| คำพ้องเสียง | น. คำที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกันและมีความหมายต่างกัน เช่น ใส-ไส-ไสย กาน-กาล-การ-การณ์, (โบ) ในหนังสือแบบเรียนภาษาไทยของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) เรียกคำพ้องเสียงว่า ไวพจน์. | จินดามณี | ชื่อตำราแบบเรียนหนังสือไทยโบราณ เช่น จินดามณีฉบับพระโหราธิบดีแต่งในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จินดามณีฉบับไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง ในรัชกาลสมเด็จพระบรมโกศ จินดามณีฉบับกรมหลวงวงษาธิราชสนิทแต่งในสมัยรัตนโกสินทร์. | ชะล่า ๒, ชะล่าใจ | ก. ฮึกเหิมจนประมาท เช่น แสนเสียดายนันทาที่น่ารัก ชะล่านักวิ่งออกนอกถนน (แบบเรียน), โจรชะล่าใจปล้นกลางวันแสก ๆ. | แบบ | ตำรา เช่น แบบเรียน | ไวพจน์ | ในหนังสือแบบเรียนภาษาไทยของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) หมายถึง คำที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกันและมีความหมายต่างกัน เช่น ใส–ไส–ไสย กาน–กาล–การ–การณ์, ปัจจุบันเรียกว่า คำพ้องเสียง. |
| |
| | แบบเรียน | [baēprīen] (n, exp) EN: school book ; textbook FR: livre scolaire [ m ] ; manuel scolaire [ m ] | หนังสือแบบเรียน | [nangseū baēp rīen] (n, exp) EN: textbook ; school book ; course book FR: livre scolaire [ m ] ; manuel scolaire [ m ] |
| Euclid | (n) นักคณิศาสตร์ชาวกรีก ผู้สร้างแบบเรียนมาตรฐานทางเรขาคณิตซึ่งใช้มาจนถึงศตวรรษที่ 19 | text | (n) หนังสือเรียน, See also: ตำราเรียน, แบบเรียน, Syn. handbook, syllabus, textbook | textbook | (n) หนังสือเรียน, See also: ตำรับตำรา, ตำรา, ตำราเรียน, แบบเรียน, Syn. text |
| text | (เทคซฺทฺ) n. ต้นฉบับเดิม, ข้อความเดิม, แม่บทเดิม, ใจความ, แบบฉบับการเขียน, เนื้อเพลง, ตำรา, แบบเรียน, หนังสือเรียน, ข้อความสั้น ๆ ในพระคัมภีร์ไบเบิล, อักษรในพระคัมภีร์ไบเบิล, หัวข้อสำคัญ, ตัวพิมพ์., Syn. textbook | textbook | (เทคซฺ'บุค) n. ตำรา, แบบเรียน, หนังสือเรียน |
| primer | (n) แบบเรียนขั้นต้น, มูลบท, แบบสอนอ่าน | text | (n) หัวข้อ, ต้นฉบับ, ตัวหนังสือ, แบบเรียน, เนื้อหา, ใจความ | textbook | (n) ตำรา, หนังสือเรียน, แบบเรียน |
| inclusive education | (n) การศึกษาแบบเรียนรวม - เป็นการเรียนการสอนที่รวมเอานักเรียนที่ต้องการความใส่ใจดูแลเป็นพิเศษ (อาจพิการ ฯลฯ) มาเรียนรวมกับเด็กปกติ | Inclusive Education | (n) การศึกษาแบบเรียนร่วม การจัดการศึกษาให้กับกลุ่มบุคคลที่มีความต้องการพิเศษ เช่น คนพิการ คนด้อยโอกาส คนไร้สัญชาติ คนอพยพ โดยคำนึงถึงการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ในโรงเรียน หรือระบบการศึกษาแบบปกติ มีจุดมุงหมายเพื่อสร้างความเข้าใจ และการยอมรับความแตกต่าง ความสามารถระหว่างบุคคล เพื่อให้ผู้เรียนค้นพบศักยภาพของตนเอง และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างปกติสุข |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |