตัวกลางที่ผ่านไป เช่น รังสีแอลฟา รังสีบีตา รังสีแกมมา รังสีเอกซ์ อนุภาคนิวตรอน อิเล็กตรอนที่มีความเร็วสูง โปรตอนที่มีความเร็วสูง รังสีเหล่านี้อาจทำให้เกิดอันตรายต่อเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต <br>(ดู beta particle ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์]
Alpha fetoproteinsแอลฟา ฟีโตโปรตีน [TU Subject Heading]
Alpha-galactosidaseแอลฟา-กาแลคโตซิเดส [TU Subject Heading]
Alpha-thalassemiaแอลฟา-ธาลัสซีเมีย [TU Subject Heading]
radioactive nuclideนิวไคลด์กัมมันตรังสี, นิวไคลด์ที่ไม่เสถียร มีการสลายเพื่อลดระดับพลังงานโดยการปลดปล่อยรังสี เช่น แอลฟา บีตา แกมมา ออกมา นิวไคลด์กัมมันตรังสีที่ปรากฏอยู่ในธรรมชาติ และที่มาจากการผลิตของมนุษย์มีมากกว่า 1, 300 ชนิด ตัวอย่างนิวไคลด์กัมตรังสีที่มีในธรรมชาติ เช่น $ _{ 92 }^{ 235 } $U $ _{ 92 }^{ 238 } $U $ _{ 19 }^{ 40 } $K และที่มนุษย์ผลิตขึ้นเช่น $ _{ 27 }^{ 60 } $Co $ _{ 43 }^{ 99 } $Tc $ _{ 95 }^{ 241 } $AM [นิวเคลียร์]
Alpha (x- ray)รังสีแอลฟา, Example: มีอำนาจการทะลุทะลวงน้อย กระดาษก็สามารถกั้นรังสี alpha ไว้ได้ รังสีนี้ส่งไปได้ในอากาศเป็นระยะทางเพียง 8 ซม. เท่านั้น อย่างไรก็ดี อันตรายจะมีได้ถ้าสารกัมมันตรังสีเข้าสู่ร่างกาย ด้วยสูดเข้าไป กลืนกิน หรือเข้าทางแผล มิใช่แต่เพียงสารไปตกค้างอยู่ในร่างกายเท่านั้น รังสีที่แผ่ออกมาจะทำลายเนื้อเยื่อภายในด้วยนิวลคาย์ที่ให้รังสี alpha คือ radium, plutonium, thonium, uranium ฯลฯ [สิ่งแวดล้อม]
ionisingradiationรังสีชนิดก่อไอออน, คือ พลังงานในรูปแม่เหล็กไฟฟ้า หรืออนุภาครังสีใดๆ ที่สามารถก่อให้เกิดการแตกตัวเป็นไอออนได้ ทั้งโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อมในตัวกลางที่ผ่านไป เช่น รังสีแอลฟา รังสีบีตา รังสีแกมมา รังสีเอกซ์ อนุภาคนิวตรอน อิเล็กตรอนที่มีความเร็วสูง โปรตรอนที่มีความเร็วสูง รังสีชนิดนี้อาจทำให้เกิดอันตรายต่อเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต [พลังงาน]
Adrenergic Alpha Receptor Agonistsสารต่อต้านตัวรับแอลฟาแอดรีเนอร์จิก [การแพทย์]
Adrenergic Alpha Receptor Blockadersสารสกัดกั้นตัวรับแอลฟาแอดรีเนอร์จิก, สารสกัดกั้นหน่วยรับความรู้สึกแอลฟาอะดรีเนอร์จิก [การแพทย์]
Alpha 1 Globulinสารแอลฟา 1 โกลบูลิน [การแพทย์]
Alpha Cellsแอลฟาเซลล์ [การแพทย์]
Alpha Fetoproteinsแอลฟา ฟีโตโปรตีน, สาร [การแพทย์]
Alpha Globulinsแอลฟ่าโกลบูลิน; แอลฟา โกลบูลิน, สาร; แอลฟาโกลบุลิน [การแพทย์]
Alpha Macroglobulinsแอลฟา มาโครโกลบุลิน; แอลฟา มาโครโกลบูลิน, สาร [การแพทย์]
Alpha Olefin Sulfonateแอลฟาโอลีฟินซัลโฟเนต [การแพทย์]
Alphabromonaphthaleneแอลฟาโบรโมแนฟทาลีน [การแพทย์]
Alphavirusแอลฟาไวรัส [การแพทย์]
Fetuinsแอลฟาฟีโตโปรตีน, สาร, แอลฟาฟีโตโปรตีน [การแพทย์]
alpha cell [ α - cell ]แอลฟาเซลล์, กลุ่มเซลล์กลุ่มเล็ก ๆ ในไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์ทำหน้าที่สร้างกลูคากอน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
alpha phylloquinone [ α - phylloquinonel ]แอลฟาฟิลโลควิโนน, วิตามิน K เป็นวิตามินที่จำเป็นสำหรับร่างกาย ถ้าร่างกายขาดวิตามินชนิดนี้จะทำให้เลือดแข็งตัวช้าเมื่อมีบาดแผลเกิดขึ้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
alpha sulphur [ α - sulphur ]กำมะถันแอลฟา, ดู  rhombic sulphur [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
radioactivityกัมมันตภาพรังสี, การสลายหรือการแผ่รังสีได้เองอย่างต่อเนื่องของนิวเคลียสบางชนิดโดยการปล่อยอนุภาคแอลฟา(รังสีแอลฟา)   อนุภาคบีตา(รังสีบีตา)  และรังสีแกมมา [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
radiationการแผ่รังสี, พลังงานการแผ่รังสี,   1. พลังงานที่เคลื่อนที่ในรูปของคลื่อนแม่เหล็กไฟฟ้าหรือโฟตอน 2. ลำอนุภาคโดยเฉพาะอนุภาคแอลฟาหรือบีตาจากสารกัมมันตรังสี [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
gamma ray [ γ-ray ]รังสีแกมมา, รังสีชนิดหนึ่งที่แผ่ออกมาจากธาตุกัมมันตรังสี เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มีความยาวคลื่นสั้นมาก มีอำนาจในการผ่านทะลุสูงกว่ารังสีแอลฟาและรังสีบีตา [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
cosmic raysรังสีคอสมิก, รังสีที่มีพลังงานสูงจากนอกโลก ประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า ส่วนมากเป็นโปรตอน และมีอิเล็กตรอน รังสีแอลฟาและนิวเคลียสของธาตุบางธาตุปนอยู่ด้วย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
beta ray [ β-ray ]รังสีบีตา, รังสีชนิดหนึ่งที่แผ่ออกมาจากธาตุกัมมันตรังสี ธาตุกัมมันตรังสีบางธาตุแผ่รังสีบีตาที่เป็นอิเล็กตรอน แต่ธาตุกัมมันตรังสีบางธาตุแผ่รังสีบีตาที่เป็นโพซิตรอน มีอำนาจการทะลุผ่านสูงกว่ารังสีแอลฟา [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
alpha ray [ α - ray ]รังสีแอลฟา, รังสีชนิดหนึ่งแผ่ออกมาจากธาตุกัมมันตรังสี  เป็นอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าบวก คือ เป็นนิวเคลียสของ อะตอมของธาตุฮีเลียม ประกอบด้วย 2 โปรตอน และ 2 นิวตรอน มีอำนาจทะลุผ่านน้อยมาก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
Glucagonomaเนื้องอกที่เซลล์แอลฟา 2, [การแพทย์]

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
รังสีแอลฟา[rangsī aēlfā] (n, exp) EN: alpha rays  FR: rayons alpha [ mpl ]

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
alpha ray(n) ลำรังสีของกลุ่มอนุภาคแอลฟา

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
alphabetical(แอลฟาเบท' ทิเคิล) adj. เรียงตามอักขรานุกรม, เรียงตามอักษร, เกี่ยวกับอักษรหรืออักขระ., Syn. alphatic

add this word


You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit


Are you satisfied with the result?



Discussions

About our ads
We know you don’t love ads. But we need ads to keep Longdo Dictionary FREE for users. Thanks for your understanding! Click here to find out more.
Go to Top